SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
การล้าเลียงน้าและสารอาหารของพืช
By Thanyamon Chaturavitkul
การล้าเลียงน้าของพืช
น้าเป็นปัจจัยที่จ้าเป็นต่อการอยู่รอดของพืช ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และกระบวนการ
อื่น ๆ ของเซลล์ การดูดน้าจากดินเข้าสู่พืชและการล้าเลียงน้าไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช เป็นผลมา
จากความแตกต่างของค่าชลศักย์ (water potential : )
By Thanyamon Chaturavitkul
Water potential : 
• คือ พลังงานอิสระของน้าต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร เปรียบเทียบกับระดับพลังงานอิสระของน้า
บริสุทธิ์เป็นหลัก
• มีหน่วย คือ MPa (megapascal) >> เป็นหน่วยของความดัน
• น้าบริสุทธิ์ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 20C มีค่า สูงสุดเท่ากับ 0 Mpa
• น้าจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มี สูง ไปบริเวณที่มี ต่้า
• ปัจจัยที่ท้าให้ เปลี่ยนแปลง เช่น
ตัวละลาย ท้าให้ความเป็นอิสระของน้าลดลง ค่า  ลดลง จึงท้าให้น้าเคลื่อนที่จาก
สารละลายเจือจาง(สูง) ไปบริเวณสารละลายเข้มข้นต่้า)
แรงดันและแรงดึง เมื่อโมเลกุลน้าได้รับแรงดัน ความดันของน้าในบริเวณนันจะสูงขึน
พลังงานอิสระของน้าสูงขึน ท้าให้ สูงขึน แต่ถ้าได้รับแรงดึง ความดันของน้าในบริเวณนันจะ
ลดลง พลังงานอิสระของน้าจะต่้าลง ท้าให้ ลดลง ดังนันน้าจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความดัน
สูงไปบริเวณที่มีความดันต่้า
By Thanyamon Chaturavitkul
สูง ต่้า สูง ต่้า ต่้า สูง
By Thanyamon Chaturavitkul
การล้าเลียงน้าจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่รากพืช
•น้าและแร่ธาตุที่รากดูดซึมจากดินที่บริเวณส่วน
ปลายของรากโดยเฉพาะที่ บริเวณขนราก
(root hair zone) ท้าให้เพิ่มพืนที่ผิวที่
สัมผัสกับน้า
•น้าเข้าสู่เซลล์ขนรากผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดย
Osmosis และ facilitated diffusion
By Thanyamon Chaturavitkul
1) apoplast pathway เป็นการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยผ่านผนังเซลล์ที่
ติดต่อกัน และช่องว่างระหว่างเซลล์ เมื่อถึง endodermis จะไม่สามารถล้าเลียงน้าแบบนีได้ เนื่องจากมี
casparian strip กันอยู่ การล้าเลียงน้าจึงเปลี่ยนเส้นทางเข้าสู่เซลล์เป็นแบบ symplast หรือ
transmembrane
2) symplast pathway เป็นการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยผ่านทางไซ
โทพลาสซึมที่เชื่อมต่อกัน จากเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์หนึ่งโดยผ่านทางพลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)
3) transmembrane pathway เป็นการล้าเลียงน้าจากเซลล์หนึ่งสู่อีกเซลล์หนึ่งโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การล้าเลียงน้าเข้าสู่ไซเล็ม
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
