SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
เนื้อเยื่อสัตว์   (Animal Tissue) เนื้อเยื่อ   (tissue)   คือกลุ่มเซลล์ที่ร่วมกันทำหน้าที่เฉพาะ   ซึ่งส่วนมากจะประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่มีขนาด รูปร่าง   และการจัดระเบียบเป็นแบบเดียวกัน
เนื้อเยื่อเหล่านี้มีลักษณะเฉพาะออกไปเพื่อทำหน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ   ประสานอยู่ในอวัยวะของร่างกาย Connective tissue Nervous tissue Muscular tissue Epithelial tissue เนื้อเยื่อในร่างกายของสัตว์ชั้นสูง   แบ่งออกเป็น   4  ประเภท   คือ
เนื้อเยื่อบุผิว   (epithelial tissue or epithelium) เป็นกลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่ปกคลุมป้องกันผิวของร่างกาย   หรือบุอวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อ   ทำหน้าที่เกี่ยวกับการดูดซึม   สร้างเซครีชั่น   (secretion)   และรับความรู้สึก
เนื้อเยื่อบุผิวมีลักษณะพิเศษ   คือ   ประกอบด้วย 1.  เซลล์เป็นจำนวนมากซึ่งส่วนมากเป็นเซลล์ชนิดเดียวกันเรียงตัวอยู่ชิดติดกัน   2.  ตั้งอยู่บนเยื่อรองรับฐาน   (basement membrane)   ซึ่งมีส่วนประกอบเป็นโปรตีน   3.  ด้านบนของเนื้อเยื่อบุผิวไม่ติดต่อกับเซลล์อื่น   ด้านนี้จะเป็นที่อยู่ชิดกับช่องว่างของอวัยวะหรือภายนอกร่างกาย
การแบ่งชนิดของเนื้อเยื่อบุผิว   อาศัยหลัก   2  ประการ   คือ 1.  แบ่งตามจำนวนชั้นของเซลล์   simple epithelium   ประกอบด้วยเซลล์เรียงกันเป็นชั้นเดียว pseudostratified epithelium   ประกอบด้วยเซลล์เรียงกันเป็นชั้นเดียวบนเยื่อรองรับฐาน   แต่มีเพียงบางเซลล์เท่านั้นที่สูงถึงผิวหน้าด้านบน stratified epithelium   เซลล์เรียงซ้อนกันหลายชั้น       
2.  แบ่งตามรูปร่างของเซลล์ที่อยู่ชั้นบนๆ   ได้แก่ รูปร่างแบนบาง   (squamous) รูปเหลี่ยมลูกบาศก์   (cuboid) รูปแท่งทรงกระบอก   (columnar)
Pseudostratified ciliated columnar  Simple cuboidal  Stratified columnar  Stratified squamous  Simple squamous  Simple columnar
Simple squamous epithelium, Bowman’s capsule Simple squamous epithelium Glomerulus บริเวณ   cortex  ของไตมี   Bowman’s capsule  เป็นวงกลมหุ้ม   Glomerulus  ซึ่งเป็นกระจุกเส้นเลือดฝอย   ที่   Bowman’s capsule  เป็นเยื่อบุผิว   simple squamous
Squamous epithelium, from cheek เป็นเซลล์ที่มีลักษณะแบน บางมาก ตัวอย่างเช่น เยื่อบุผิวข้างแก้มในปาก
Stratified squamous epithelium Stratified squamous epithelium Basement membrane
Stratified squamous epithelium เป็นเซลล์ซ้อนกันหลายชั้นด้วยกัน   ชั้นล่างซึ่งอยู่ติดกับ   Basement membrane  นั้นใหญ่และแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว   กลายเป็นเซลล์ใหม่ที่เล็กและบางกว่าอยู่ด้านนอก   เซลล์ชั้นนอกนั้นตายและหลุดไปเรื่อยๆ   ตัวอย่างเช่น   เยื่อบุผิวข้างแก้มในปาก   หลอดอาหาร   และที่ผิวหนังของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม   ขี้ไคล   และขี้รังแคก็คือเซลล์ผิวชั้นบนที่ตายแล้ว   และหลุดออกมา
Simple cuboidal epithelium Simple cuboidal epithelium Basement membrane บริเวณ   cortex  ของไต   นอกจากจะเห็น   Bowman’s capsule  แล้ว   ยังมีหลอดไตเล็ก   (convoluted tubules)  ขดไปขดมา   ซึ่งท่อเหล่านี้เป็นเยื่อบุผิว   simple cuboidal
Simple columnar epithelium ,  เยื่อบุผิวในลำไส้ Simple columnar epithelium เซลล์มีขนาดสูงมากกว่ากว้าง   มักอยู่ตามส่วนของร่างกายที่ทำการสร้าง   secretion  หรือสำหรับดูดของบางอย่าง   เช่น   อาหารที่ย่อยแล้ว   เช่น   เยื่อบุผิวข้างในลำไส้   เป็นต้น
Pseudostratified ciliated columnar, from trachea เนื้อเยื่อบุผิวในบางแห่งของร่างกาย   เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ชั้นบนสุดมีการเปลี่ยนแปลงเป็นซิเลีย   เรียกว่า   ciliated epithelium  ซิเลียเคลื่อนไหวได้และทำหน้าที่เกี่ยวกับการส่งผ่านสารที่ผิวเซลล์   เนื้อเยื่อที่มีซิเลียพบที่เยื่อบุผิวของท่อทางเดินปัสสาวะ   และท่อทางเดินหายใจ   cilia
Simple  columnar epithelium เซลล์เยื่อบุผิวบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ต่างๆ   เช่น   สร้างเซครีชัน   เรียกว่าต่อม   (gland)  ในกรณีที่เซลล์เดียวสร้างเซครีชัน   เรียกว่า   ต่อมเซลล์เดียว   (unicellular gland)  ตัวอย่างเช่น   โกเบลตเซลล์   (globlet cell)  ที่เยื่อบุผนังลำไส้   ทำหน้าที่สร้างเมือกภายในเซลล์เต็มไปด้วยเมือกที่สร้างขึ้นและพร้อมที่จะขับออก   Globlet cell
 
