SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
การเจริญเติบโตของรากและลาต้น
By Thanyamon Chaturavitkul
การเจริญเติบโตขั้นต้นของราก (Primary growth of root)
• การแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายราก และปลายยอด เพื่อเปลี่ยนแปลงไปทา
หน้าที่ต่างๆ เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญขั้นต้น (Primary meristem)
เนื้อเยื่อเจริญขั้นต้นบริเวณปลายรากมี 3 กลุ่ม คือ
• Protoderm เป็นเนื้อเยื่อชั้น Epidermis เป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวอยู่นอกสุด
• Ground meristem เป็นเนื้อเยื่อพื้นทั่วไปในชั้น Cortex
• Procambium เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ในสุดของรากซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น Pericycle,
Vascular cambium, Primary phloem, Primary xylem, Pith
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
• 1.1.1 เอพิเดอร์มิส (Epidermis) เป็นเนื้อเยื่อเรียงตัวชั้นเดียว
อยู่ด้านนอกสุด ทาให้เกิดขนราก
• 1.1.2 คอร์เทกซ์ (Cortex)
• 1.1.3 เอนโดเดอร์มิส (Endodermis) ผนังหนาเป็นแนวทั้ง
ด้านรัศมีและด้านขวางเป็นแถบ เรียกว่า Casparian strip มี
สารพวก Suberin หรือ Lignin มาพอก
• 1.1.4 สตีล (Stele) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดดังนี้
พืชใบเลี้ยงคู่ >> pericycle, primary phloem, primary
xylem, vascular cambium และ pith (ถ้ามี)
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว >> pericycle, primary phloem, primary
xylem และ pith
Protoderm
Ground
meristerm
Procambium
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
2
1
By Thanyamon Chaturavitkul
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของราก (Secondary growth of root)
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของรากพืชใบเลี้ยงคู่
• เกิดจาก vascular cambium สร้าง secondary xylem และ secondary phloem
เพื่อให้รากเพิ่มขนาดขึ้น มักเกิดในบริเวณที่อยู่ถัดจากบริเวณขนรากขึ้นไป
• บริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงคือชั้น pericycle ของรากที่มีอายุมากเปลี่ยนมาเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้แก่
cork cambium จะแบ่งเซลล์เกิดเป็นเนื้อเยื่อในชั้น periderm ประกอบด้วย phelloderm อยู่
ติดกับ phloem และ cork อยู่ติดกับ cortex ซึ่งจะดันส่วนของ cortex และ epidermis หลุด
ไป ดังนั้นในรากแก่ๆ จึงพบเฉพาะ periderm และ stele เท่านั้น
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
• ในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไปในชั้นของ stele จะไม่มี vascular cambium จึงไม่มีการ
เจริญเติบโตขั้นที่สองของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว แต่ตรงกลางจะมี pith เป็นพื้นที่กว้างชัดเจน
• ในรากพืชบางชนิด เช่น มะพร้าว ปาล์ม มีรากขนาดใหญ่ เนื่องจากเกิดมีเนื้อเยื่อพิเศษที่เรียกว่า
Cambium-like tissue เกิดขึ้นใน cortex หรือเนื้อเยื่อพื้น ซึ่งจะแบ่งเซลล์ใหม่แล้วเปลี่ยนแปลง
ไปเป็นกลุ่มเซลล์ของ xylem และ phloem เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทาให้รากมีขนาดใหญ่ขึ้น
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
การเจริญเติบโตของลาต้น (Growth of stem)
การเจริญเติบโตขั้นต้นของลาต้น (Primary growth of stem)