ล้าเลียงน้าภายในไซเล็ม
หลังจากที่พืชสามารถดูดน้าจากดินเข้าสู่ราก
แล้ว น้าจะเกิดการล้าเลียงต่อไปยังส่วนของ
ล้าต้น โดยผ่านทางท่อล้าเลียงน้า ซึ่งกลไก
ที่พืชใช้ในการล้าเลียงน้านีเกิดขึนได้
ดังต่อไปนี คือ
•แรงแคพิลลารี (capillary action)
•แรงดันเนื่องจากการคายน้า
(transpiration pull)
•แรงดันราก (root pressure)
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
แรงแคพิลลารี (capillary force) เป็นแรงที่เกิดขึนภายในท่อล้าเลียงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด
เล็กมากคล้ายหลอดแคพิลลารี เกี่ยวข้องกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้า(cohesion) และ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับผนังเซลล์ (adhesion)
By Thanyamon Chaturavitkul
เ
แรงดึงจากการคายน้า
(transpiration pull)
เกิดขึนจากการดึงน้าขึนมา
ทดแทนน้าที่เสียไปโดยวิธีการ
คายน้า วิธีนีสามารถดึงน้าขึนมา
ได้ในปริมาณสูง การดึงน้าโดย
วิธีนีจ้าเป็นต้องอาศัยแรงแคพิล
ลารีช่วยด้วย ท้าให้การล้าเลียง
น้าสามารถเกิดขึนได้อย่าง
ต่อเนื่องจากข้างล่างถึงข้างบน
ยอดพืชโดยไม่ขาดตอน
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
แรงดันราก (root pressure) ในเวลากลางคืนที่ปากใบปิด หรือในภาวะที่อากาศภายนอกมี
ความชืนสัมพัทธ์สูงมาก ท้าให้พืชคายน้าทางปากใบตามปกติไม่ได้ หากน้าในดินมีมากจะ
เคลื่อนที่เข้าสู่รากพืช เมื่อปริมาณน้าในรากมีจ้านวนมากขึน ท้าให้เกิดแรงดันในรากที่สูงขึนจน
สามารถดันของเหลวขึนไปยังท่อไซเลมได้
การล้าเลียงน้าแบบนีจะเกิดกับพืชบางชนิดเท่านัน
ในสภาพที่อากาศร้อนจัดและแห้งแล้ง พืชไม่สามารถสร้างแรงดันรากได้
By Thanyamon Chaturavitkul
• ในสภาวะที่พืชไม่เกิดการคายน้า ท้าให้ปริมาณน้ายังคงอยู่เต็มไซเล็ม แต่รากพืชยังคงมีการดูดน้า
และล้าเลียงน้าอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากแรงดันราก จึงมีการปล่อยน้าปล่อยออกทางรูเล็ก ๆ ที่
เรียกว่า รูหยาดน้า (hydathode) ซึ่งอยู่บริเวณขอบใบหรือปลายใบ ซึ่งปรากฏการณ์การเสียน้า
ในรูปของหยดน้าเช่นนี เรียกว่า กัตเตชัน (guttation)
• เช่น หลังจากฝนตกหนักใหม่ ๆ, เวลาเช้ามืด
By Thanyamon Chaturavitkul
• แรงดึงจากการคายน้า (Transpiration pull)
ในท่อไซเล็มสามารถดึงน้าจากรากขึนสู่ล้าต้นและใบ
ได้ เนื่องจากเมื่อพืชคายน้าออกทางใบท้าให้ค่า 
ของท่อไซเล็มที่บริเวณใบมีค่าลดลง น้าจึงไหลจาก
รากที่มี ค่า สูงไปยังใบที่มีค่า ต่้ากว่า จึง
ท้าให้เกิดแรงดึงน้าขึนตามท่อไซเลม และนอกจากนี
โมเลกุลของน้ามีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่เรียกว่า
แรงแคพิลลารี (capillary action) ท้าให้การ
ไหลของน้าในท่อไซเล็มเกิดได้อย่างต่อเนื่องกัน
• หากแรงดึงจากการคายน้า (Transpiration
pull) มีค่ามากกว่าแรงโคฮีชัน (cohesion) จะ
ท้าให้สายน้าไม่ต่อเนื่องกัน เกิดฟองอากาศขึนซึ่งจะ
ขัดขวางการล้าเลียงน้า ในเวลากลางคืนที่ปากใบปิด