Globlet cell Simple columnar epithelium
Glandular epithelium secretes products, e.g. milk, hormones ในกรณีที่เซลล์เยื่อบุผิวอยู่ต่อกันเป็นกลุ่มทำหน้าที่สร้างเซครีชั่นส่งออกไปตามท่อหรือเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง   เรียกว่า   ต่อมหลายเซลล์   (multicellular gland)
Taste buds on tongue เซลล์เยื่อบุผิวบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่รับความรู้สึก   เรียกว่า   neuroepithelial cell  เช่นเซลล์ที่ปุ่มรับรส   (taste bud)  เซลล์เปลี่ยนเป็นรูปกระสวยหัวท้ายแหลม   ด้านบนมีซิเลีย   Taste buds
Transitional epithelium, e.g. Urinary bladder
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เซลล์ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด   แต่ละชนิดทำหน้าที่แตกต่างกันไป   ได้แก่ F ibroblast   เป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่สร้างเส้นใยชนิดต่างๆ Adipose cell   เป็นเซลล์ที่สะสมไขมัน   Macrophage   มีหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอม Mast cell   เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างกลมหรือรูปรี   ภายในมีแกรนูลย้อมติดสีม่วงเข้มบรรจุอยู่   เซลล์มาสต์ทำหน้าที่สร้างสาร   heparin   และ   histamine
plasma cell   ทำหน้าที่สร้างแอนติบอดีที่มีความสำคัญในระบบภูมิคุ้มกัน white blood cell or leukocytes   เป็นเซลล์ที่แทรกเข้ามาในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันจากเส้นเลือด   ทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย ฯลฯ
เส้นใยในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เส้นใยในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมีอยู่ด้วยกัน   3  ชนิด   ได้แก่          Collagen fiber   มีลักษณะเป็นเส้นเหนียวแข็งแรง   อยู่รวมกันเป็นมัดใหญ่           Elastic fiber   เป็นเส้นใยที่มีความยืดหยุ่นมาก   แตกเป็นแขนงย่อยส่งไปเชื่อมกับแขนงของเส้นอื่น         Reticular fiber   มีลักษณะคล้ายเส้นใยคอลลาเจน   แต่เป็นเส้นบางกว่ากระจายอยู่ทั่วไป   เส้นใยชนิดนี้จะมองไม่เห็นถ้าย้อมด้วยสีย้อมเนื้อเยื่อทั่วไป   ต้องย้อมด้วยสี   silver stain Collagen fiber
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันอาจแบ่งออกได้เป็นหลายชนิดตามลักษณะพิเศษเฉพาะของเซลล์และสารระหว่างเซลล์   เช่น 1.  เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปร่งบาง   (Loose or areolar connective tissue)  2.  เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดแน่นทึบ   (Dense connective tissue) 3.  เนื้อเยื่อไขมัน   (Adipose tissue)   4.  กระดูก   (Cartilage) 5.  กระดูก   (Bone) 6.  เลือด   (Blood)
Connective tissue
Loose or Areolar connective tissue เนื้อเยื่อเกี่ยวพันโปร่งบาง   หรือ   แอรีโอล่าร์ Cells Fibers เนื้อเยื่อนี้เชื่อมหนังกับกล้ามเนื้อ   หรือเชื่อมกล้ามเนื้อกับกล้ามเนื้อ   matrix  อ่อนและเหนียว   มี   collagen fiber  และ   elastic fiber
Dense connective tissue, tendon เนื้อเยื่อเกี่ยวกันแน่นทึบ ,  เส้นเอ็นต่างๆ Fibroblast  Collagen fiber Tendon  เนื้อเยื่อยึดระหว่างกระดูกต้องการความแข็งแรงมาก   matrix  เต็มไปด้วย   collagen fiber  ซึ่งเป็นเส้นขนานกัน   ยึดไม่ได้
สำหรับ   ลิกาเมนต์   (ligaments)  เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันแน่นทึบ   ซึ่งยึดกระดูก   2  ท่อนเข้าด้วยกันอยู่ตามข้อต่อของกระดูก   ใน   matrix  จะมีเส้นใยชนิด   elastic fiber  มาก   เห็นเป็นสีเหลือง   เส้นใยมีลักษณะเป็นเส้นขนานกัน   แต่มีกิ่งแยกออกไปเชื่อมกับเส้นใยใกล้เคียง   ยึดได้
เนื้อเยื่อไขมัน   (adipose tissue) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่สะสมไขมันโดยเซลล์สร้างเส้นใยเกือบทั้งหมดทำหน้าที่เป็นแหล่งสะสมไขมัน   เนื้อเยื่อไขมันมักอยู่ปะปนกับ   areolar connective tissue Nucleus  ของ   Adipose cell  ที่ถูกเบียดไปอยู่ขอบเซลล์
กระดูกอ่อน   (cartilage)   อยู่ตามบางส่วนของโครงกระดูก และมักอยู่ตามข้อต่อของกระดูกซึ่งมีการสัมผัสกันอยู่เสมอๆ Lacunar Chondrocytes Matrix
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Hyaline cartilage Matrix  ไม่มีเส้นใยอยู่   พบอยู่ตามข้อต่อของกระดูกต่างๆ   เยื่อกั้นจมูก   (Nassal septum)  หลอดลม   และกระดูกอ่อนของซี่โครง Lacunar Chondrocytes Matrix
Fibrocartilage Collagen fiber Chondrocytes Matrix  เต็มไปด้วย   collagen fiber  พบตามข้อต่อของกระดูกสันหลัง   ( intervertebral disk )  และข้อต่อของกระดูกอื่นๆ
กระดูก   เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษมีลักษณะแข็ง   เพราะมีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์   (hydroxyapatite)   เข้ามาเสริมในสารระหว่างเซลล์   กระดูกเป็นส่วนประกอบสำคัญของโครงร่าง   เป็นส่วนห่อหุ้มป้องกันอวัยวะภายใน   และเป็นที่เก็บสะสมของเกลือแคลเซียมอีกด้วย กระดูก  (Bone)
Volkmann’s canal Harversian canal canaliculi osteocyte lacunar periosteum
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Compact bone Harversian canal
Harversian canal Canaliculi Lacunar
Connective tissue Epithelium Cartilage Smooth muscle ในภาพเป็นโครงสร้างของท่อลม   (trachea)  ซึ่งประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดประสานอยู่รวมกัน   แต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะ   เพื่อทำหน้าที่พิเศษได้อย่างมีประสิทธิภาพ