มีเนื้อเยื่อเจริญ 3 กลุ่มดังนี้
• Protoderm เป็นเนื้อเยื่อถาวรในชั้น Epidermis
• Ground meristem
พืชใบเลี้ยงคู่ เป็นเนื้อเยื่อในชั้น cortex, pith, pith ray
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เป็นเนื้อเยื่อ ground tissue
• Procambium
พืชใบเลี้ยงคู่ เป็นเนื้อเยื่อในชั้น vascular bundle ได้แก่ primary phloem, primary
xylem และ vascular cambium โดยมีการจัดเรียงตัวของ vascular bundle อย่างมีระเบียบ
เป็นวงรอบลาต้น
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เป็นเนื้อเยื่อในชั้น vascular bundle เรียงตัวกระจัดกระจายรอบลาต้น โดยจะ
เห็นเซลล์ค่อนข้างกลมขนาดใหญ่ ปกติจะมี 2 เซลล์ คือ vessel (xylem) ส่วน phloem เซลล์มี
ลักษณะเป็นรูปหลายเหลี่ยม ขนาดเล็กกว่าไซเลม รวมอยู่ทางด้านบนของกลุ่มไซเลม และทางด้านล่าง
ของกลุ่ม vascular bundle มีส่วนเป็น air space
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
การเจริญเติบโตของ
ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
• ในลาต้นสามารถเกิดการเจริญขั้นทุติยภูมิ
(secondary growth)
• เป็นการเจริญเติบโตเพื่อขยายขนาดออก
ด้านข้าง
• เกิดจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญ
ด้านข้าง 2 กลุ่ม คือ
- Vascular cambium
- Cork camcium
By Thanyamon Chaturavitkul
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้น (Secondary growth of stem)
ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
• มีการสร้าง vascular cambium ซึ่งเกิดจากเซลล์ของ pith ray โดยเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ
ชื่อว่า interfasicular cambium ไปเชื่อมติดกับ fascicular cambium (อยู่ระหว่าง primary
xylem และ primary phloem) กลายเป็นวงของ vascular cambium โดยลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่มี
มัดท่อลาเลียงชนิดเปิด (Open bundle) ซึ่งมีการเจริญเติบโตขั้นที่สองได้
• ในพืชพวกไม้เนื้อแข็ง vascular cambium จะแบ่งเซลล์เกิดเป็นเนื้อเยื่อ 2 ชนิด คือ ถ้าแบ่งเซลล์ออก
ด้านนอกเป็น secondary phloem และแบ่งเข้าข้างในเป็น secondary xylem ทาให้ลาต้นมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางเพิ่มขึ้น โดย secondary phloem มีขนาดเล็กกว่าและผนังบางกว่า secondary xylem
มาก
• เนื้อเยื่อในชั้น cortex ของลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ เปลี่ยนแปลงเป็นเนื้อเยื่อเจริญ cork cambium ซึ่งจะ
แบ่งเซลล์ให้เนื้อเยื่อในชั้น periderm ประกอบด้วย phelloderm อยู่ติดกับ phloem และ cork ซึ่งจะ
ดันส่วนของ epidermis หลุดไป
• secondary xylem มีความคงทนอยู่และกลายเป็นเนื้อไม้ (wood) ส่วน secondary phloem จะไป
รวมกับเนื้อเยื่อชั้น periderm จนกลายเป็นเปลือกไม้(Bark)
By Thanyamon Chaturavitkul
Primary growth Secondary growth
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
Vascular cambium
Vascular cambium
Secondary phloem
Secondary xylem
• เมื่อมีการแบ่งเซลล์ออกด้านนอก ลาต้นจะเจริญไปเป็น secondary phloem
• เมื่อมีการแบ่งเซลล์เข้าด้านใน ลาต้นจะเจริญไปเป็น secondary xylem
• การแบ่งของ vascular cambium เพื่อสร้างไซเลมจะเกิดได้เร็วกว่าโฟลเอม
* เนื้อไม้ของพืชยืนต้น จึงเป็น secondary xylem เป็นหลัก *
By Thanyamon Chaturavitkul
Cork cambium
Cork cambium (Phellogen)
