SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
โครงสร้างตามยาวของราก
cap) ประกอบด้ ว ยเซลล์ พ าเรงคิ ม า
(Parenchyma) เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ ผนังค่อนข้างบาง มีแวคิวโอล
ขนาดใหญ่ สามารถผลิตเมือกได้ ทาให้ห มวกรากชุ่มชื้น และอ่อนตัว
สะดวกต่อการชอนไช และสามารถป้องกันอันตรายให้กับบริเวณที่อยู่
เหนือขึ้นไปได้

 1. บริ เ วณหมวกราก (Root
โครงสร้างตามยาวของราก
 2.บริ เ วณเซลล์ กาลั ง แบ่ ง ตั ว (Region

of
cell
division) อยู่ถัดจากรากขึ้นมาประมาณ 1-2 mm เป็นบริเวณ
ของเนื้อเยื่อเจริญ จึงมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส เพื่อเพิ่มจานวน
โดยส่วนหนึ่งเจริญเป็นหมวกราก อีกส่วนเจริญเป็นเนื้อเยื่อ ที่อยู่สูงถัด
ขึ้นไป
โครงสร้างตามยาวของราก
 3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell

elongation) อยู่ถัดจากบริเวณเซลล์มีการแบ่งตัว เป็นบริเวณ
ที่เซลล์มีการยืดยาวขึ้น
โครงสร้างตามยาวของราก
 4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of

cell differentiation and
maturation) ประกอบด้วยเซลล์ถาวรต่างๆ ซึ่งที่มีการ
เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญมีโครงสร้างเพื่อทาหน้าที่ต่างๆ
บริเวณนี้จะมีเซลล์ขนราก (Root hair cell)
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
 แบ่งศึกษา เป็น 2 กรณี คือ

- โครงสร้างตัดตามขวางของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
- โครงสร้างตัดตามขวางของรากพืชใบเลี้ยงคู่
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
 สามารถแยกเป็นบริเวณ หรือชั้นต่างๆตามลักษณะเซลล์ที่เห็นได้ 3

บริเวณ ดังนี้
 1. epidermis
 2. cortex
 3. stele
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
 1. epidermis เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดมีเซลล์ที่เรียงตัวกันเพียง

ชั้นเดียวและผนังเซลล์บาง ไม่มีคลอโรพลาสต์ บางเซลล์จะ
เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
 2. cortex เป็นอาณาเขตระหว่างชั้น epidermis และ stele
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อพาเรงคิมาที่ทาหน้าที่สะสมน้าและอาหารเป็นส่วนใหญ่

ชั้นในสุดของ cortex จะเป็นเซลล์แถวเดียวเรียก endodermis ในราก
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะเห็นชัดเจนเซลล์ในชั้นนี้เมื่อมีอายุมากขึ้นจะมีผนังหนาเพราะ
มีสารซูเบอริน หรือลิกนินสะสมอยู่ แต่จะมีช่วงที่มีเซลล์ผนังบางแทรกอยู่ในชั้นนี้
และอยู่ตรงกับแนวของไซเลม
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
 3. stele เป็นบริเวณที่อยู่ถัดจากชั้น endodermisเข้าไป พบว่า stele ในรากจะ

แคบกว่าชั้น cortex ประกอบด้วยชั้นต่างๆดังนี้
 3.1 pericycle เป็นเซลล์ผนังบางขนาดเล็กมี 1-2 แถว พบเฉพาะในราก
เท่านั้น เป็นแหล่งกาเนิดของรากแขนง ( secondary root )
 3.2 vascular bundle ประกอบด้วย xylem อยู่ตรงใจกลางเรียงเป็นแฉกโดย
มี phloem อยู่ระหว่างแฉก สาหรับพืชใบเลี้ยงคู่ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อเจริญ
vascular cambium คั่นระหว่าง xylem กับ phloem ในรากของพืชใบเลี้ยงคู่มี
จานวนแฉกน้อยประมาณ 1-6 แฉก โดยมากมักมี 4 แฉก ส่วนรากของพืช
ใบเลี้ยงเดี่ยวมักมีจานวนแฉกมากกว่า
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
 3.3 pith เป็นบริเวณตรงกลางรากหรือไส้ในของรากเห็นได้ชัดเจนในราก

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมาส่วนรากพืชใบเลี้ยงคู่ตรง
กลางมักเป็น xylem
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง

ภาพ เปรียบเทียบภาคตัดขวางของราก
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง

ภาพ รากพืชใบเลี้ยงคู่
หน้าที่ของราก
1.ค้าจุนส่วนต่างๆ ของพืชให้ทรงตัวอยู่ได้
2.ดูดและล้าเลียงน้า (absorption and transportation)
3.หน้าที่อื่นๆ ขึนกับลักษณะของรากเช่น สะสมอาหาร ยึดเกาะ ใช้ใน การ
หายใจเป็นต้น
ชนิดของราก
 ชนิดของรากเมื่อแยกตามกาเนิด จาแนกออกเป็น 3 ชนิดคือ
 1. Primary root หรือ รากแก้ว (tap root)

 2. Secondary root หรือรากแขนง(lateral root หรือ
branch root)
 3. Adventitious root หรือ รากวิสามัญ
ชนิดของราก
 1. Primary root หรือ