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPathitta Satethakit
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 

What's hot (20)

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
Biobook
BiobookBiobook
Biobook
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Viewers also liked

นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาheroohm
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1tarcharee1980
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 

Viewers also liked (6)

นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Health biotechnology
Health biotechnologyHealth biotechnology
Health biotechnology
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to Body

Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังKang ZenEasy
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 

Similar to Body (20)

Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
B08
B08B08
B08
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Cartilage
CartilageCartilage
Cartilage
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 

More from beer04875

ศาสตร์ภาครัฐ+เอกชน
ศาสตร์ภาครัฐ+เอกชนศาสตร์ภาครัฐ+เอกชน
ศาสตร์ภาครัฐ+เอกชนbeer04875
 
Biomolecules 2551 (student edition)
Biomolecules 2551 (student edition)Biomolecules 2551 (student edition)
Biomolecules 2551 (student edition)beer04875
 

More from beer04875 (8)

ศาสตร์ภาครัฐ+เอกชน
ศาสตร์ภาครัฐ+เอกชนศาสตร์ภาครัฐ+เอกชน
ศาสตร์ภาครัฐ+เอกชน
 
7
77
7
 
3
33
3
 
2
22
2
 
6
66
6
 
5
55
5
 
Vector
VectorVector
Vector
 
Biomolecules 2551 (student edition)
Biomolecules 2551 (student edition)Biomolecules 2551 (student edition)
Biomolecules 2551 (student edition)
 