Cork (phellem)
Phelloderm
• Cork cambium เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ parenchyma ใน cortex
• ทาให้เกิดส่วนของเปลือกไม้(bark) เรียงจากด้านนอก เข้าด้านใน ได้ดังนี้
cork cork cambium phelloderm phloem
By Thanyamon Chaturavitkul
จุดรอยแตก (Lenticel)
เกิดจาก cork cambium แบ่งตัวเพื่อสร้าง
cork จานวนมาก จึงดันให้เนื้อเยื่อบริเวณนี้เกิด
รอยแตก
หน้าที่ : แลกเปลี่ยนแก๊ส
By Thanyamon Chaturavitkul
ชั้นเปลือกไม้ (bark) และชั้นเนื้อไม้ (wood)
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
ชั้นเปลือกไม้ (bark) และชั้นเนื้อไม้ (wood)
•ชั้นเปลือกไม้
•ชั้นเนื้อไม้
secondary xylem
•วงปี
(annual ring)
สามารถใช้คาดคะเน
อายุของไม้ยืนต้น
(1 รอบ = 1 ปี)
By Thanyamon Chaturavitkul
วงปี (annual ring)
วงปีจะแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ
•Spring wood เกิดในช่วงน้า
อุดมสมบูรณ์ เกิดเป็นแถบสีจาง
•Summer wood เกิดในช่วง
น้าน้อย เกิดเป็นแถบสีเข้ม
By Thanyamon Chaturavitkul
เนื้อไม้ (Wood) ประกอบด้วย secondary xylem ที่มีสารพวก กัม ลิกนิน แทนนิน เข้าไปอุด
ตันบริเวณนี้จึงแข็งมากเรียกว่า แก่นไม้ (heart wood) ซึ่งมีสีเข้มกว่าและมีความหนาค่อนข้างคงที่อยู่
ด้านในสุด ส่วน secondary xylem ที่อยู่ถัดออกมาด้านนอกเป็นส่วนที่ยังสามารถลาเลียงน้าและ
ธาตุอาหารได้เรียกว่า กระพี้ไม้ (sap wood) จะมีแถบสีเข้มสลับกับแถบสีจางเป็นวง โดยแถบสีจาง
เกิดในช่วงที่มีน้าอุดมสมบูรณ์ เซลล์จะมีขนาดใหญ่ แถบกว้าง เรียกว่า Spring Wood ส่วนแถบ
สีเข้มจะเกิดในช่วงที่มีน้าน้อย แถบแคบ เรียกว่า Summer Wood ซึ่งวงเหล่านี้สามารถนาไปใช้
นับอายุพืชได้ โดยแถบสีเข้มรวมแถบสีจางที่ติดกันเรียกว่า วงปี (Annual Ring)
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
• vascular bundle เรียงกันกระจัดกระจาย ไม่เป็นวงรอบลาต้นจึงไม่เห็นขอบเขตระหว่าง
cortex และ stele
• procambium เจริญไปเป็น primary xylem และ primary phloem แต่ไม่มี
vascular cambium จึงไม่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง ไม่มีการสร้าง secondary xylem
และ secondary phloem เรียกว่า มัดท่อลาเลียงแบบปิด(Closed bundle) ซึ่งหมายถึง
ไม่มีการเจริญเติบโตอีกต่อไป จึงไม่มีการเพิ่มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางในระหว่างการเจริญเติบโต
ดังนั้นลาต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเจริญทางด้านสูงมากกว่าทางด้านกว้าง
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
Quiz การเจริญเติบโตของรากและลาต้น
1. เนื้อเยื่อเจริญต่อไปนี้จะแบ่งเซลล์ได้เนื้อเยื่อถาวรหรือ เนื้อเยื่อเจริญใดบ้าง
(Protoderm, Ground meristem, Procambium)
2.เพราะเหตุใดรากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจึงไม่พบการเจริญเติบโตขั้นที่สองดังเช่นพืชใบเลี้ยงคู่
3.รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจาพวกมะพร้าว ปาล์ม ตาล สามารถขยายขนาดได้เพราะเหตุใด
4.มัดท่อน้าท่ออาหารชนิดเปิด (Open bundle) หมายความว่าอย่างไร
5.วาสคิวลาร์แคมเบียมมีทิศทางการสร้างไซเลมขั้นที่สองและโฟลเอมขั้นที่สอง อย่างไร
7.เพราะเหตุใดเมื่อควั่นส่วนของเปลือกไม้ออก ต้นไม้ยังคงมีชีวิตอยู่อีกยาวนาน
8.เพราะเหตุใดชั้นเนื้อไม้(Wood) จึงมีพื้นที่มากกว่าชั้นเปลือกไม้ (Bark)
By Thanyamon Chaturavitkul

