SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
เนื้อเยื่อพืช
(PLANT TISSUE)
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
เนื้อเยื่อพืช (PLANT TISSUE)
• ความหมายและความสาคัญของเนื้อเยื่อพืช
• การจัดระบบของเนื้อเยื่อพืช
• ประเภทของเนื้อเยื่อพืช
• การทางานของระบบเนื้อเยื่อในพืช
ความหมายและความสาคัญของเนื้อเยื่อพืช
พืช (plant) : สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular organism)
เซลล์ยูคาริโอต (eukaryoticcell)
มีผนังเซลล์ (cell wall) ; เซลลูโลส (cellulose)
มีคลอโรฟิลล์ (chlorophyll) ; คลอโรพลาสต์ (chloroplast)
สามารถสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) ได้
มีช่วงชีวิตที่เป็นระยะเอ็มบริโอ (embryo) ตลอดจนมี
วงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation)
วงชีวิตแบบสลับ (ALTERNATION OF GENERATION)
เนื้อเยื่อพืช (PLANT TISSUE)
• หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ เซลล์ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นองค์ประกอบ พืชเป็นสิ่งมี ชีวิด พืช 1ต้นจึงประกอบด้วย เซลล์
หลายล้านเซลล์มาอยู่รวมกัน และ ทาหน้าที่ตามบทบาท และ ตาแหน่งของเซลล์เหล่านั้น โดย
• เซลล์หลายเซลล์รวมกันทาหน้าที่คล้ายกัน เรียกว่า เนื้อเยื่อ (Tissue)
เนื้อเยื่อหลายๆเนื้อเยื่อมาอยู่รวมกันและทางานร่วมกัน เรียกว่า อวัยวะ (Organ)
อวัยวะหลายๆอวัยวะมาอยู่รวมกันเรียกว่า ระบบ (System)
ระบบหลายๆ ระบบมาอยู่รวมกันเรียกว่า ร่างกาย (Body), (Oganization)
เนื้อเยื่อพืช (PLANT TISSUE)
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์
เซลล์พืช (PLANT CELL)
• เซลล์พืช คือ หน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดของพืช มีส่วนประกอบสาคัญ
คือผนังเซลล์ (Cell Wall) ที่แข็งแรงที่ห่อหุ้มชั้นนอกสุดของเซลล์ มี
รูปร่างเซลล์เป็นเหลี่ยม และเซลล์มีคลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
เป็นออร์แกแนลล์ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของพืช นอกนั้นเซลล์พืชก็มี
องค์ประกอบคล้ายๆกับเซลล์ทั่วไป คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์ (Cell
Membrane), นิวเคลียส (Nucleus), ไซโทพลาซึม (
Cytoplasm) ที่ประกอบไปด้วยออร์แกแนลล์ต่างๆ เช่น กอลจิ คอม
เพล็กซ์ (Golgi Complex), ไรโบโซม (Ribosome), เอน
โดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic Reticulum,
ER), ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นต้น นอกนั้นเซลล์
พืชก็จะมีออร์แกแนลล์ที่ชื่อ แวคิวโอล (Vacuole) ที่มีขนาดใหญ่กว่า
ของเซลล์สัตว์มาก
เซลล์พืช (PLANT CELL)
• ที่ผนังเซลล์ (Cell Wall) ของเซลล์พืช จะมีช่องพลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) (รูปเอกพจน์ใช้ พลาส
โมเดสมา, Plasmodesma) ที่เป็นช่องว่างขนาดเล็กจานวนมาก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50-60 นาโน
เมตร ช่วยในการทาหน้าที่เชื่อมต่อเซลล์ (Cell)ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เพื่อช่วยในการขนส่งแลกเปลี่ยนสิ่งต่างๆระหว่างเซลล์
พืช
เซลล์พืช (PLANT CELL)
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• เนื้อเยื่อพืชมีความหมายและความสาคัญต่อการดารงชีวิตของพืชอย่างไรบ้าง
• พืชมีลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตอื่นอย่างไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• เซลล์พืชมีโครงสร้างและองค์ประกอบพิเศษอย่างไรบ้างที่ส่งผลต่อการดารงชีวิตของพืชใน
ลักษณะที่แตกต่างกัน
• วัฎจักรชีวิตของพืชมีลักษณะเฉพาะตัวอย่างไร จงเขียนวงจรพร้อมอธิบายประกอบ
การจัดระบบของเนื้อเยื่อพืช (PLANT TISSUE SYSTEM)
เนื้อเยื่อพืช (Plant Tissues)
ประเภทของเนื้อเยื่อ
I. จาแนกตามหน้าที่ ได้ 3 ระบบ
1. Dermal system : epidermis,cork
2. Fundamental system : parenchyma,collenchyma,sclerenchyma
3. Vascular system : xylem, phloem
II. จาแนกตามการเจริญเติบโต ได้ 2 ชนิด
1. Primary tissue : เนื้อเยื่อที่อยู่ในการเจริญปฐมภูมิ (primary growth)
2. Secondary tissue : เนื้อเยื่อที่อยู่ในการเจริญทุติยภูมิ (secondary growth)
III. จาแนกตามความสามารถในการแบ่งตัวได้ 2 ชนิด
1. Meristematic tissue (เนื้อเยื่อเจริญ)
2. Permanenttissue (เนื้อเยื่อถาวร)
1. Dermal tissue (เนื้อเยื่อบุผิว)
2. Vascular tissue (เนื้อเยื่อลาเลียง)
3. Ground tissue (เนื้อเยื่อพื้นฐาน)
เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบ ได้แก่
1. เนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่ป้องกัน (protective tissue) อาจเรียกว่า เนื้อเยื่อห่อหุ้ม หรือเนื้อเยื่อพื้นผิว (dermal
tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ผิวนอกสุดของพืช ทาหน้าที่ปกคลุมส่วนอื่นๆป้องกันเนื้อเยื่อภายในจากการสูญเสียน้า จาก
การสัมผัสของจุลินทรีย์ และศัตรูพืช และการกระทบกระเทือนทางกายภาพ จากการกระแทก ทาให้เกิด รอยช้า บาดแผล
บริเวณเนื้อเยื่อชั้นนี้มีปากใบ (stomata) แทรกอยู่ เพื่อควบคุมการผ่านเข้าออกของน้าและก๊าซต่างๆ บนผิวของเซลล์
เนื้อเยื่อผักผลไม้ อาจมีไข (wax) หรือ คิวทิน (cutin) ซึ่งเป็นสารกลุ่มลิพิด (lipid) เคลือบอยู่เป็นชั้นบางๆ มีหน้าที่
ป้องกันการคายน้า และการเกิดบาดแผล
Dermal system
เนื้อเยี่อพีชประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชนิด คือ
เอพิเดอร์มิส (epidermis) เพริเดิร์ม (periderm)
Dermal system
2. เนื้อเยื่อท่อลาเลียง ทาหน้าที่ลาเลียงน้า แร่ธาตุ น้า และอาหาร ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชนิด คือ ไซเลม (xylem) ทาหน้าที่
ลาเลียงน้า และแร่ธาตุ จากรากไปยังส่วนต่างๆ โฟลเอ็ม (phloem) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ที่ได้จากการสังเคราะห์แสงจาก
ใบไปยังส่วนต่างๆ
Vascular system
Vascular system
3. เนื้อเยื่อที่เป็นแหล่งสะสมอาหาร หรือ เนื้อเยื่อพื้นฐาน (ground tissue) เป็นเนื้อเยื่อพบมากที่สุดในส่วนของพืชที่บริโภคได้ เป็น
เนื้อเยื่อประเภท parenchyma ผนังเซลล์รูปทรงหลายด้าน (polyhedral)
ในผักผลไม้มีน้าเป็นส่วนประกอบหลัก มีช่องว่างระหว่างเซลล์มาก เซลล์มีลักษณะเต่งน้า มีผนังเซลล์บางเป็นส่วนประกอบหลักของ
เนื้อ ผัก หรือ ผลไม้ ที่ใช้รับประทานเป็นอาหาร ทาให้ผักผลไม้มีเนื้อสัมผัส กรอบ ฉ่าน้า นุ่ม รอยต่อระหว่างผนังเซลล์ที่อยุ่ชิดกัน เรียกว่า
middle lamella มีสารประกอบประเภทเพกทิน (pectin) ซึ่งมีบทบาทสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงเนื้อสัมผัสระหว่าง
การสุกของผลไม้
Fundamental system
เนื้อเยื่อสะสมอาหารในพืชหัว ถั่วเมล็ดแห้ง เมล็ดธัญพืช เป็นแหล่งสะสม คาร์โบไฮเดรตในรูปของสตาร์ซ (starch) ซึ่งอัดแน่น ด้วย
เม็ดสตาร์ช (starch granule) และยังเป็นแหล่งสะสม โปรตีน น้ามัน วิตามิน แร่ธาตุ รงควัตถุ
Fundamental system
4. เนื้อเยื่อพยุง (supporting tissue) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อสองชนิด คือ collenchyma และ
sclerenchyma ซึ่งทาหน้าที่พยุงให้พืชคงรูปร่างอยู่ได้ เป็นเซลล์ที่มีผนังเซลล์หนามีทั้งที่มีรูปทรงเป็นแบบหลายด้าน
(polyhehral) และเป็นเส้นยาว แบบเส้นใย (fiber) อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หรือกระจายอยู่กับเซลล์อื่น ทาให้ผัก ผลไม้ มีลักษณะ
เนื้อสัมผัส เป็นเสี้ยน เป็นเส้นใย หรือผลไม้มีลักษณะเนื้อหยาบ หรือเนื้อเป็นทราย เช่น ในเนื้อของ ฝรั่ง สาลี่ ละมุด
Fundamental system
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• การจัดระบบเนื้อเยื่อพืชหากแบ่งตามเกณฑ์หน้าที่ จะแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
• การจัดระบบของเนื้อเยื่อพืชมีความหมายและความสาคัญต่อพืชอย่างไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• การจัดระบบเนื้อเยื่อพืชหากแบ่งตามเกณฑ์รูปแบบการเจริญเติบโตของพืช จะแบ่งได้
เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
• การจัดระบบเนื้อเยื่อพืชหากแบ่งตามเกณฑ์ความสามารถในการแบ่งตัวของเซลล์ จะแบ่งได้
เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ประเภทของเนื้อเยื่อพืช (TYPE OF PLANT TISSUE)
เนื้อเยื่อเจริญ (MERISTEMATIC TISSUE)
• เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissues)
หมายถึงกลุ่มของเซลล์ที่มีความสามารถแบ่งตัวแบบ
mitosis ให้เซลล์ใหม่อยู่ตลอดเวลา มักอยู่เป็นกลุ่ม
เล็กๆ มีลักษณะที่สาคัญและแตกต่างจากเนื้อเยื่อถาวร
ลักษณะของเนื้อเยื่อเจริญ
1.เซลล์มีขนาดเล็ก
2. ผนังเซลล์บาง
3. มีนิวเคลียสขนาดใหญ่
4. vacuoles ไม่มี หรือ มีขนาดเล็ก
5.ไม่มี intercellular spaces คือช่องว่าง
ระหว่างเซลล์ขณะเซลล์เรียงตัว
เนื้อเยื่อเจริญ (MERISTEMATIC TISSUE)
ชนิดของเนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญจาแนก ตามตาเหน่งที่อยู่แบ่งได้เป็น 3 ชนิด
1.1 Apical meristem เป็นเซลล์ Meristem ที่อยู่ส่วนปลาย เช่น ปลายยอด ปลายราก เป็นต้น
เนื้อเยื่อเจริญ (MERISTEMATIC TISSUE)
ชนิดของเนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญจาแนก ตามตาเหน่งที่อยู่แบ่งได้เป็น 3 ชนิด
1.2 Intercalary meristem เป็น Meristem อยู่ตามบริเวณข้อและปล้อง แบ่งเซลล์ทาให้ลาต้นยืดยาวพบ
ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( Monocots )
เนื้อเยื่อเจริญ (MERISTEMATIC TISSUE)
ชนิดของเนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญจาแนก ตามตาเหน่งที่อยู่แบ่งได้เป็น 3 ชนิด
1.3 Lateral meristem กลุ่มเซลล์ Meristem จะอยู่ทางด้านข้างของลาต้น ตัวอย่างเช่นตาใบ ตาดอก หรือ
ตารวม มี 2 ชนิดคือ วาสคิวลาร์แคมเบียม(Vascular cambium) กับ คอร์กแคมเบียม (Cork cambium)
• เนื้อเยื่อเจริญจาแนกตามการเกิดและการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ แบ่งเป็น 3 ประเภท
• 1. PROMERISTEM (โพรเมอริสเต็ม) เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ ประกอบขึ้น ด้วยเซลล์ที่มีรูปร่าง
คล้ายคลึงกันมาก และขนาดเท่ากันหมด มีเซลล์วอลบางซึ่งประกอบด้วยร่อง (PIT) ที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ ไซโตพลาซึมตื่นตัวดี
ไม่มีแวคิวโอล มีนิวเคลียสใหญ่ และไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ พบมากตามปลายสุดของรากกิ่ง ตา
พิท (PIT)
• พิท (Pit) เป็นบริเวณของผนังเซลล์ที่บาง เนื่องจากมีการสะสมของโครงสร้างของผนังเซลล์น้อยกว่าบริเวณอื่น มีหลายประเภทได้แก่
1. พิทปฐมภูมิ (Primary pit) อยู่บนผนังเซลล์ชั้นแรก เป็นรอยบุ๋มกระจายอยู่ทั่วไป ถ้าตรงกับพิทของเซลล์ข้างเคียง จะเป็นบริเวณ
ที่เกิดพลาสโมเดสมาตา
2. พิทไม่มีขอบ (Simple pit) พบที่ผนังเซลล์ชั้นที่สอง เกิดจากการสร้างผนังเซลล์ชั้นที่สองแล้วเว้นส่วนที่เป็นพิทปฐมภูมิไว้ โดย
บริเวณขอบของพิทไม่นูนขึ้นมา ถ้าพิทที่ตรงกับพิทของเซลล์ข้างเคียงเรียกว่าพิทมีคู่ ถ้าไม่ตรงกันเรียกว่าพิทไม่มีคู่ พิทชนิดนี้พบมากในเส้น
ใย และสเคลอรีด
3. พิทมีขอบ (Bordered pit) พบที่ผนังเซลล์ชั้นที่สองเช่นกัน ตรงขอบที่ผนังเซลล์ชั้นที่สองนั้นมีส่วนที่ยื่นล้าส่วนที่เป็นช่องว่าง
จะเป็นพิทมีคู่หรือไม่มีคู่ก็ได้
PIT OF PLANT CELL
SIMPLE PIT
Bordered pit
• 2. PRIMARY MERISTEM (ไพรมารีเมอริสเต็ม)เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ซึ่งได้จากการแบ่งตัว และเริ่มมี
การเปลี่ยนแปลงไปจาก Promeristem แต่ยังไม่สมบูรณ์ พบในบริเวณที่ต่าจากยอดลงมา ในรากเป็นบริเวณที่เรียกว่า Zone of
cell enlargement เนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้ยังมีการแบ่งเซลล์ต่อไปอีกแล้วเซลล์ที่ได้ก็จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะต่าง ๆ กัน
กลายเป็นเนื้อเยื่อถาวรชนิด Primary permanent tissue การแบ่งตัวและเจริญเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทาให้ส่วนต่าง ๆ ของ
พืชมี (Primary growth ) ยืดยาวออกสูงขึ้นเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งขยายขนาดให้อ้วนขึ้นได้บ้าง รูปร่างของพืชที่เป็นรูปร่างขึ้น
ได้เนื่องจาก การแบ่งเซลล์ของ Primary meristem นี้เรียกว่า Primary body
• Primary meristem ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 บริเวณด้วยกันนับจากนอกสุดเข้าไปข้างใน
2.1 Protoderm ได้จากการแบ่งตัวและเจริญเติบโตมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัว เจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงต่อไป
เป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณที่เรียกว่า Epidermis ซึ่งอยู่ชั้นนอกสุดเซลล์เรียงตัวกันเพียงแถวเดียวเท่านั้น ทั้งนี้เพราะ
Protoderm มีการแบ่งตัวเพียงด้านเดียวสาหรับ epidermis นี้มีหน้าที่ป้องกันเยื่อที่อยู่ถัดเข้าไปข้างใน
• 2.2 Ground meristem ได้จากการแบ่งตัว และเจริญเติบโตมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัวเจริญเติบโต
เปลี่ยนแปลงต่อไป เป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณที่เรียกว่า Cortex ซึ่งอยู่ถัดจาก epidermis เข้าไปข้างใน และยังจะไปเป็น
Pith และ Pith ray (ในลาต้น) อีกด้วย
Cortex ทาหน้าที่เป็นแหล่งสะสมอาหาร และขณะที่ยังอ่อนอยู่ก็ทาหน้าที่ เป็นแหล่งสร้างอาหารและป้องกันด้วย ส่วน
Pith และ Pith ray ยังทาหน้าที่ลาเลียงน้าเกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างอีกด้วย