Body

  • 1. เนื้อเยื่อสัตว์ (Animal Tissue) เนื้อเยื่อ (tissue) คือกลุ่มเซลล์ที่ร่วมกันทำหน้าที่เฉพาะ ซึ่งส่วนมากจะประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่มีขนาด รูปร่าง และการจัดระเบียบเป็นแบบเดียวกัน
  • 2. เนื้อเยื่อเหล่านี้มีลักษณะเฉพาะออกไปเพื่อทำหน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสานอยู่ในอวัยวะของร่างกาย Connective tissue Nervous tissue Muscular tissue Epithelial tissue เนื้อเยื่อในร่างกายของสัตว์ชั้นสูง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
  • 3. เนื้อเยื่อบุผิว (epithelial tissue or epithelium) เป็นกลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่ปกคลุมป้องกันผิวของร่างกาย หรือบุอวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อ ทำหน้าที่เกี่ยวกับการดูดซึม สร้างเซครีชั่น (secretion) และรับความรู้สึก
  • 4. เนื้อเยื่อบุผิวมีลักษณะพิเศษ คือ ประกอบด้วย 1. เซลล์เป็นจำนวนมากซึ่งส่วนมากเป็นเซลล์ชนิดเดียวกันเรียงตัวอยู่ชิดติดกัน 2. ตั้งอยู่บนเยื่อรองรับฐาน (basement membrane) ซึ่งมีส่วนประกอบเป็นโปรตีน 3. ด้านบนของเนื้อเยื่อบุผิวไม่ติดต่อกับเซลล์อื่น ด้านนี้จะเป็นที่อยู่ชิดกับช่องว่างของอวัยวะหรือภายนอกร่างกาย
  • 5. การแบ่งชนิดของเนื้อเยื่อบุผิว อาศัยหลัก 2 ประการ คือ 1. แบ่งตามจำนวนชั้นของเซลล์ simple epithelium ประกอบด้วยเซลล์เรียงกันเป็นชั้นเดียว pseudostratified epithelium ประกอบด้วยเซลล์เรียงกันเป็นชั้นเดียวบนเยื่อรองรับฐาน แต่มีเพียงบางเซลล์เท่านั้นที่สูงถึงผิวหน้าด้านบน stratified epithelium เซลล์เรียงซ้อนกันหลายชั้น       
  • 6. 2. แบ่งตามรูปร่างของเซลล์ที่อยู่ชั้นบนๆ ได้แก่ รูปร่างแบนบาง (squamous) รูปเหลี่ยมลูกบาศก์ (cuboid) รูปแท่งทรงกระบอก (columnar)
  • 7. Pseudostratified ciliated columnar Simple cuboidal Stratified columnar Stratified squamous Simple squamous Simple columnar
  • 8. Simple squamous epithelium, Bowman’s capsule Simple squamous epithelium Glomerulus บริเวณ cortex ของไตมี Bowman’s capsule เป็นวงกลมหุ้ม Glomerulus ซึ่งเป็นกระจุกเส้นเลือดฝอย ที่ Bowman’s capsule เป็นเยื่อบุผิว simple squamous
  • 9. Squamous epithelium, from cheek เป็นเซลล์ที่มีลักษณะแบน บางมาก ตัวอย่างเช่น เยื่อบุผิวข้างแก้มในปาก
  • 10. Stratified squamous epithelium Stratified squamous epithelium Basement membrane
  • 11. Stratified squamous epithelium เป็นเซลล์ซ้อนกันหลายชั้นด้วยกัน ชั้นล่างซึ่งอยู่ติดกับ Basement membrane นั้นใหญ่และแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว กลายเป็นเซลล์ใหม่ที่เล็กและบางกว่าอยู่ด้านนอก เซลล์ชั้นนอกนั้นตายและหลุดไปเรื่อยๆ ตัวอย่างเช่น เยื่อบุผิวข้างแก้มในปาก หลอดอาหาร และที่ผิวหนังของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขี้ไคล และขี้รังแคก็คือเซลล์ผิวชั้นบนที่ตายแล้ว และหลุดออกมา
  • 12. Simple cuboidal epithelium Simple cuboidal epithelium Basement membrane บริเวณ cortex ของไต นอกจากจะเห็น Bowman’s capsule แล้ว ยังมีหลอดไตเล็ก (convoluted tubules) ขดไปขดมา ซึ่งท่อเหล่านี้เป็นเยื่อบุผิว simple cuboidal