More Related Content

What's hot

เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 

What's hot (20)

เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 

Similar to develope of root and stem

การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktalLooktal Love
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังKang ZenEasy
 

Similar to develope of root and stem (20)

การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktal
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
Tissue1
Tissue1Tissue1
Tissue1
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 

develope of root and stem

  • 2. การเจริญเติบโตขั้นต้นของราก (Primary growth of root) • การแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายราก และปลายยอด เพื่อเปลี่ยนแปลงไปทา หน้าที่ต่างๆ เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญขั้นต้น (Primary meristem) เนื้อเยื่อเจริญขั้นต้นบริเวณปลายรากมี 3 กลุ่ม คือ • Protoderm เป็นเนื้อเยื่อชั้น Epidermis เป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวอยู่นอกสุด • Ground meristem เป็นเนื้อเยื่อพื้นทั่วไปในชั้น Cortex • Procambium เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ในสุดของรากซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น Pericycle, Vascular cambium, Primary phloem, Primary xylem, Pith By Thanyamon Chaturavitkul
  • 4. • 1.1.1 เอพิเดอร์มิส (Epidermis) เป็นเนื้อเยื่อเรียงตัวชั้นเดียว อยู่ด้านนอกสุด ทาให้เกิดขนราก • 1.1.2 คอร์เทกซ์ (Cortex) • 1.1.3 เอนโดเดอร์มิส (Endodermis) ผนังหนาเป็นแนวทั้ง ด้านรัศมีและด้านขวางเป็นแถบ เรียกว่า Casparian strip มี สารพวก Suberin หรือ Lignin มาพอก • 1.1.4 สตีล (Stele) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดดังนี้ พืชใบเลี้ยงคู่ >> pericycle, primary phloem, primary xylem, vascular cambium และ pith (ถ้ามี) พืชใบเลี้ยงเดี่ยว >> pericycle, primary phloem, primary xylem และ pith Protoderm Ground meristerm Procambium By Thanyamon Chaturavitkul
  • 5. By Thanyamon Chaturavitkul By Thanyamon Chaturavitkul
  • 7. การเจริญเติบโตขั้นที่สองของราก (Secondary growth of root) การเจริญเติบโตขั้นที่สองของรากพืชใบเลี้ยงคู่ • เกิดจาก vascular cambium สร้าง secondary xylem และ secondary phloem เพื่อให้รากเพิ่มขนาดขึ้น มักเกิดในบริเวณที่อยู่ถัดจากบริเวณขนรากขึ้นไป • บริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงคือชั้น pericycle ของรากที่มีอายุมากเปลี่ยนมาเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้แก่ cork cambium จะแบ่งเซลล์เกิดเป็นเนื้อเยื่อในชั้น periderm ประกอบด้วย phelloderm อยู่ ติดกับ phloem และ cork อยู่ติดกับ cortex ซึ่งจะดันส่วนของ cortex และ epidermis หลุด ไป ดังนั้นในรากแก่ๆ จึงพบเฉพาะ periderm และ stele เท่านั้น การเจริญเติบโตขั้นที่สองของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว • ในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไปในชั้นของ stele จะไม่มี vascular cambium จึงไม่มีการ เจริญเติบโตขั้นที่สองของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว แต่ตรงกลางจะมี pith เป็นพื้นที่กว้างชัดเจน • ในรากพืชบางชนิด เช่น มะพร้าว ปาล์ม มีรากขนาดใหญ่ เนื่องจากเกิดมีเนื้อเยื่อพิเศษที่เรียกว่า Cambium-like tissue เกิดขึ้นใน cortex หรือเนื้อเยื่อพื้น ซึ่งจะแบ่งเซลล์ใหม่แล้วเปลี่ยนแปลง ไปเป็นกลุ่มเซลล์ของ xylem และ phloem เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทาให้รากมีขนาดใหญ่ขึ้น By Thanyamon Chaturavitkul