• 2.3 Procambium เป็น Primary meristem ที่แบ่งตัว และเจริญมาจาก
Promeristem แล้วจะแบ่งตัวเจริญเติบโต เปลี่ยนแปลงต่อไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณชั้นในสุดที่เรียกว่า
Vascular Tissue ทาหน้าที่เป็นท่อในการลาเลียงน้า เกลือแร่ และอาหารต่าง ๆ
• 3. Secondary meristem (เชกันดารี เมอริสเต็ม) เป็นเนื้อเยื่อเจริญ พบในราก และลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ และพวกจิมโน
สเปิร์ม (gymnosperm) เมื่อมันต้องการขยายขนาดให้อ้วนใหญ่ขึ้น โดยเนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้ มีการแบ่งตัวเจริญเติบโต
เปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรที่เรียกว่า Secondary permanent tissue
Secondary meristem ประกอบด้วย 2 ชนิด คือ Cambium และ Cork Cambium
3.1 Cambium ทาหน้าที่สร้างเนื้อเยื่อถาวรพวก Secondary vascular tissue
3.2 Cork cambium ส่วนใหญ่เกิดจากการแบ่งตัวของ Parenchyma cell เกิดขึ้นใน Cortex ของ
ลาต้นบริเวณใกล้ๆ กับ Epidermis มีหน้าที่ในการสร้าง Cork ขึ้นหุ้มต้น
SECONDARY
MERISTEM
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• เนื้อเยื่อเจริญของพืชมีลักษณะและโครงสร้างพิเศษอย่างไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
• เนื้อเยื่อพืชประเภทเนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวรมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้างด้าน
โครงสร้างและหน้าที่ พร้อมอธิบายประกอบ
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• เนื้อเยื่อเจริญของพืชสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ประเภท แต่ละประเภทมีความสาคัญอย่างไร
ต่อการเจริญเติบโตของพืช
• พิท (PITH) หมายถึงโครงสร้างอะไรของพืช แบ่งได้เป็นกี่ชนิดอะไรบ้าง
การทางานของระบบเนื้อเยื่อในพืช
เซลล์ที่ประกอบเป็นเนื้อเยื่อพวกนี้จะเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญเป็นเซลล์ที่มีรูปร่างเฉพาะ โดยปกติไม่
สามารถแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนได้
เนื้อเยื่อถาวร (PERMANENT TISSUE)
ชนิดของเนื้อเยื่อถาวร
1.เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue)
2.เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent
tissue)
เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue):
เป็นเนื้อเยื่อที่เกิดจากเซลล์ถาวรชนิดเดียวกันมาอยู่ร่วมกันและทาหน้าที่ร่วมกันมีหลายชนิด ได้แก่
• เอพิเดอร์มิส(Epidermis)
• พาเรงคิมา(Parenchyma)
• คอลเลงคิมา(Collenchyma)
สเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma)
• เอนโดเดอร์มิส(Endodermis)
• และ คอร์ก (Cork)
เอพิเดอร์มิส (Epidermis)
เป็นเนื้อเยื่อที่เกิดจากเซลล์เอพิเดอร์มิสหลายเซลล์มาอยู่รวมกัน ซึ่งมีลักษณะ
1. เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่รอบนอกสุด ของพืชที่เจริญในขั้นต้น (primary growth)
2. เซลล์เรียงแถวเดียวเบียดกันแน่นไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์
3. ผนังเซลล์บางด้านนอกมักหนากว่าด้านในเพราะมีสารคิวติน(Cutin)มาเคลือบ จนบางที่
เห็นเป็นอีกชั้นหนึ่ง เรียกชั้นที่เกิดจากการสะสมของสารคิวตินนี้ว่าชั้นคิวติเคิล(Cuticle)