  • 13. Simple columnar epithelium , เยื่อบุผิวในลำไส้ Simple columnar epithelium เซลล์มีขนาดสูงมากกว่ากว้าง มักอยู่ตามส่วนของร่างกายที่ทำการสร้าง secretion หรือสำหรับดูดของบางอย่าง เช่น อาหารที่ย่อยแล้ว เช่น เยื่อบุผิวข้างในลำไส้ เป็นต้น
  • 14. Pseudostratified ciliated columnar, from trachea เนื้อเยื่อบุผิวในบางแห่งของร่างกาย เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ชั้นบนสุดมีการเปลี่ยนแปลงเป็นซิเลีย เรียกว่า ciliated epithelium ซิเลียเคลื่อนไหวได้และทำหน้าที่เกี่ยวกับการส่งผ่านสารที่ผิวเซลล์ เนื้อเยื่อที่มีซิเลียพบที่เยื่อบุผิวของท่อทางเดินปัสสาวะ และท่อทางเดินหายใจ cilia
  • 15. Simple columnar epithelium เซลล์เยื่อบุผิวบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ต่างๆ เช่น สร้างเซครีชัน เรียกว่าต่อม (gland) ในกรณีที่เซลล์เดียวสร้างเซครีชัน เรียกว่า ต่อมเซลล์เดียว (unicellular gland) ตัวอย่างเช่น โกเบลตเซลล์ (globlet cell) ที่เยื่อบุผนังลำไส้ ทำหน้าที่สร้างเมือกภายในเซลล์เต็มไปด้วยเมือกที่สร้างขึ้นและพร้อมที่จะขับออก Globlet cell
  • 16.  
  • 17. Globlet cell Simple columnar epithelium
  • 18. Glandular epithelium secretes products, e.g. milk, hormones ในกรณีที่เซลล์เยื่อบุผิวอยู่ต่อกันเป็นกลุ่มทำหน้าที่สร้างเซครีชั่นส่งออกไปตามท่อหรือเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง เรียกว่า ต่อมหลายเซลล์ (multicellular gland)
  • 19. Taste buds on tongue เซลล์เยื่อบุผิวบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่รับความรู้สึก เรียกว่า neuroepithelial cell เช่นเซลล์ที่ปุ่มรับรส (taste bud) เซลล์เปลี่ยนเป็นรูปกระสวยหัวท้ายแหลม ด้านบนมีซิเลีย Taste buds
  • 20. Transitional epithelium, e.g. Urinary bladder
  • 21.
  • 22. เซลล์ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด แต่ละชนิดทำหน้าที่แตกต่างกันไป ได้แก่ F ibroblast เป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่สร้างเส้นใยชนิดต่างๆ Adipose cell เป็นเซลล์ที่สะสมไขมัน Macrophage มีหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอม Mast cell เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างกลมหรือรูปรี ภายในมีแกรนูลย้อมติดสีม่วงเข้มบรรจุอยู่ เซลล์มาสต์ทำหน้าที่สร้างสาร heparin และ histamine
  • 23. plasma cell ทำหน้าที่สร้างแอนติบอดีที่มีความสำคัญในระบบภูมิคุ้มกัน white blood cell or leukocytes เป็นเซลล์ที่แทรกเข้ามาในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันจากเส้นเลือด ทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย ฯลฯ
  • 24. เส้นใยในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เส้นใยในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด ได้แก่         Collagen fiber มีลักษณะเป็นเส้นเหนียวแข็งแรง อยู่รวมกันเป็นมัดใหญ่        Elastic fiber เป็นเส้นใยที่มีความยืดหยุ่นมาก แตกเป็นแขนงย่อยส่งไปเชื่อมกับแขนงของเส้นอื่น        Reticular fiber มีลักษณะคล้ายเส้นใยคอลลาเจน แต่เป็นเส้นบางกว่ากระจายอยู่ทั่วไป เส้นใยชนิดนี้จะมองไม่เห็นถ้าย้อมด้วยสีย้อมเนื้อเยื่อทั่วไป ต้องย้อมด้วยสี silver stain Collagen fiber
  • 25. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันอาจแบ่งออกได้เป็นหลายชนิดตามลักษณะพิเศษเฉพาะของเซลล์และสารระหว่างเซลล์ เช่น 1. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปร่งบาง (Loose or areolar connective tissue) 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดแน่นทึบ (Dense connective tissue) 3. เนื้อเยื่อไขมัน (Adipose tissue) 4. กระดูก (Cartilage) 5. กระดูก (Bone) 6. เลือด (Blood)
  • 27. Loose or Areolar connective tissue เนื้อเยื่อเกี่ยวพันโปร่งบาง หรือ แอรีโอล่าร์ Cells Fibers เนื้อเยื่อนี้เชื่อมหนังกับกล้ามเนื้อ หรือเชื่อมกล้ามเนื้อกับกล้ามเนื้อ matrix อ่อนและเหนียว มี collagen fiber และ elastic fiber
  • 28. Dense connective tissue, tendon เนื้อเยื่อเกี่ยวกันแน่นทึบ , เส้นเอ็นต่างๆ Fibroblast Collagen fiber Tendon เนื้อเยื่อยึดระหว่างกระดูกต้องการความแข็งแรงมาก matrix เต็มไปด้วย collagen fiber ซึ่งเป็นเส้นขนานกัน ยึดไม่ได้
  • 29. สำหรับ ลิกาเมนต์ (ligaments) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันแน่นทึบ ซึ่งยึดกระดูก 2 ท่อนเข้าด้วยกันอยู่ตามข้อต่อของกระดูก ใน matrix จะมีเส้นใยชนิด elastic fiber มาก เห็นเป็นสีเหลือง เส้นใยมีลักษณะเป็นเส้นขนานกัน แต่มีกิ่งแยกออกไปเชื่อมกับเส้นใยใกล้เคียง ยึดได้
  • 30. เนื้อเยื่อไขมัน (adipose tissue) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่สะสมไขมันโดยเซลล์สร้างเส้นใยเกือบทั้งหมดทำหน้าที่เป็นแหล่งสะสมไขมัน เนื้อเยื่อไขมันมักอยู่ปะปนกับ areolar connective tissue Nucleus ของ Adipose cell ที่ถูกเบียดไปอยู่ขอบเซลล์
  • 31. กระดูกอ่อน (cartilage) อยู่ตามบางส่วนของโครงกระดูก และมักอยู่ตามข้อต่อของกระดูกซึ่งมีการสัมผัสกันอยู่เสมอๆ Lacunar Chondrocytes Matrix
  • 32.
  • 33. Hyaline cartilage Matrix ไม่มีเส้นใยอยู่ พบอยู่ตามข้อต่อของกระดูกต่างๆ เยื่อกั้นจมูก (Nassal septum) หลอดลม และกระดูกอ่อนของซี่โครง Lacunar Chondrocytes Matrix
  • 34. Fibrocartilage Collagen fiber Chondrocytes Matrix เต็มไปด้วย collagen fiber พบตามข้อต่อของกระดูกสันหลัง ( intervertebral disk ) และข้อต่อของกระดูกอื่นๆ
  • 35. กระดูก เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษมีลักษณะแข็ง เพราะมีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์ (hydroxyapatite) เข้ามาเสริมในสารระหว่างเซลล์ กระดูกเป็นส่วนประกอบสำคัญของโครงร่าง เป็นส่วนห่อหุ้มป้องกันอวัยวะภายใน และเป็นที่เก็บสะสมของเกลือแคลเซียมอีกด้วย กระดูก (Bone)
  • 36. Volkmann’s canal Harversian canal canaliculi osteocyte lacunar periosteum
  • 37.
  • 40. Connective tissue Epithelium Cartilage Smooth muscle ในภาพเป็นโครงสร้างของท่อลม (trachea) ซึ่งประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดประสานอยู่รวมกัน แต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะ เพื่อทำหน้าที่พิเศษได้อย่างมีประสิทธิภาพ