SlideShare a Scribd company logo
1 of 113
Download to read offline
บทที่13
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชดอก
ชีววิทยา ม.
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
พืชดอก ถือว่ามีวิวัฒนาการสูงที่สุดในอาณาจักรพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ต้องมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์
ซึ่งเกิดขึ้นในดอก ดอกจึงเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอก
วัฏจักรชีวิตของพืช (Life Cycle)
วัฏจักรชีวิตของพืช เป็นวัฏจักรชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation)
มี 2 ระยะ คือ ระยะสปอโรไฟต์ (2n) และระยะแกมีโตไฟต์ (n)
วัฏจักรการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
วัฏจักรชีวิตของพืช (Life Cycle)
มีรายละเอียดดังนี้
พืชจะดารงชีวิตในรูปของสปอโรไฟต์ มีโครโมโซม 2 ชุด (2n) หรือแบบดิพลอยด์
วัฏจักรชีวิตของพืช (Life Cycle)
 มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เพื่อสร้างสปอร์ โครโซมจะลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง (n) หรือ
เรียกว่า แฮพลอยด์
วัฏจักรชีวิตของพืช (Life Cycle)
สปอร์ที่สร้าง แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (Gamete) : n
วัฏจักรชีวิตของพืช (Life Cycle)
เมื่อมีการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ได้เป็นไซโกต ทาให้โครโมโซมเป็นดิพลอยด์อีกครั้ง
วัฏจักรชีวิตของพืช (Life Cycle)
ไซโกตแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อการเจริญเติบโต จนอยู่ในระยะของสปอโรไฟต์อีกครั้ง
วัฏจักรชีวิตของพืช (Life Cycle)
มีรายละเอียดดังนี้
พืชจะดารงชีวิตในรูปของสปอโรไฟต์ มีโครโมโซม 2 ชุด (2n) หรือแบบดิพลอยด์
 มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อสร้างสปอร์ โครโซมลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง (n) : แฮพลอยด์
สปอร์ที่สร้าง แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (Gamete) : n
เมื่อมีการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ได้เป็นไซโกต ทาให้โครโมโซมเป็น ดิพลอยด์อีกครั้ง
ไซโกตแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อการเจริญเติบโต จนอยู่ในระยะของสปอโรไฟต์ อีกครั้ง
วัฏจักรการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
วัฏจักรการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
วัฏจักรการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
โครงสร้างของดอก
กลีบเลี้ยง (Sepal)
เป็นกลีบรองดอก มักมีสีเขียว ทาหน้าที่หุ้มและป้องกันดอกตูม
โครงสร้างของดอก
กลีบเลี้ยง (Sepal)
โครงสร้างของดอก
กลีบดอก (Petal)
กลีบดอกมักมีสารสีทาให้มีสีสัน เอาไว้ล่อแมลง
โคนกลีบดอกมักมีต่อมผลิตน้าหวาน
โครงสร้างของดอก
กลีบดอก (Petal)
โครงสร้างของดอก
เกสรตัวผู้ (Stamen)
มีก้านชูเกสรตัวผู้ (Filament) ที่ยอดมีถุงเรณู บรรจุละอองเรณู
ซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ดอกที่มีวิวัฒนาการสูงมักมีจานวนเกสรตัวผู้น้อย
โครงสร้างของดอก
เกสรตัวผู้ (Stamen)
โครงสร้างของดอก
เกสรตัวเมีย (Carpel)
มีก้านชูเกสรตัวเมีย (Style) และยอดเกสรตัวเมีย (Stigma)
มีน้าเหนียวๆ เกสรตัวเมียแบ่งเป็น Ovary ภายในมี Ovule 1 อันหรือมากกว่า
โครงสร้างของดอก
เกสรตัวผู้ (Stamen)
จาแนกดอกจากส่วนประกอบ
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower)
 ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกครบทั้ง 4 ส่วน
เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ
ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower)
 ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ส่วน
เช่น ดอกหน้าวัว (ขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก) ดอกบานเย็น (ขาดกลีบดอก)
 ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower)
เป็นดอกที่มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ
จาแนกจากส่วนประกอบของดอก
 ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower)
ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect Flower)
เป็นดอกที่มีเกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียเพียงอย่างเดียว หรือต่างดอกกัน
เช่น ดอกฟักทอง ดอกละหุ่ง ดอกมะละกอ
จำแนกจำกส่วนประกอบของดอก
ชนิดของดอก
ชีววิทยา ม.