** ลักษณะของสารคิวติน เป็นสารประเภทแว็ก มาเคลือบช่วยป้องกันการระเหยของน้า
4. เอพิเดอร์มิสบางเซลล์มีการเปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่พิเศษ เช่น
- เปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์คุม (Guard cell)
- เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก (Root hair)
- เปลียนแปลงไปเป็นเซลล์ขน (Trichome)
5.เอพิเดอร์มิสปกติจะไม่มีคลอโรพลาสต์ยกเว้นในเอพิเดอร์มิสที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์คุม
จะพบ คลอโรพลาสต์กระจายอยู่ทั่วเซลล์
6. เซลล์ที่โตเต็มที่เซลล์ยังมีชีวิต แต่เซลล์จะแตกสลายไปเมื่อพืชมีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2
เอพิเดอร์มิส (Epidermis)
บริเวณที่พบ : เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด พบทุกส่วนของลาต้น กิ่ง ราก ของพืชที่มีการเจริญเติบโตในขั้นต้น
(primary growth) นอกจากนี้ยังพบที่ชั้นนอกของกลีบดอก ใบ และผลอ่อน
หน้าที่ :
- ช่วยป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อที่อยู่ภายใน และเสริมความแข็งแรง
- ช่วยป้องกันการระเหยและการคายน้าเพราะถ้าพืชเสียน้าไปมากจะเหี่ยวและป้องกันไม่ให้น้าซึมเข้าไปข้างในด้วย
เพราะถ้าได้รับน้ามากเกินไปจะเน่า)
- ช่วยดูดซึมน้าและแร่ธาตุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางขนราก
เนื้อเยื่อพาเรงคิมา ( Parenchyma)
เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่เกิดจาก เซลล์พาเรงคิมาหลายเซลล์มาอยู่รวมกัน
ลักษณะ
1. เป็นเซลล์รูปร่างทรงกระบอกหลายเหลี่ยมค่อนค้างกลมหรือ รี เป็นผลให้เมื่ออยู่รวมกันจะเกิดช่องว่าง ช่องว่างที่เกิด
จากการเรียงตัวกันของเซลล์พาเรงคิมาเรียก แอเรงคิมา Aerenchyma หรือ intercellular space
2. เซลล์โตเต็มที่เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิต
เนื้อเยื่อพาเรงคิมา ( Parenchyma)
บริเวณที่พบ : พบอยู่ทั่วไปในพืช จัดเป็นเนื้อเยื่อพื้น (Ground tissue)
หน้าที่ : ทาหน้าที่เก็บสะสมน้าและอาหาร
- พาเรงคิมาที่มีคลอโรพลาสต์อยู่ในเซลล์ เรียก คลอเรงคิมา (Chlorenchyma) ซึ่งสามารถสังเคราะห์แสงได้
- ส่วนพาเรงคิมาที่ทาหน้าที่สะสมอาหารและน้าเช่นในรากลาต้น อาจมีเม็ดแป้ง โปรตีน หรือ ไขมันอยู่ เรียกพาเรงคิมา
ชนิดนี้ว่า รีเซิร์ฟว พาเรงคิมา (Reserved parenchyma)
- พาเรงคิมาบางชนิดทาหน้าที่เป็นต่อมสร้างสารบางอย่างเช่น สร้างน้ามันที่มีกลิ่นหอมหรืออื่นๆ
- บางส่วนช่วยในการหายใจ บางส่วนช่วยในการลาเลียงสาร
- สามารถแปรสภาพเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้เมื่อถูกกระตุ้นเช่น เมื่อเกิดบาดแผลจะทาการแบ่งเซลล์เพื่อสมานบาดแผล
เนื้อเยื่อคอลเลงคิมา (Collenchyma)
เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่เกิดจากเซลล์เซลล์คอลเรงคิมาหลายเซลล์มายู่รวมกัน
ลักษณะ
1. เซลล์มีรูปร่างหลายเหลี่ยมค่อนข้างยาว
2. ผนังเซลล์หนาไม่สม่าเสมอมักหนาตามมุมเซลล์ เพราะมี สารพวกเพคตินมาสะสม(Pectin)
3. เมื่อโตเต็มที่เซลล์ยังมีชีวิต
เนื้อเยื่อพาเรงคิมา ( Parenchyma)
บริเวณที่พบ พบมีอยู่มากทั้งในส่วนอ่อนและส่วนแก่ของพืช ของพื้นที่บริเวณใต้ชั้นเอพิเอเดอร์มิสลงมา พบที่ก้านใบ เส้น
กลางใบ และขอบนอกของลาต้นพวกไม้เนื้อ อ่อน ที่มีลักษณะเป็นเหลี่ยมหรือเป็นสันโค้งไปมาเช่น ลาต้นโหระพา กระเพรา
หรืออาจกระจายไปสม่าเสมอกันตามขอบในของลาต้นที่กลมเกลี้ยงของลาต้นผักขม
