SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใช้วัดอัตราเร็วของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ในช่วงเวลาไม่นานโดยการบันทึกช่วงเวลาและตาแหน่งวัตถุที่
สัมพันธ์กัน
ช่วงเวลาของจุดที่อยู่ติดกันมีค่า วินาที ถ้าต้องการทราบ
เวลาทั้งหมดของการเคลื่อนที่ ให้นับช่วงจุดแรกถึงจุดสุดท้ายแล้วคูณด้วย วินาที และเมื่อวัด
ระยะระหว่างช่วงจุด ซึ่งระยะทางดังกล่าวคือ การกระจัดเพราะเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไป
ข้างหน้า ไม่มีการย้อนกลับ ไม่มีการเปลี่ยนทิศ ขนาดของระยะทางเท่ากับขนาดของการกระจัด
ขนาดของอัตราเร็วเท่ากับขนาดของความเร็ว
การหาค่าความเร็วเฉลี่ยของแถบกระดาษ
การกระจัด = ระยะทางที่เคลื่อนที่ คือระยะที่วัดจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้ายบนแถบกระดาษ (เมตร)
เวลาในการเคลื่อนที่ คือ จานวนช่วงจุดทั้งหมดที่นับได้บนแถบกระดาษ × (วินาที)
เมื่อต่อเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดความถี่ 50 เฮิรตซ์ คือ
เคาะ 50 ครั้งต่อวินาที กับหม้อแปลงโวลต์ต่า 4 – 6 โวลต์
โดยสอดแถบกระดาษให้กระดาษอยู่ใต้กระดาษคาร์บอน
เมื่อเปิดสวิตซ์เครื่องเคาะพร้อมใช้มือดึงแถบกระดาษเข็ม
เคาะจะทาให้เกิดจุดบนแถบกระดาษ โดยมีการเคาะ 50 ครั้ง
ในเวลา 1 วินาที
การหาความเร็วเฉลี่ยจากแถบกระดาษ เป็นการหาความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาของการกระจัดที่
เคลื่อนที่ได้ทั้งหมด ถ้าต้องการหาความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาสั้นๆ เช่น ในเวลา 1 ช่วงจุด ความเร็ว
เฉลี่ยนี้ คือ ความเร็วขณะหนึ่ง ณ จุดกึ่งกลางเวลาของเวลา 1 ช่วงจุดนั้น
การหาค่าความเร่งของแถบกระดาษ
การคานวณหาความเร็วเฉลี่ย ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ความเร่งจากจุดบนแถบกระดาษ
1) ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ (ช่วง AF)
2) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งที่จุด B และจุด D
ความเร็วที่จุด B หาได้จากความเร็วเฉลี่ยในช่วง AC
ความเร็วที่จุด D หาได้จากความเร็วเฉลี่ยในช่วง CE
3) ความเร่งที่จุด C
การศึกษาความเร็วในการตกของวัตถุด้วยเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
1) วัตถุมีความเร็วเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ สังเกตุได้จากความยาวของแถบกระดาษเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น
2) วัตถุที่ตกลงมามีความเร่ง เพราะเป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา
3) วัตถุจะตกลงสู่พื้นโลกด้วยความเร่งประมาณ 10 เมตร/ วินาที2
มีทิศชี้ลงในแนวดิ่งตามแรงโน้มถ่วง
ของโลก (กรณีนี้ไม่คิดแรงต้านอากาศ)
1. ในการทดลองใช้มือดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะทุกๆ วินาที พบว่าเกิด
จุด เป็น 3 ช่วงดังภาพ
ข้อใดอธิบายลักษณะความเร็วของการดึงได้ถูกต้อง
1. ช้า – ช้า – เร็ว
2. ช้า – เร็ว – ช้า
3. เร็ว – ช้า – เร็ว
4. เร็ว – ช้า – ช้า
2. แถบกระดาษจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลาในข้อใดแสดงว่าความเร่งเป็นศูนย์
3. ในการทดลองลากแถบกระดาษของวัตถุผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดความถี่ 50 Hz ทาให้เกิด
จุด ดังรูป แสดงว่าความเร่งของวัตถุเป็นอย่างไร
1. เป็นศูนย์ 2. คงที่ 3. เพิ่มขึ้น 4. ลดลง
4. จากการศึกษาความเร็วในการตกของวัตถุโดยยึดถุงทรายให้ติดกับแถบกระดาษ แล้วปล่อยถุงทราย
ตกอิสระให้แถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ระยะระหว่างจุดที่ปรากฏบนแถบกระดาษจะ
เป็นอย่างไร
1. เพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ
2. ลดลงอย่างสม่าเสมอ
3. ห่างกันสม่าเสมอทุกช่วง
4. ห่างบ้างชิดบ้าง
5. ในการทดลองดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ชนิด 50 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิดจุดบน
แถบกระดาษ ดังรูป จงหาความเร็วเฉลี่ยในช่วงจุดที่ 1 ถึงจุดที่ 5 (m/s)
1. 0.1 2. 1 3. 10 4. 100
6. จากโจทย์ข้อ 5. ให้หาขนาดความเร็วที่จุดที่ 2 และความเร็วที่จุดที่ 4 (m/s)
1. 0.625,1.375 2. 0.065,13.75 3. 0.625,137.5 4. 625,1375
7. จากโจทย์ข้อ 5. ให้หาความเร่งที่จุดที่ 3 (m/s2
)
1. 0.1875 2. 1.875 3. 18.75 4. 1875
8. จากรูปในการทดลองดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งต่อวินาที ปรากฏจุด
บนแถบกระดาษดังรูป ความเร่งที่จุด C ของแถบกระดาษมีค่ากี่ m/s2
1. 1 2. 1.25 3. 2.25 4. 6.25