จาแนกจากจานวนดอกบนหนึ่งก้าน
ดอกเดี่ยว (Solitary Flower)
 ดอกไม้ที่มีดอกอยู่เพียงดอกเดียวบนก้านชูดอกเพียงก้านเดียว
เช่น ดอกบัว ดอกชบา ดอกกุหลาบ
จาแนกจากจานวนดอกบนหนึ่งก้าน
ดอกเดี่ยว (Solitary Flower)
จาแนกจากจานวนดอกบนหนึ่งก้าน
ดอกช่อ (Inflorescence Flower)
 หลาย ๆ ดอกอยู่บนก้านดอกเดียวกันดอกแต่ละดอก เรียกว่า ดอกย่อย
เช่น ดอกผกากรอง ดอกหางนกยูง
จาแนกจากจานวนดอกบนหนึ่งก้าน
ดอกช่อ (Inflorescence Flower)
จาแนกจากจานวนดอกบนหนึ่งก้าน
ดอกรวม (Composite Flower)
 เป็นดอกช่อชนิดหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วยดอกย่อยเล็กๆ บนฐานรองดอกเดียวกัน
มีก้านชูดอกอันเดียวกันมองดูคล้ายดอกเดี่ยว เช่น ดอกบานชื่น
จาแนกจากจานวนดอกบนหนึ่งก้าน
ดอกรวม (Composite Flower)
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ หรือการสร้างละอองเรณู
(Microsporogenesis)
ชีววิทยา ม.
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
 การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของพืชดอกจะเกิดขึ้นภายในอับเรณู
 ซึ่งประกอบด้วยอับละอองเรณู (Pollen Sac) อยู่ 4 อัน
 ภายในอับละอองเรณู จะมีเซลล์อยู่เป็นกลุ่ม ๆ แต่ละเซลล์เรียกว่า ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
 ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์แบ่งแบบไมโอซิสได้ไมโครสปอร์
 ได้ 2นิวเคลียส คือ เจเนอเรทีฟนิวเคลียส และ ทิวบ์นิวเคลียส
 เจเนอเรทีฟนิวเคลียส แบ่งแบบไมโทซิสอีกครั้งได้ 2 เสปิร์มนิวเคลียส
 ภายในไมโครสปอร์แต่ละเซลล์จะมีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย หรือ การสร้างไข่
(Megasporogenesis)
ชีววิทยา ม.
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
 เกิดขึ้นภายในรังไข่ (Ovary) โดยรังไข่อาจมีหนึ่งออวุล หรือหลายออวุล
ในออวุลจะมีเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์
แบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้เมกะสปอร์ แบ่งต่อแบบไมโทซิส 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลียส
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
 แบ่งเป็น 3 กลุ่มๆละ 3 – 2 – 3 นิวเคลียส ตามลาดับ
กลุ่มที่อยู่ตรงข้ามรูไมโครไพล์ มีนิวเคลียส 3 เซลล์เรียกว่า แอนติโพดอล(Antipodals)
 กลุ่มบริเวณตรงกลางมีนิวเคลียส 2 เซลล์ เรียกว่าโพลาร์นิวเคลียส
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
กลุ่มทางด้านรูไมโครไพล์มีนิวเคลียส 3 เซลล์ เซลล์ตรงกลางจะมีขนาดใหญ่ คือเซลล์ไข่
อีก 2 เซลล์ที่ขนาบข้างเรียกว่า ซินเนอร์จิด (Synergids)
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
การถ่ายละอองเรณู การปฏิสนธิ และวัฏจักรชีวิตของพืช
ชีววิทยา ม.