หน้าที่ ช่วยทาให้ส่วนต่างๆของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยู่ได้ และยังช่วยป้องกันแรงเสียดทานอีกด้วย
เนื้อเยื่อสเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma)
เป็นเซลล์ที่ให้ความแข็งแรงแก่ส่วนต่างๆของพืช มักจะกระจายอยู่เป็นกลุ่มๆ ผนังเซลล์หนาและแข็งแรง เพราะมีสารพวกลิกนิน
(lignin)ความหนาของ เซลล์สเกลอเรงคิมา ต่างกับ คอลเรงคิมา ที่ความหนาจะสม่าเสมอกันตลอด ที่เซลล์มีรูเล็กๆ เรียกพิท (pit
canal) เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วเซลล์จะตาย บริเวณกลางเวลล์ที่เคยมี ไซโทพลาซึมอยู่ จะกลายเป็นที่ว่างเพราะไซโทรพลาซึมแห้งไปเรียก
บริเวณกลางเซลล์ว่า ลูเมน (Lumen)
เนื้อเยื่อสเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma)
สเกลอเรงคิมาแบ่งออกเป็น 2 พวก ตามรูปร่าง คือ
1. ไฟเบอร์ (fiber) เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างหลายเหลี่ยมและยาว อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม พบในพืชที่ให้เส้นใยต่างๆ เช่น ป่ าน ปอ สับปะรด เป็น
ต้น นอกนั้นยังพบในกลุ่มของท่อน้า ท่ออาหาร
2. สเกลอรีด (Sclereid) เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างสั้นกว่าไฟเบอร์ พบกระจายอยู่ในชั้นเปลือกของลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ เปลือกผลไม้ที่แข็ง
เช่น กะลามะพร้าว เป็นต้น สเกอรีดมีรูปร่างไม่แน่นอน ผนังเซลล์หนา มีลูเมนและพิทเหมือนกับไฟเบอร์ แต่พิทแตกแขนงมากกว่า
เนื้อเยื่อคอร์ก (Cork)
เป็นเซลล์ที่พบด้านนอกสุดของลาต้น กิ่งหรือราก ที่มีการเจริญเติบโตในขั้นที่ 2 (Secondary growth) ซึ่ง
เป็นพืชที่มีอายุมากแล้วเปลือกนอกมีสีน้าตาล มีเซลล์ซ้อนกันหลายชั้น บางชนิดซ้อนกันหนามากจนนามาทาเป็นจุก
คอร์กได้ มีการสร้างสารซูเบอรินซึ่งเป็นสารที่มีสีน้าตาลมาเคลือบที่ผนัง ทาหน้าที่ป้องกันการระเหยน้าและเซลล์จะตาย
เมื่อโตเต็มที่
เนื้อเยื่อคอร์ก (Cork)
เนื้อเยื่อเอนโดเดอร์มิส (Endodermis)
เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านนอกของเนื้อเยื่อลาเลียงของราก เซลล์มีรูปร่างคล้ายเซลล์พาเรงคิมา ที่ผนังเซลล์มีสารลิกนิน และ ซูเบอริน
มาพอกหนาทั้งทางด้านรัศมีและด้านขวางมีลักษณะเป็นแถบ เรียกว่า
แถบแคสพาเรียนสตริพ (Casparianstrip) เซลล์เรียงตัวกันแน่นไม่มีช่องว่าง
เนื้อเยื่อเอนโดเดอร์มิส (Endodermis)
เนื้อเยื่อถาวรเซิงซ้อน (Complex permanent tissue)
เกิดจากเซลล์หลายชนิดมาอยู่รวมกันและทาหน้าที่เดียวกัน ได้แก่
เนื้อเยื่อลาเลียง (Vascular bundle) ประกอบด้วย
เนื้อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (Xylem) และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร (Phloem)
เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (Xylem)
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ทาหน้าที่หลักในการลาเลียงน้าคือ
1. เทรคีด (Tracheid) เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีรูปร่างยาวปลายค่อนข้างแหลมที่
ผนังเซลล์มีสารพวกลิกนิน ไม่พบในพืชมีดอก เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย
2. เวสเซล เมมเบอร์ (Vesel member) ซึ่งเป็นกลุ่มเซลล์ที่มีผนังหนา
และมีสารพวกลิกนิน เซลล์มีรูปร่างยาวหรือสั้นปลายเซลล์อาจเฉียงหรือตรงและมี