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 

Viewers also liked

ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1  ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1 Chaichan Boonmak
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่KunKru Earn
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 

Viewers also liked (10)

ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1  ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
 
P02
P02P02
P02
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Similar to เคาะสัญญาณ

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงKaettichai Penwijit
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทางNut Seraphim
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
9789740332930
97897403329309789740332930
9789740332930CUPress
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 

Similar to เคาะสัญญาณ (14)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
9789740332930
97897403329309789740332930
9789740332930
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 

เคาะสัญญาณ

  • 1.
  • 2. ใช้วัดอัตราเร็วของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ในช่วงเวลาไม่นานโดยการบันทึกช่วงเวลาและตาแหน่งวัตถุที่ สัมพันธ์กัน ช่วงเวลาของจุดที่อยู่ติดกันมีค่า วินาที ถ้าต้องการทราบ เวลาทั้งหมดของการเคลื่อนที่ ให้นับช่วงจุดแรกถึงจุดสุดท้ายแล้วคูณด้วย วินาที และเมื่อวัด ระยะระหว่างช่วงจุด ซึ่งระยะทางดังกล่าวคือ การกระจัดเพราะเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไป ข้างหน้า ไม่มีการย้อนกลับ ไม่มีการเปลี่ยนทิศ ขนาดของระยะทางเท่ากับขนาดของการกระจัด ขนาดของอัตราเร็วเท่ากับขนาดของความเร็ว การหาค่าความเร็วเฉลี่ยของแถบกระดาษ การกระจัด = ระยะทางที่เคลื่อนที่ คือระยะที่วัดจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้ายบนแถบกระดาษ (เมตร) เวลาในการเคลื่อนที่ คือ จานวนช่วงจุดทั้งหมดที่นับได้บนแถบกระดาษ × (วินาที) เมื่อต่อเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดความถี่ 50 เฮิรตซ์ คือ เคาะ 50 ครั้งต่อวินาที กับหม้อแปลงโวลต์ต่า 4 – 6 โวลต์ โดยสอดแถบกระดาษให้กระดาษอยู่ใต้กระดาษคาร์บอน เมื่อเปิดสวิตซ์เครื่องเคาะพร้อมใช้มือดึงแถบกระดาษเข็ม เคาะจะทาให้เกิดจุดบนแถบกระดาษ โดยมีการเคาะ 50 ครั้ง ในเวลา 1 วินาที
  • 3. การหาความเร็วเฉลี่ยจากแถบกระดาษ เป็นการหาความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาของการกระจัดที่ เคลื่อนที่ได้ทั้งหมด ถ้าต้องการหาความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาสั้นๆ เช่น ในเวลา 1 ช่วงจุด ความเร็ว เฉลี่ยนี้ คือ ความเร็วขณะหนึ่ง ณ จุดกึ่งกลางเวลาของเวลา 1 ช่วงจุดนั้น การหาค่าความเร่งของแถบกระดาษ การคานวณหาความเร็วเฉลี่ย ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ความเร่งจากจุดบนแถบกระดาษ 1) ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ (ช่วง AF)
  • 4. 2) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งที่จุด B และจุด D ความเร็วที่จุด B หาได้จากความเร็วเฉลี่ยในช่วง AC ความเร็วที่จุด D หาได้จากความเร็วเฉลี่ยในช่วง CE 3) ความเร่งที่จุด C การศึกษาความเร็วในการตกของวัตถุด้วยเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 1) วัตถุมีความเร็วเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ สังเกตุได้จากความยาวของแถบกระดาษเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น 2) วัตถุที่ตกลงมามีความเร่ง เพราะเป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา 3) วัตถุจะตกลงสู่พื้นโลกด้วยความเร่งประมาณ 10 เมตร/ วินาที2 มีทิศชี้ลงในแนวดิ่งตามแรงโน้มถ่วง ของโลก (กรณีนี้ไม่คิดแรงต้านอากาศ)
  • 5. 1. ในการทดลองใช้มือดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะทุกๆ วินาที พบว่าเกิด จุด เป็น 3 ช่วงดังภาพ ข้อใดอธิบายลักษณะความเร็วของการดึงได้ถูกต้อง 1. ช้า – ช้า – เร็ว 2. ช้า – เร็ว – ช้า 3. เร็ว – ช้า – เร็ว 4. เร็ว – ช้า – ช้า 2. แถบกระดาษจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลาในข้อใดแสดงว่าความเร่งเป็นศูนย์
  • 6. 3. ในการทดลองลากแถบกระดาษของวัตถุผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดความถี่ 50 Hz ทาให้เกิด จุด ดังรูป แสดงว่าความเร่งของวัตถุเป็นอย่างไร 1. เป็นศูนย์ 2. คงที่ 3. เพิ่มขึ้น 4. ลดลง 4. จากการศึกษาความเร็วในการตกของวัตถุโดยยึดถุงทรายให้ติดกับแถบกระดาษ แล้วปล่อยถุงทราย ตกอิสระให้แถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ระยะระหว่างจุดที่ปรากฏบนแถบกระดาษจะ เป็นอย่างไร 1. เพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ 2. ลดลงอย่างสม่าเสมอ 3. ห่างกันสม่าเสมอทุกช่วง 4. ห่างบ้างชิดบ้าง 5. ในการทดลองดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ชนิด 50 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิดจุดบน แถบกระดาษ ดังรูป จงหาความเร็วเฉลี่ยในช่วงจุดที่ 1 ถึงจุดที่ 5 (m/s) 1. 0.1 2. 1 3. 10 4. 100
  • 7. 6. จากโจทย์ข้อ 5. ให้หาขนาดความเร็วที่จุดที่ 2 และความเร็วที่จุดที่ 4 (m/s) 1. 0.625,1.375 2. 0.065,13.75 3. 0.625,137.5 4. 625,1375 7. จากโจทย์ข้อ 5. ให้หาความเร่งที่จุดที่ 3 (m/s2 ) 1. 0.1875 2. 1.875 3. 18.75 4. 1875 8. จากรูปในการทดลองดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งต่อวินาที ปรากฏจุด บนแถบกระดาษดังรูป ความเร่งที่จุด C ของแถบกระดาษมีค่ากี่ m/s2 1. 1 2. 1.25 3. 2.25 4. 6.25