และน้าในดินมากพอ น้าจะเคลื่อนที่เข้าสู่ไซเล็มท้า
ให้เกิดแรงดันราก (root pressure) ซึ่งจะดัน
น้าขึนไปบีบอัดฟองอากาศที่เกิดขึนให้หายไปได้
By Thanyamon Chaturavitkul
transpiration pull
capillary force
root pressure
By Thanyamon Chaturavitkul
พืชใช้โครงสร้างใดในการดูดซึมสารอาหาร
ธาตุอาหารที่จ้าเป็นต่อพืชมีอะไรบ้าง
K
P
N
Ca
S
Mg
Fe
By Thanyamon Chaturavitkul
Passive transport Active transport
การล้าเลียงธาตุอาหารของพืช
ธาตุอาหารไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรงเนื่องจากอยู่ในรูปของไอออน(ion) ชนิดต่าง ๆ
จึงต้องใช้โปรตีนล้าเลียง (transport protein) ได้ทังแบบ
facilitated diffusion และ active transport
By Thanyamon Chaturavitkul
ธาตุอาหาร (nutrient)
แบ่งธาตุอาหารตามหน้าที่และการท้างานได้เป็น 4 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มที่เป็นองค์ประกอบของสารประกอบคาร์บอนในพืช (N, S) เช่น เป็นองค์ประกอบของกรดอะมิโน
(N, S), นิวคลีโอไทด์(N)
2. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการสะสมพลังงานและรักษาโครงสร้าง (P, Si, B) เช่น เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้ม
เซลล์และATP(P), สมบัติของผนังเซลล์(Si), การยืดยาวของเซลล์(B)
3. กลุ่มที่ท้างานในรูปของไอออน (K, Ca, Mg, Cl, Zn) เช่น ควบคุมความเต่งของเซลล์(K), เป็น
องค์ประกอบของ middle lamella(Ca), เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์(Mg)
4. กลุ่มที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน (Fe, Mn, Cu, Ni, Mo) เช่น เป็นองค์ประกอบของ
cytochrome(Fe, Cu), เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง(Fe, Mn)
ธาตุอาหารหลักที่พบในโครงสร้างและองค์ประกอบที่ส้าคัญของสิ่งมีชีวิตได้แก่ C, H และ O นอกจากนียังมี
ธาตุอาหารอื่น ๆ ที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตของพืชซึ่งถ้าขาดจะท้าให้พืชไม่สามารถเจริญเติบโตหรือสืบพันธุ์ได้
ตามปกติ แบ่งตามปริมาณความต้องการของพืชได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1. ธาตุอาหารหลัก (macronutrient) มี 9 ธาตุ ได้แก่ C, H, O, N, P, K, Ca, Mg และ S
2. ธาตุอาหารรอง (micronutrient) มี 7 ธาตุ ได้แก่ Fe, B, Mn, Cu, Zn, Cl และ Mo
By Thanyamon Chaturavitkul
ธาตุอาหาร หน้าที่
อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก
อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุ
อาหารมากเกินไป
ไนโตรเจน
(N)
- เป็นองค์ประกอบของโปรตีน
กรดนิวคลีอิก คลอโรฟิลล์ และ
โคเอนไซม์
- ช่วยให้พืชเจริญเติบโตทางด้านใบ ล้า
ต้น หัว ฯลฯ
- ใบมีสีเหลืองทังใบ จะ
เริ่มเหลืองที่ใบแก่ก่อน
- ล้าต้นแคระแกร็น
- ใบสีเขียวเข้ม
- ใบมีจ้านวนมาก
- ล้าต้นเติบโตมากกว่า
ราก
โพแทสเซียม
(K)
- เป็นโคแฟกเตอร์ของเอนไซม์
- ควบคุมแรงดันออสโมติก ของเซลล์
คุม
- รักษาสมดุลไอออน
- ควบคุมการสังเคราะห์และเคลื่อนย้าย
แป้ง,น้าตาล และโปรตีน
- ควบคุมการปิดเปิดของปากใบ และ
เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างโปรตีน
- ใบเหลือง ขอบใบและ
ปลายใบไหม้
- เนือเยื่อใบตายเป็นจุดๆ
เกิดที่ใบแก่ก่อน
By Thanyamon Chaturavitkul
ธาตุอาหาร หน้าที่
อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก
อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุ
อาหารมากเกินไป
ฟอสฟอรัส
(P)
- เป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก
ATP และฟอสโฟลิพิด
- ช่วยเร่งการออกดอกและสร้างเมล็ด
- การเติบโตชะงัก
- ใบแก่มีสีเขียวเข้ม ก้าน
ใบหรือใบมีสีแดงหรือม่วง
- ใบอ่อนมีสีเหลือง
ระหว่างเส้นใบ แต่เส้นใบ
มีสีเขียว เนือเยื่อใบตาย
แคลเซียม
(Ca)
- ควบคุมการตอบสนองต่อสารต่างๆ
ที่เยื่อหุ้มเซลล์
- เกี่ยวข้องกับการสร้างและรักษาความ
เสถียรของผนังเซลล์
- จ้าเป็นส้าหรับกระบวนการแบ่งเซลล์
การเพิ่มขนาดของเซลล์
- ช่วยกระตุ้นการท้างานของเอนไซม์
บางชนิด
- เนือเยื่อเจริญปลายยอด
และปลายรากตาย
- ใบอ่อนหงิกงอ
- ปลายใบ ขอบใบเหี่ยว
By Thanyamon Chaturavitkul
ธาตุอาหาร หน้าที่
อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก
อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุอาหาร
มากเกินไป
แมกนีเซียม
(Mg)
- เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์
- กระตุ้นการท้างานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้อง
กับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การ
หายใจ และการสังเคราะห์โปรตีน
- ใบมีสีเหลืองระหว่างเส้น
ใบ เกิดที่ใบแก่อ่อน
- เกิดจุดสีแดงบนใบ
- ปลายใบและขอบใบม้วน
ก้ามะถัน
(S)
- เป็นองค์ประกอบของกรดอะมิโนและโค
เอนไซม์บางชนิด
- เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์,
การสังเคราะห์ด้วยแสง และการหายใจ
- ช่วยเพิ่มปริมาณน้ามันในพืช
- ใบเหลืองทังใบโดยเกิดที่
ใบอ่อนก่อนหรือใบเหลือง
ทังล้าต้น
- ยับยังการสังเคราะห์ด้วย
แสง และท้าให้โครงสร้าง
คลอโรฟิลล์เสื่อมสภาพ
เหล็ก (Fe) - เป็นองค์ประกอบของไซโทโครมซึ่งจ้าเป็น
ต่อกระบวนการหายใจระดับเซลล์
- เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์
- ใบมีสีเหลืองระหว่างเส้น
ใบ เกิดที่ใบแก่อ่อน
- ขาดอย่างรุนแรงใบอ่อน
อาจซีดขาวและแห้งตาย
- เกิดเป็นจุดเซลล์แห้งตาย
บนใบ
By Thanyamon Chaturavitkul
การล้าเลียงน้าและธาตุอาหารเข้าสู่ไซเล็ม
การล้าเลียงธาตุอาหารจะไปพร้อมกับการล้าเลียงน้า แบบอโพพลาสต์, แบบซิมพลาสต์
และแบบทรานส์เมมเบรน
By Thanyamon Chaturavitkul
การล้าเลียงธาตุอาหารจากรากสู่ปลายยอด
By Thanyamon Chaturavitkul
ฟอสฟอรัส (Phosphorus) เหล็ก (Iron)
โพแทสเซียม (Potassium) แมกนีเซียม (Magnesium)
By Thanyamon Chaturavitkul
เป็นวิธีการปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหาร โดยให้รากพืชแผ่อยู่บนพืนผิวที่มีสารละลายธาตุอาหารไหลผ่าน