ช่องทะลุถึงกัน เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย เรียกเวสเซลเมมเบอร์หลายเซลล์มาเลียง
ต่อกันและมีช่องทะลุถึงกันว่าเวสเซล (Vessel)
3. ไซเล็มพาเรงคิมา (Xylem parenchyma) เป็นเซลล์พาเรงคิมา
ที่พบในเนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
4. ไซเล็มไฟเบอร์ (Xylem fiber) เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในในเนื้อเยื่อ
ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (Xylem)
เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร (Phloem)
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์พวก
1. ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) เป็นเซลล์รูปร่างทรงกระบอกยาว
ที่ปลายผนัง 2 ด้านจะมีรูพรุนเรียก
ซีฟเพลต(Seive plate) ซีฟทิวบ์เมมเบอร์หลายเซลล์มาเรียงต่อกันเรียกว่าซีฟทิวป์
(Sieve tube)
ซีฟทิวบ์เมมเบอร์เมื่อโตเต็มที่นิวเคลียสจะสลายไปเพื่อให้การลาเลียงอาหารมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
2.คอมพาเนียนเซลล์(Companion cell) เป็นเซลล์ที่อยู่ติดกับซีฟทิวป์ เมมเบอร์
โตเต็มที่มีชีวิตตลอดโดยทาหน้าที่สร้างสารที่จาเป็นส่งให้กับซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve
tube member) ซึ่งไม่มีนิวเคลียส
3. โฟลเอ็มพาเรงคิมา (Phloem parenchyma) เป็นเซลล์พาเรงคิมาที่พบอยู่
ในเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม
4. โฟลเอ็มไฟเบอร์ (Phloem fiber) เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม
เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร (Phloem)
เนื้อเยื่อลาเลียง (vascular tissue)
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• เนื้อเยื่อถาวรของพืชสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ประเภท แต่ละประเภทมีความสาคัญอย่างไร
ต่อการเจริญเติบโตของพืช
• เนื้อเยื่อถาวรของพืชมีลักษณะและโครงสร้างพิเศษอย่างไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• องค์ประกอบของโครงสร้างท่อลาเลียง phloem ในพืชมีอะไรบ้าง แต่ละส่วนมีการทางานที่
แตกต่างกันอย่างไร
• องค์ประกอบของโครงสร้างท่อลาเลียง XYLEM ในพืชมีอะไรบ้าง แต่ละส่วนมีการทางานที่
แตกต่างกันอย่างไร
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 

Viewers also liked

การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองnokbiology
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pageใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อnokbiology
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้นWichai Likitponrak
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากnokbiology
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

พืช
พืชพืช
พืช
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนอง
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pageใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 

Similar to 9.เนื้อเยื่อพืช

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังKang ZenEasy
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 

Similar to 9.เนื้อเยื่อพืช (20)

Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

9.เนื้อเยื่อพืช

Editor's Notes

  1. Plant Tissue