  • 10. การเจริญเติบโตของลาต้น (Growth of stem) การเจริญเติบโตขั้นต้นของลาต้น (Primary growth of stem) มีเนื้อเยื่อเจริญ 3 กลุ่มดังนี้ • Protoderm เป็นเนื้อเยื่อถาวรในชั้น Epidermis • Ground meristem พืชใบเลี้ยงคู่ เป็นเนื้อเยื่อในชั้น cortex, pith, pith ray พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เป็นเนื้อเยื่อ ground tissue • Procambium พืชใบเลี้ยงคู่ เป็นเนื้อเยื่อในชั้น vascular bundle ได้แก่ primary phloem, primary xylem และ vascular cambium โดยมีการจัดเรียงตัวของ vascular bundle อย่างมีระเบียบ เป็นวงรอบลาต้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เป็นเนื้อเยื่อในชั้น vascular bundle เรียงตัวกระจัดกระจายรอบลาต้น โดยจะ เห็นเซลล์ค่อนข้างกลมขนาดใหญ่ ปกติจะมี 2 เซลล์ คือ vessel (xylem) ส่วน phloem เซลล์มี ลักษณะเป็นรูปหลายเหลี่ยม ขนาดเล็กกว่าไซเลม รวมอยู่ทางด้านบนของกลุ่มไซเลม และทางด้านล่าง ของกลุ่ม vascular bundle มีส่วนเป็น air space By Thanyamon Chaturavitkul
  • 13. การเจริญเติบโตของ ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ • ในลาต้นสามารถเกิดการเจริญขั้นทุติยภูมิ (secondary growth) • เป็นการเจริญเติบโตเพื่อขยายขนาดออก ด้านข้าง • เกิดจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญ ด้านข้าง 2 กลุ่ม คือ - Vascular cambium - Cork camcium By Thanyamon Chaturavitkul
  • 14. การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้น (Secondary growth of stem) ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ • มีการสร้าง vascular cambium ซึ่งเกิดจากเซลล์ของ pith ray โดยเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ ชื่อว่า interfasicular cambium ไปเชื่อมติดกับ fascicular cambium (อยู่ระหว่าง primary xylem และ primary phloem) กลายเป็นวงของ vascular cambium โดยลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่มี มัดท่อลาเลียงชนิดเปิด (Open bundle) ซึ่งมีการเจริญเติบโตขั้นที่สองได้ • ในพืชพวกไม้เนื้อแข็ง vascular cambium จะแบ่งเซลล์เกิดเป็นเนื้อเยื่อ 2 ชนิด คือ ถ้าแบ่งเซลล์ออก ด้านนอกเป็น secondary phloem และแบ่งเข้าข้างในเป็น secondary xylem ทาให้ลาต้นมีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางเพิ่มขึ้น โดย secondary phloem มีขนาดเล็กกว่าและผนังบางกว่า secondary xylem มาก • เนื้อเยื่อในชั้น cortex ของลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ เปลี่ยนแปลงเป็นเนื้อเยื่อเจริญ cork cambium ซึ่งจะ แบ่งเซลล์ให้เนื้อเยื่อในชั้น periderm ประกอบด้วย phelloderm อยู่ติดกับ phloem และ cork ซึ่งจะ ดันส่วนของ epidermis หลุดไป • secondary xylem มีความคงทนอยู่และกลายเป็นเนื้อไม้ (wood) ส่วน secondary phloem จะไป รวมกับเนื้อเยื่อชั้น periderm จนกลายเป็นเปลือกไม้(Bark) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 15. Primary growth Secondary growth By Thanyamon Chaturavitkul
  • 17. Vascular cambium Vascular cambium Secondary phloem Secondary xylem • เมื่อมีการแบ่งเซลล์ออกด้านนอก ลาต้นจะเจริญไปเป็น secondary phloem • เมื่อมีการแบ่งเซลล์เข้าด้านใน ลาต้นจะเจริญไปเป็น secondary xylem • การแบ่งของ vascular cambium เพื่อสร้างไซเลมจะเกิดได้เร็วกว่าโฟลเอม * เนื้อไม้ของพืชยืนต้น จึงเป็น secondary xylem เป็นหลัก * By Thanyamon Chaturavitkul