การถ่ายละอองเรณูของพืชดอก (Pollination)
ปรากฏการณ์ที่ละอองเรณูปลิวมาตกบนยอดเกสรตัวเมียของดอกชนิดเดียวกัน
เกิดขึ้นเมื่อละอองเรณูเจริญเต็มที่ อับเรณูจะแตกออกทาให้ละอองเรณูกระจายออกไป
โดยอาศัยลม น้า โดยเฉพาะ แมลงมีความสาคัญมากในการถ่ายละอองเรณูของพืชดอก
การถ่ายละอองเรณู มี 2 แบบ คือ
การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน หรือคนละดอกในต้นเดียวกัน
หรือ Self Pollination
จะทาให้รุ่นลูกมีสมบัติทางกรรมพันธุ์เหมือนเดิม
การถ่ายละอองเรณูคนละดอกของต้นไม้คนละต้นในพืชนิดเดียวกัน
หรือ Cross Pollination
ให้พืชมีลักษณะหลากหลายและอาจจะได้พืชพันธุ์ใหม่ ๆ ขึ้นมาได้
การถ่ายละอองเรณูคนละดอกของต้นไม้คนละต้นในพืชนิดเดียวกัน
การถ่ายละอองเรณูของพืชดอก (Pollination)
ชีววิทยา ม.
การปฏิสนธิของพืชดอก (Fertilization)
ชีววิทยา ม.
การปฏิสนธิของพืชดอก (Fertilization)
กระบวนการที่สเปิร์มนิวเคลียสอันหนึ่งเข้าไปผสมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่
และสเปิร์มนิวเคลียสอีกอันหนึ่งเข้าผสมกับเซลล์โพลาร์นิวเคลียส
เรียกการปฏิสนธิ ลักษณะนี้ว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization)
ขั้นตอนการปฏิสนธิของพืชดอก
เมื่อละอองเรณูตกบนยอดเกสรตัวเมีย
ทิวป์นิวเคลียสจะทาหน้าที่สร้างหลอดละอองเรณู (Pollen tube)
งอกไปตามก้านชูเกสรตัวเมีย และงอกผ่านรูไมโครไพล์ของออวุล จากนั้นทิวป์นิวเคลียส
จะสลายไป
Pollen tube
ขั้นตอนการปฏิสนธิของพืชดอก
ขณะเดียวกันเจเนอเรทิฟนิวเคลียสจะแบ่งเซลล์แบบ Mitosis 1 ครั้ง
ได้สเปิร์มนิวเคลียส (Sperm Nucleus) 2 เซลล์
ตัวแรกผสมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่ได้เป็นไซโกต (Zygote)
ตัวที่ 2 ผสมกับโพลานิวเคลียส ซึ่งจะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm)
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
ขั้นตอนการปฏิสนธิของพืชดอก
ขั้นตอนการปฏิสนธิของพืชดอก
ภายหลังการปฏิสนธิของพืชดอก
ไซโกต ซึ่งมีโครโมโซมเท่ากับ 2n จะเจริญต่อไปเป็นเอมบริโอ (Embryo)
เอนโดสเปิร์ม มีโครโมโซมเท่ากับ 3n ทาหน้าที่สะสมอาหารสาหรับเลี้ยงเอมบริโอ
นิวเคลียสที่เหลือ คือ แอนติโพดอล และซินเนอร์จิดสลายไป
ภายหลังการปฏิสนธิของพืชดอก
รังไข่ (ovary ) เจริญเป็น ผล
ผนังรังไข่ (ovary wall ) เจริญเป็น เปลือกและเนื้อของผลไม้
ออวุล (ovule ) เจริญเป็น เมล็ด
ไข่ (egg ) เจริญเป็น ต้นอ่อนอยู่ภายในเมล็ด
โพลาร์นิวเคลียส (polar nucleus ) เจริญเป็น เอนโดสเปิร์ม
กำรเกิดผลและเมล็ด
ชีววิทยำม.
กำรเกิดผล
หลังจำกกำรปฏิสนธิแล้วออวุลแต่ละอันก็จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ด
และรังไข่ก็จะเจริญไปเป็นผล(Fruit) ที่ห่อหุ้มเมล็ดไว้
แบ่งเป็นผลเดี่ยว ผลกลุ่มและผลรวม
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
มาจากดอกเดี่ยวหรือช่อก็ได้ (ช่อจะเป็นพวง) ซึ่งแต่ละดอกมีรังไข่เพียงอันเดียว
เช่น ตะขบ ส้ม ทุเรียน ลาไย องุ่น มะพร้าว ข้าวโพด ลิ้นจี่ เงาะ
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
ผลกลุ่ม(AggregateFruit)
 เป็นผลที่เกิดจำกดอกซึ่งมีหลำยรังไข่อยู่บนฐำนรองดอกเดียวกัน
เช่นบัวหลวง น้อยหน่ำสตรอเบอร์รี่ กระดังงำ จำปี เป็นต้น
ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit)
ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit)
ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit)
ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit)
ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit)
ผลรวม (Multiple Fruit)
ผลรวม(MultipleFruit)
เกิดจำกดอกช่อซึ่งแต่ละดอกย่อยเชื่อมรวมกันแน่น
รังไข่ของดอกเหล่ำนี้จะกลำยเป็นผลย่อยๆ รวมกันแน่นจนคล้ำยเป็นผลเดียว
ได้แก่ผลสับปะรดขนุนมะเดื่อ ยอหม่อนเป็นต้น
ผลรวม (Multiple Fruit)
ผลรวม (Multiple Fruit)
ผลรวม (Multiple Fruit)
กำรเกิดเมล็ด
 เมล็ดคือ ออวุลที่เจริญเติบโตเต็มที่
ประกอบด้วยเอ็มบริโอและเนื้อเยื่อสะสมอำหำรที่อยู่ภำยในเปลือกหุ้มเมล็ด
การเกิดเมล็ด
ส่วนประกอบของเมล็ด
ชีววิทยำม.