เป็นชันบาง ๆ ซึ่งเมื่อปลูกไปเป็นระยะเวลาหนึ่ง ค่า pH ของสารละลายจะเปลี่ยนแปลงได้ ท้าให้ปริมาณ
ธาตุอาหารในรูปที่พืชจะน้าไปใช้ได้เปลี่ยนไปด้วย ดังนันต้องควบคุม pH ของสารละลายให้คงที่
Hydroponics
By Thanyamon Chaturavitkul

More Related Content

What's hot

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 

water and mineral transport in plant

  • 2. การล้าเลียงน้าของพืช น้าเป็นปัจจัยที่จ้าเป็นต่อการอยู่รอดของพืช ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และกระบวนการ อื่น ๆ ของเซลล์ การดูดน้าจากดินเข้าสู่พืชและการล้าเลียงน้าไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช เป็นผลมา จากความแตกต่างของค่าชลศักย์ (water potential : ) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 3. Water potential :  • คือ พลังงานอิสระของน้าต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร เปรียบเทียบกับระดับพลังงานอิสระของน้า บริสุทธิ์เป็นหลัก • มีหน่วย คือ MPa (megapascal) >> เป็นหน่วยของความดัน • น้าบริสุทธิ์ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 20C มีค่า สูงสุดเท่ากับ 0 Mpa • น้าจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มี สูง ไปบริเวณที่มี ต่้า • ปัจจัยที่ท้าให้ เปลี่ยนแปลง เช่น ตัวละลาย ท้าให้ความเป็นอิสระของน้าลดลง ค่า  ลดลง จึงท้าให้น้าเคลื่อนที่จาก สารละลายเจือจาง(สูง) ไปบริเวณสารละลายเข้มข้นต่้า) แรงดันและแรงดึง เมื่อโมเลกุลน้าได้รับแรงดัน ความดันของน้าในบริเวณนันจะสูงขึน พลังงานอิสระของน้าสูงขึน ท้าให้ สูงขึน แต่ถ้าได้รับแรงดึง ความดันของน้าในบริเวณนันจะ ลดลง พลังงานอิสระของน้าจะต่้าลง ท้าให้ ลดลง ดังนันน้าจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความดัน สูงไปบริเวณที่มีความดันต่้า By Thanyamon Chaturavitkul
  • 4. สูง ต่้า สูง ต่้า ต่้า สูง By Thanyamon Chaturavitkul
  • 5. การล้าเลียงน้าจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่รากพืช •น้าและแร่ธาตุที่รากดูดซึมจากดินที่บริเวณส่วน ปลายของรากโดยเฉพาะที่ บริเวณขนราก (root hair zone) ท้าให้เพิ่มพืนที่ผิวที่ สัมผัสกับน้า •น้าเข้าสู่เซลล์ขนรากผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดย Osmosis และ facilitated diffusion By Thanyamon Chaturavitkul
  • 6. 1) apoplast pathway เป็นการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยผ่านผนังเซลล์ที่ ติดต่อกัน และช่องว่างระหว่างเซลล์ เมื่อถึง endodermis จะไม่สามารถล้าเลียงน้าแบบนีได้ เนื่องจากมี casparian strip กันอยู่ การล้าเลียงน้าจึงเปลี่ยนเส้นทางเข้าสู่เซลล์เป็นแบบ symplast หรือ transmembrane 2) symplast pathway เป็นการล้าเลียงน้าและแร่ธาตุจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยผ่านทางไซ โทพลาสซึมที่เชื่อมต่อกัน จากเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์หนึ่งโดยผ่านทางพลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata) 3) transmembrane pathway เป็นการล้าเลียงน้าจากเซลล์หนึ่งสู่อีกเซลล์หนึ่งโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การล้าเลียงน้าเข้าสู่ไซเล็ม By Thanyamon Chaturavitkul
  • 9. ล้าเลียงน้าภายในไซเล็ม หลังจากที่พืชสามารถดูดน้าจากดินเข้าสู่ราก แล้ว น้าจะเกิดการล้าเลียงต่อไปยังส่วนของ ล้าต้น โดยผ่านทางท่อล้าเลียงน้า ซึ่งกลไก ที่พืชใช้ในการล้าเลียงน้านีเกิดขึนได้ ดังต่อไปนี คือ •แรงแคพิลลารี (capillary action) •แรงดันเนื่องจากการคายน้า (transpiration pull) •แรงดันราก (root pressure) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 11. แรงแคพิลลารี (capillary force) เป็นแรงที่เกิดขึนภายในท่อล้าเลียงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด เล็กมากคล้ายหลอดแคพิลลารี เกี่ยวข้องกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้า(cohesion) และ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับผนังเซลล์ (adhesion) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 12. เ แรงดึงจากการคายน้า (transpiration pull) เกิดขึนจากการดึงน้าขึนมา ทดแทนน้าที่เสียไปโดยวิธีการ คายน้า วิธีนีสามารถดึงน้าขึนมา ได้ในปริมาณสูง การดึงน้าโดย วิธีนีจ้าเป็นต้องอาศัยแรงแคพิล ลารีช่วยด้วย ท้าให้การล้าเลียง น้าสามารถเกิดขึนได้อย่าง ต่อเนื่องจากข้างล่างถึงข้างบน ยอดพืชโดยไม่ขาดตอน By Thanyamon Chaturavitkul
  • 14. แรงดันราก (root pressure) ในเวลากลางคืนที่ปากใบปิด หรือในภาวะที่อากาศภายนอกมี ความชืนสัมพัทธ์สูงมาก ท้าให้พืชคายน้าทางปากใบตามปกติไม่ได้ หากน้าในดินมีมากจะ เคลื่อนที่เข้าสู่รากพืช เมื่อปริมาณน้าในรากมีจ้านวนมากขึน ท้าให้เกิดแรงดันในรากที่สูงขึนจน สามารถดันของเหลวขึนไปยังท่อไซเลมได้ การล้าเลียงน้าแบบนีจะเกิดกับพืชบางชนิดเท่านัน ในสภาพที่อากาศร้อนจัดและแห้งแล้ง พืชไม่สามารถสร้างแรงดันรากได้ By Thanyamon Chaturavitkul
  • 15. • ในสภาวะที่พืชไม่เกิดการคายน้า ท้าให้ปริมาณน้ายังคงอยู่เต็มไซเล็ม แต่รากพืชยังคงมีการดูดน้า และล้าเลียงน้าอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากแรงดันราก จึงมีการปล่อยน้าปล่อยออกทางรูเล็ก ๆ ที่ เรียกว่า รูหยาดน้า (hydathode) ซึ่งอยู่บริเวณขอบใบหรือปลายใบ ซึ่งปรากฏการณ์การเสียน้า ในรูปของหยดน้าเช่นนี เรียกว่า กัตเตชัน (guttation) • เช่น หลังจากฝนตกหนักใหม่ ๆ, เวลาเช้ามืด By Thanyamon Chaturavitkul