  • 18. Cork cambium Cork cambium (Phellogen) Cork (phellem) Phelloderm • Cork cambium เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ parenchyma ใน cortex • ทาให้เกิดส่วนของเปลือกไม้(bark) เรียงจากด้านนอก เข้าด้านใน ได้ดังนี้ cork cork cambium phelloderm phloem By Thanyamon Chaturavitkul
  • 19. จุดรอยแตก (Lenticel) เกิดจาก cork cambium แบ่งตัวเพื่อสร้าง cork จานวนมาก จึงดันให้เนื้อเยื่อบริเวณนี้เกิด รอยแตก หน้าที่ : แลกเปลี่ยนแก๊ส By Thanyamon Chaturavitkul
  • 22. ชั้นเปลือกไม้ (bark) และชั้นเนื้อไม้ (wood) •ชั้นเปลือกไม้ •ชั้นเนื้อไม้ secondary xylem •วงปี (annual ring) สามารถใช้คาดคะเน อายุของไม้ยืนต้น (1 รอบ = 1 ปี) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 23. วงปี (annual ring) วงปีจะแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ •Spring wood เกิดในช่วงน้า อุดมสมบูรณ์ เกิดเป็นแถบสีจาง •Summer wood เกิดในช่วง น้าน้อย เกิดเป็นแถบสีเข้ม By Thanyamon Chaturavitkul
  • 24. เนื้อไม้ (Wood) ประกอบด้วย secondary xylem ที่มีสารพวก กัม ลิกนิน แทนนิน เข้าไปอุด ตันบริเวณนี้จึงแข็งมากเรียกว่า แก่นไม้ (heart wood) ซึ่งมีสีเข้มกว่าและมีความหนาค่อนข้างคงที่อยู่ ด้านในสุด ส่วน secondary xylem ที่อยู่ถัดออกมาด้านนอกเป็นส่วนที่ยังสามารถลาเลียงน้าและ ธาตุอาหารได้เรียกว่า กระพี้ไม้ (sap wood) จะมีแถบสีเข้มสลับกับแถบสีจางเป็นวง โดยแถบสีจาง เกิดในช่วงที่มีน้าอุดมสมบูรณ์ เซลล์จะมีขนาดใหญ่ แถบกว้าง เรียกว่า Spring Wood ส่วนแถบ สีเข้มจะเกิดในช่วงที่มีน้าน้อย แถบแคบ เรียกว่า Summer Wood ซึ่งวงเหล่านี้สามารถนาไปใช้ นับอายุพืชได้ โดยแถบสีเข้มรวมแถบสีจางที่ติดกันเรียกว่า วงปี (Annual Ring) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 31. ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว • vascular bundle เรียงกันกระจัดกระจาย ไม่เป็นวงรอบลาต้นจึงไม่เห็นขอบเขตระหว่าง cortex และ stele • procambium เจริญไปเป็น primary xylem และ primary phloem แต่ไม่มี vascular cambium จึงไม่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง ไม่มีการสร้าง secondary xylem และ secondary phloem เรียกว่า มัดท่อลาเลียงแบบปิด(Closed bundle) ซึ่งหมายถึง ไม่มีการเจริญเติบโตอีกต่อไป จึงไม่มีการเพิ่มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางในระหว่างการเจริญเติบโต ดังนั้นลาต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเจริญทางด้านสูงมากกว่าทางด้านกว้าง By Thanyamon Chaturavitkul
  • 36. Quiz การเจริญเติบโตของรากและลาต้น 1. เนื้อเยื่อเจริญต่อไปนี้จะแบ่งเซลล์ได้เนื้อเยื่อถาวรหรือ เนื้อเยื่อเจริญใดบ้าง (Protoderm, Ground meristem, Procambium) 2.เพราะเหตุใดรากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจึงไม่พบการเจริญเติบโตขั้นที่สองดังเช่นพืชใบเลี้ยงคู่ 3.รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจาพวกมะพร้าว ปาล์ม ตาล สามารถขยายขนาดได้เพราะเหตุใด 4.มัดท่อน้าท่ออาหารชนิดเปิด (Open bundle) หมายความว่าอย่างไร 5.วาสคิวลาร์แคมเบียมมีทิศทางการสร้างไซเลมขั้นที่สองและโฟลเอมขั้นที่สอง อย่างไร 7.เพราะเหตุใดเมื่อควั่นส่วนของเปลือกไม้ออก ต้นไม้ยังคงมีชีวิตอยู่อีกยาวนาน 8.เพราะเหตุใดชั้นเนื้อไม้(Wood) จึงมีพื้นที่มากกว่าชั้นเปลือกไม้ (Bark) By Thanyamon Chaturavitkul