เปลือกหุ้มเมล็ด(SeedCoat)
เป็นส่วนที่อยู่นอกสุดมักมีลักษณะหนำและเหนียวหรือแข็ง
เพื่อป้องกันอันตรำยให้แก่ส่วนต่ำงๆที่อยู่ภำยใน
ผิวของเปลือกมักเป็นรอยแผลเล็กๆเรียกว่ำไฮลัม(Hilum)
ใกล้ๆไฮลัมมีรูเล็กๆเรียกว่ำไมโครไพล์(Micropyle)
เอนโดสเปิร์ม(Endosperm)
ทำหน้ำที่สะสมอำหำรและแป้งน้ำตำลโปรตีนไขมันให้แก่เอมบริโอ
มีมำก- น้อยขึ้นอยู่กับชนิดของพืช
ในมะพร้ำวและตำลจะมีเอนโดสเปิร์มที่เป็นน้ำและที่เป็นเนื้อ
เอนโดสเปิร์ม (Endosperm)
ลิควิดเอนโดสเปิร์ม
จำวมะพร้ำว
คือส่วนของembryo ซึ่งจะอยู่ติดกับส่วนของendosperm
เมล็ดจะงอกและแทงต้นอ่อนผ่ำนส่วนช่องเปิด(functionalpore)
จำวมะพร้ำวจะกลำยเป็นรำกที่ดูดน้ำมะพร้ำวมำหล่อเลี้ยงลำต้นนั่นเอง
เอ็มบริโอ(embryo)
เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่จะเจริญไปเป็นต้นพืชประกอบด้วยส่วนต่ำงๆ ดังนี้
3.1ใบเลี้ยง (cotyledon)
มีหน้ำที่สะสมอำหำรและป้องกันไม่ให้เอ็มบริโอที่อยู่ข้ำงในบุบสลำย
เอนโดสเปิร์ม (Endosperm)
3.2ลำต้นอ่อน(Caulicle)
ประกอบด้วย3 ส่วนคือ
1)เอพิคอทิล(Epicotyl)ส่วนที่อยู่เหนือใบเลี้ยงขึ้นไปจะกลำยเป็นลำต้นใบ และ
ดอกของพืช
2)ไฮโพคอทิล(Hypocotyl)
 อยู่ใต้ตำแหน่งที่ติดกับใบเลี้ยง จะเจริญดึงใบเลี้ยงให้โผล่ขึ้นเหนือดิน
3)แรดิเคิล (radicle)
 เป็นส่วนล่ำงสุดของเอ็มบริโออยู่ต่อจำกไฮโพคอทิลลงมำ ต่อไปจะเจริญเป็นรำก
เอมบริโอ(Cotyledon)
กำรงอกของเมล็ด
ชีววิทยำม.