  • 16. • แรงดึงจากการคายน้า (Transpiration pull) ในท่อไซเล็มสามารถดึงน้าจากรากขึนสู่ล้าต้นและใบ ได้ เนื่องจากเมื่อพืชคายน้าออกทางใบท้าให้ค่า  ของท่อไซเล็มที่บริเวณใบมีค่าลดลง น้าจึงไหลจาก รากที่มี ค่า สูงไปยังใบที่มีค่า ต่้ากว่า จึง ท้าให้เกิดแรงดึงน้าขึนตามท่อไซเลม และนอกจากนี โมเลกุลของน้ามีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่เรียกว่า แรงแคพิลลารี (capillary action) ท้าให้การ ไหลของน้าในท่อไซเล็มเกิดได้อย่างต่อเนื่องกัน • หากแรงดึงจากการคายน้า (Transpiration pull) มีค่ามากกว่าแรงโคฮีชัน (cohesion) จะ ท้าให้สายน้าไม่ต่อเนื่องกัน เกิดฟองอากาศขึนซึ่งจะ ขัดขวางการล้าเลียงน้า ในเวลากลางคืนที่ปากใบปิด และน้าในดินมากพอ น้าจะเคลื่อนที่เข้าสู่ไซเล็มท้า ให้เกิดแรงดันราก (root pressure) ซึ่งจะดัน น้าขึนไปบีบอัดฟองอากาศที่เกิดขึนให้หายไปได้ By Thanyamon Chaturavitkul
  • 17. transpiration pull capillary force root pressure By Thanyamon Chaturavitkul
  • 19. Passive transport Active transport การล้าเลียงธาตุอาหารของพืช ธาตุอาหารไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรงเนื่องจากอยู่ในรูปของไอออน(ion) ชนิดต่าง ๆ จึงต้องใช้โปรตีนล้าเลียง (transport protein) ได้ทังแบบ facilitated diffusion และ active transport By Thanyamon Chaturavitkul
  • 20. ธาตุอาหาร (nutrient) แบ่งธาตุอาหารตามหน้าที่และการท้างานได้เป็น 4 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่เป็นองค์ประกอบของสารประกอบคาร์บอนในพืช (N, S) เช่น เป็นองค์ประกอบของกรดอะมิโน (N, S), นิวคลีโอไทด์(N) 2. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการสะสมพลังงานและรักษาโครงสร้าง (P, Si, B) เช่น เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้ม เซลล์และATP(P), สมบัติของผนังเซลล์(Si), การยืดยาวของเซลล์(B) 3. กลุ่มที่ท้างานในรูปของไอออน (K, Ca, Mg, Cl, Zn) เช่น ควบคุมความเต่งของเซลล์(K), เป็น องค์ประกอบของ middle lamella(Ca), เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์(Mg) 4. กลุ่มที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน (Fe, Mn, Cu, Ni, Mo) เช่น เป็นองค์ประกอบของ cytochrome(Fe, Cu), เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง(Fe, Mn) ธาตุอาหารหลักที่พบในโครงสร้างและองค์ประกอบที่ส้าคัญของสิ่งมีชีวิตได้แก่ C, H และ O นอกจากนียังมี ธาตุอาหารอื่น ๆ ที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตของพืชซึ่งถ้าขาดจะท้าให้พืชไม่สามารถเจริญเติบโตหรือสืบพันธุ์ได้ ตามปกติ แบ่งตามปริมาณความต้องการของพืชได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ธาตุอาหารหลัก (macronutrient) มี 9 ธาตุ ได้แก่ C, H, O, N, P, K, Ca, Mg และ S 2. ธาตุอาหารรอง (micronutrient) มี 7 ธาตุ ได้แก่ Fe, B, Mn, Cu, Zn, Cl และ Mo By Thanyamon Chaturavitkul
  • 21. ธาตุอาหาร หน้าที่ อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุ อาหารมากเกินไป ไนโตรเจน (N) - เป็นองค์ประกอบของโปรตีน กรดนิวคลีอิก คลอโรฟิลล์ และ โคเอนไซม์ - ช่วยให้พืชเจริญเติบโตทางด้านใบ ล้า ต้น หัว ฯลฯ - ใบมีสีเหลืองทังใบ จะ เริ่มเหลืองที่ใบแก่ก่อน - ล้าต้นแคระแกร็น - ใบสีเขียวเข้ม - ใบมีจ้านวนมาก - ล้าต้นเติบโตมากกว่า ราก โพแทสเซียม (K) - เป็นโคแฟกเตอร์ของเอนไซม์ - ควบคุมแรงดันออสโมติก ของเซลล์ คุม - รักษาสมดุลไอออน - ควบคุมการสังเคราะห์และเคลื่อนย้าย แป้ง,น้าตาล และโปรตีน - ควบคุมการปิดเปิดของปากใบ และ เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างโปรตีน - ใบเหลือง ขอบใบและ ปลายใบไหม้ - เนือเยื่อใบตายเป็นจุดๆ เกิดที่ใบแก่ก่อน By Thanyamon Chaturavitkul
  • 22. ธาตุอาหาร หน้าที่ อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุ อาหารมากเกินไป ฟอสฟอรัส (P) - เป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก ATP และฟอสโฟลิพิด - ช่วยเร่งการออกดอกและสร้างเมล็ด - การเติบโตชะงัก - ใบแก่มีสีเขียวเข้ม ก้าน ใบหรือใบมีสีแดงหรือม่วง - ใบอ่อนมีสีเหลือง ระหว่างเส้นใบ แต่เส้นใบ มีสีเขียว เนือเยื่อใบตาย แคลเซียม (Ca) - ควบคุมการตอบสนองต่อสารต่างๆ ที่เยื่อหุ้มเซลล์ - เกี่ยวข้องกับการสร้างและรักษาความ เสถียรของผนังเซลล์ - จ้าเป็นส้าหรับกระบวนการแบ่งเซลล์ การเพิ่มขนาดของเซลล์ - ช่วยกระตุ้นการท้างานของเอนไซม์ บางชนิด - เนือเยื่อเจริญปลายยอด และปลายรากตาย - ใบอ่อนหงิกงอ - ปลายใบ ขอบใบเหี่ยว By Thanyamon Chaturavitkul
  • 23. ธาตุอาหาร หน้าที่ อาการที่พืชตอบสนองและแสดงออก อาการเมื่อขาด อาการเมื่อได้รับธาตุอาหาร มากเกินไป แมกนีเซียม (Mg) - เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ - กระตุ้นการท้างานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การ หายใจ และการสังเคราะห์โปรตีน - ใบมีสีเหลืองระหว่างเส้น ใบ เกิดที่ใบแก่อ่อน - เกิดจุดสีแดงบนใบ - ปลายใบและขอบใบม้วน ก้ามะถัน (S) - เป็นองค์ประกอบของกรดอะมิโนและโค เอนไซม์บางชนิด - เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์, การสังเคราะห์ด้วยแสง และการหายใจ - ช่วยเพิ่มปริมาณน้ามันในพืช - ใบเหลืองทังใบโดยเกิดที่ ใบอ่อนก่อนหรือใบเหลือง ทังล้าต้น - ยับยังการสังเคราะห์ด้วย แสง และท้าให้โครงสร้าง คลอโรฟิลล์เสื่อมสภาพ เหล็ก (Fe) - เป็นองค์ประกอบของไซโทโครมซึ่งจ้าเป็น ต่อกระบวนการหายใจระดับเซลล์ - เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ - ใบมีสีเหลืองระหว่างเส้น ใบ เกิดที่ใบแก่อ่อน - ขาดอย่างรุนแรงใบอ่อน อาจซีดขาวและแห้งตาย - เกิดเป็นจุดเซลล์แห้งตาย บนใบ By Thanyamon Chaturavitkul
  • 26. ฟอสฟอรัส (Phosphorus) เหล็ก (Iron) โพแทสเซียม (Potassium) แมกนีเซียม (Magnesium) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 27. เป็นวิธีการปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหาร โดยให้รากพืชแผ่อยู่บนพืนผิวที่มีสารละลายธาตุอาหารไหลผ่าน เป็นชันบาง ๆ ซึ่งเมื่อปลูกไปเป็นระยะเวลาหนึ่ง ค่า pH ของสารละลายจะเปลี่ยนแปลงได้ ท้าให้ปริมาณ ธาตุอาหารในรูปที่พืชจะน้าไปใช้ได้เปลี่ยนไปด้วย ดังนันต้องควบคุม pH ของสารละลายให้คงที่ Hydroponics By Thanyamon Chaturavitkul