รากแก้ว (tap root)
 มีลักษณะ ตอนโคนจะโตแล้วค่อยเรียว
เล็กลงไปจนถึงปลาย จะยาวและ
ใหญ่กว่ารากอื่นๆที่แยกออกไป
ทาหน้าที่
ชนิดของราก
 2. Secondary root หรือรากแขนง(lateral root หรือ branch

root) เป็นรากที่เจริญเติบโตออกมาจาก รากแก้ว มักงอกเอียงลงไปในดินจนเกือบ
ขนานหรือขนานไปกับพืนดินก้าเนิดมาจากเนือเยื่อเพริไซเคิล
ชนิดของราก
 3. Adventitious root หรือ รากวิสามัญ เป็นรากที่ไม่ได้กาเนิดมาจาก

รากแก้วหรือรากแขนง รากชนิดนี้อาจแตกออกจากโคนต้นของพืช ตามข้อของลาต้น
หรือกิ่ง ตามใบหรือจากกิ่งตอนของไม้ผลทุกชนิด แยกเป็นชนิดย่อยได้ตามรูปร่างและ
หน้าที่ ได้ดังนี้
ชนิดของราก
 - รากฝอย (fibrous root)
 เป็นรากเส้นเล็กๆมากมาย ขนาดโตสม่า

เสมอกันไม่เรียวลงที่ปลายอย่างรากแก้ว
งอกออกจากรอบโคนต้นแทนรากแก้วที่
ฝ่อเสียไปหรือที่หยุดเติบโต พบใน
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่
ชนิดของราก

 - รากค้าจุ้น (Prop root) เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อ

ของลาต้น ที่อยู่ใต้ดิน และเหนือดินขึ้นมาเล็กน้อย และพุ่ง
แทงลงไปในดิน
เพื่อพยุงลาต้นเอาไว้ไม่ให้ล้มง่าย เช่น
รากค้าจุนของต้นข้าวโพด ต้นลาเจียก ต้นโกงกาง
ชนิดของราก

 รากเกาะ (Climbing root) เป็นรากที่แตกออกมา

จากข้อของลาต้นแล้วมาเกาะตามหลักหรือเสา
เพื่อพยุง
ลาต้นให้ติดแน่นและชูลาต้นขึ้นที่สูง เช่นรากของพลู พลูด่าง
กล้วยไม้
ชนิดของราก
 รากสังเคราะห์แสง (photosynthtic root) เป็นรากที่
แตกออกมาจากข้อของลาต้น แล้วห้อยลงมาในอากาศ มีสีเขียวของ

คลอโรฟิลเป็นรากที่ทาหน้าที่สังเคราะห์แสง เช่น รากกล้วยไม้ที่มีสี
เขียวเฉพาะรากอ่อน หรือปลายรากที่แก่เท่านั้น
รากของไทร โกงกาง มีสีเขียวเฉพาะตรง
ที่ห้อยอยู่ในอากาศ
ชนิดของราก
 รากหายใจ (Respiratory root)รากพวกนี้เป็นแขนงงอก
ออกจากรากใหญ่ที่แทงลงไปในดินอีกทีหนึ่ง แต่แทนที่จะงอกลงไปใน

ดิน กับ ชูปลายขึ้นมาเหนือดินหรือผิวน้า บางทีก็ลอยตามผิวน้า
เช่นรากของแพงพวย
ชนิดของราก

 รากสะสมอาหาร (storage root) เป็นรากที่ทาหน้าที่ในการ
สะสมอาหารประเภทแป้ง น้าตาล หรือ โปรตีนเอาไว้ ทาให้มี

ลักษณะอวบอ้วนเรามักเรียกว่า หัว เช่น หัวแครอต หัวผักกาด หัวมัน
เทศ หัวมันแกว มันสาปะหลัง กระชาย
ความแตกต่างของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่
THE END

More Related Content

What's hot

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 

What's hot (20)

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกsarawut chaiyong
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกNatty Natchanok
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 

Viewers also liked (13)

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 

Similar to Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 

Similar to Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1 (20)

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 

More from มัทนา อานามนารถ

เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ
เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆเง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ
เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆมัทนา อานามนารถ
 

More from มัทนา อานามนารถ (14)

งาน O-net คอมpptx
งาน O-net คอมpptxงาน O-net คอมpptx
งาน O-net คอมpptx
 
คอมพิวเตอร 1.1
คอมพิวเตอร  1.1คอมพิวเตอร  1.1
คอมพิวเตอร 1.1
 
ไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟ
ไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟ
ไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟ
 
พ.ร.บ.
พ.ร.บ.พ.ร.บ.
พ.ร.บ.
 
งานชญานี ม6
งานชญานี ม6งานชญานี ม6
งานชญานี ม6
 
การประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พการประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พ
 
โครงงาน Blogger
โครงงาน Bloggerโครงงาน Blogger
โครงงาน Blogger
 
เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ
เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆเง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ
เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ
 
โครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหา
โครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหาโครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหา
โครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหก
เคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหกเคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหก
เคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ปังปอนด์งานจริง
ปังปอนด์งานจริงปังปอนด์งานจริง
ปังปอนด์งานจริง
 
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2
 

Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1