กำรงอกของเมล็ด
คือกำรเริ่มต้นเจริญเติบโตหรือกลับคืนเข้ำสู่สภำพของกำรเจริญเติบโตครั้งใหม่
เมื่อเมล็ดอยู่ในสภำพที่เหมำะสมเมล็ดจะงอกและเจริญไปเป็นต้นพืชใหม่
แต่เมล็ดบำงชนิดจะต้องรอระยะเวลำหนึ่งก่อนจึงจะงอกได้เรียกว่ำระยะพักตัว
ปัจจัยในการงอกของเมล็ดพืช
ควำมชื้นหรือน้ำส่วนใหญ่ยิ่งมำกยิ่งดีเปลือกหุ้มเมล็ดยุ่ยช่วยให้แก๊สออกซิเจนผ่ำนเข้ำสู่เซลล์ช่วยใน
กำรละลำยอำหำรที่สะสมอยู่ในเอนโดสเปิร์ม
อุณหภูมิ เมล็ดพืชทั่วไปจะงอกได้ดีที่อุณหภูมิ 20 – 30 องศาเซลเซียส
ปริมาณออกซิเจน ต้องมี 20% ขึ้นไป เพราะนาไปสร้างพลังงาน (การพรวนดิน)
แสงสว่าง จาเป็นสาหรับพืชบางชนิดเท่านั้น เช่น พวกวัชพืช และไม่ชอบแสง เช่น
กระเจี๊ยบ แตงกวา
ความแก่ของเมล็ดพืช ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช
เมล็ดต้องมีชีวิตอยู่ การเก็บเมล็ดพืชไว้นานๆ เมล็ดพืชจะหมดอายุและเพาะไม่งอก
ปัจจัยในกำรงอกของเมล็ดพืช
ควำมชื้นหรือน้ำส่วนใหญ่ยิ่งมำกยิ่งดีช่วยให้เปลือกหุ้มเมล็ดยุ่ยแก๊สO2 ผ่ำน
เข้ำสู่เซลล์, กำรละลำยอำหำรที่สะสมอยู่ในเอนโดสเปิร์ม
อุณหภูมิ เมล็ดพืชทั่วไปจะงอกได้ดีที่อุณหภูมิ20 – 30องศำเซลเซียส
ปริมำณออกซิเจน ก่อให้เกิดพลังงำน ซึ่งนำไปใช้ในกำรแบ่งเซลล์ลำเลียงสำร
สร้ำงส่วนต่ำงๆ
ปัจจัยในกำรงอกของเมล็ดพืช
แสงสว่ำงเป็นสำหรับพืชบำงชนิดเท่ำนั้น เช่น หญ้ำ แต่ในเมล็ดพืชบำงชนิด
ไม่ต้องกำรแสงในขณะที่งอกเช่น กระเจี๊ยบ แตงกวำ ข้ำวโพด
เมล็ดต้องมีชีวิต กำรเก็บเมล็ดพืชไว้นำนๆ เมล็ดพืชจะหมดอำยุทำให้เพำะ
ไม่งอก หรือมีอัตรำกำรงอกต่ำ
กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยไม่อำศัยเพศของพืชดอก
และกำรขยำยพันธุ์พืช
ชีววิทยำม.
กำรปักชำหรือกำรตัดชำ
กำรนำส่วนต่ำงๆของพืชด้วยกำรตัดมำปักชำในดินหรือวัสดุเพำะเพื่อให้ได้
ต้นใหม่โดยกำรเกิดรำกแขนงบริเวณโคนกิ่งที่ปักชำ
กำรตอนกิ่ง
เป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรำกขณะติดอยู่กับต้นแม่
 เมื่อตัดไปปลูกจะได้ต้นใหม่ที่มีลักษณะทำงสำยพันธุ์เหมือนต้นแม่ทุกประกำร
กำรติดตำ
เป็นวิธีกำรขยำยพันธุ์พืชที่นำเอำส่วนตำหรือกิ่งของพืชต้นหนึ่ง
ไปติดเข้ำกับพืชอีกต้นหนึ่งเพื่อให้ตำของพืชเจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ต่อไป
กำรติดตำ
กำรทำบกิ่ง
กำรนำต้นไม้2 ต้นที่ต่ำงก็มีรำกของตนเองมำทำบกันโดยต่อเข้ำด้วยกัน
เมื่อเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอและตัดโคนของต้นพันธุ์ดีออก
กำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
กำรเพำะเลี้ยงพืชโดยใช้บำงส่วนของพืชเพื่อให้ได้พืชชนิดนั้นทั้งต้น
ทำให้มีขยำยพันธุ์ให้ได้จำนวนมำกจำกชิ้นส่วนที่มีจำนวนน้อยต้น

More Related Content

What's hot

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชMin Minho
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 

What's hot (20)

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 

Similar to บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนกNonglawan Saithong
 

Similar to บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (20)

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
1
11
1
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต