SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
สืบค้นข้อมูล อธิบายและสรุปขั้นตอนที่สาคัญของกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง
ทดลองและสรุปความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารสีชนิดต่างๆ
จุดประสงค์การเรียนรู้
เซลล์สาหร่ายหางกระรอก เซลล์เยื่อหอม
คาถาม : เราสามารถพบคลอโรพลาสต์ได้ที่ไหน และคลอโรพลาสต์มีหน้าที่อะไร
โครงสร้างภายในของใบ
 ภายในเซลล์พืชสีเขียวมีคลอโรพลาสต์
แหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
โครงสร้างของ CHLOROPLAST
Stroma lamella
 เยื่อหุ้มชั้นนอก (outer membrane): เรียบ ประกอบด้วย Phospholipid และ
Protein หน้าที่ควบคุมการผ่านของสารใน cytoplasm กับ Chloroplast
 เยื่อหุ้มชั้นใน (inner membrane): เยื่อหุ้มชั้นถัดเข้ามาจากเยื่อหุ้มชั้นนอก
 ไทลาคอยด์ (Thylakoid): เนื้อเยื่อส่วนที่พับเหมือนเป็นถุงที่มีลักษณะแบนซ้อนทับ
กันเป็นชั้น ภายในมีช่องที่เรียกว่า lumen ซึ่งมีของเหลวและรงควัตถุต่างๆ บรรจุ
อยู่
 กรานุม (Granum): ส่วนของไทลาคอยด์ที่มีลักษณะคล้ายเหรียญซ้อนทับกันเป็น
ชั้นๆ
 สโตรมา (Stroma): ของเหลวภายในคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วยเอนไซม์ต่างๆ ที่
จาเป็นสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 สโตรมาลาเมนลา (Stroma lamella): เนื้อเยื่อไทลาคอยด์ส่วนที่ไม่ได้ทับซ้อนกันซึ่ง
อยู่ระหว่างกรานุม
โครงสร้างของ CHLOROPLAST
มีคลอโรฟิลล์ และสารสีอื่นๆ ติด
อยู่
กลุ่มของสารสีระบบแสง I (P700)
และระบบแสง II (P680)
แกรนูล : รับพลังงานแสงทาให้
อิเล็กตรอนมีพลังงานสูงขึ้น เป็นที่
อยู่ของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการ
ถ่ายทอด e- ในปฏิกิริยาใช้แสง
ไทลาคอยด์ (THYLAKOID):
มีเอนไซม์ที่จาเป็นสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง
มี DNA RNA และไรโบโซมทาให้คลอโรพลาสต์จาลองตัวเอง และผลิต
โปรตีนที่เป็นเอนไซม์ที่ใช้การสังเคราะห์ด้วยแสง
สโตรมา (STROMA):
 ทดลองสกัดคลอโรฟิลล์และแคโทนอยด์จากใบพืชแล้วผ่านแสงแต่ละสีเข้าไป จากนั้น
วัดปริมาณแสงที่คลอโรฟิลล์ และแคโรทีนอยด์ดูดกลืนไว้
สารสีในปฏิกิริยาแสง
 คลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี และแคโรที
นอยด์ พบในใบพืชและสามารถดูดกลืน
แสงในช่วงความยาวคลื่นที่แตกต่างกัน
 คลอโรฟิลล์เอ ดูดกลืนแสงได้ 2 ช่วง คือ
ช่วงความยาวคลื่น 450 และ 680 nm แต่
ไม่ดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 500-
600 nm
 คลอโรฟิลล์บี และแคโรทีนอยด์ ดูดกลืน
แสงได้ในช่วงความยาวคลื่นที่แตกต่างกัน
การทดลองวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ช่วงความยาวคลื่น 500-600 nm สารสี 3 ชนิดไม่มีการดูดกลืน
แสง แต่พบว่ามีการสังเคราะห์ด้วยแสง แสดงให้เห็นว่าในพืชอาจ
มีสารสีชนิดอื่นที่สามารถดูดกลืนแสงและเกิดการสังเคราะห์ด้วย
แสงได้
เปรียบเทียบกราฟ
 อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นได้มากในช่วงที่สารสีชนิดต่างๆ ดูดกลืนแสงได้มาก
แสดงว่าการดูดกลืนแสงของสารสีชนิดต่างๆ น่าจะเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
สารสีที่พบในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ
 Chlorophyll
 Carotenoid
 Phycobilin
 Bacteriochlorophyll
สารสีในปฏิกิริยาแสง
 สารสีเขียว
 พบในพืช สาหร่าย และไซยาโนแบคทีเรีย
 ทาให้พืชสามารถนาพลังงานแสงมาใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์แสงได้
 ดูดกลืนแสงสีน้าเงินและแสงสีแดงได้ดี
 Chlorophyll a : สีเขียวแกมน้าเงิน พบในพืช และ
สาหร่ายทุกชนิด ดูดกลืนแสงสีม่วงและน้าเงินได้ดีที่สุด
รองลงมาคือสีแดง และดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยที่สุด
 Chlorophyll b : สีเขียวแกมเหลือง พบในพืช
สาหร่าย ยูกลีนา ดูดกลืนแสงสีน้าเงินได้ดีที่สุด รองลงมา
คือ แสงสีส้ม ดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยที่สุด พบอยู่
รวมกัน Chlorophyll a
 Chlorophyll c : มีสีเขียว พบในสาหร่ายสีน้าตาล ได
อะตอม
 Chlorophyll d : มีสีเขียว พบในสาหร่ายสีแดง และ
กรีนแบคทีเรีย
CHLOROPHYLL
 สารประกอบพวกไขมัน
 พบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่สังเคราะห์แสงได้
 ประกอบด้วย 2 ชนิด
 Carotene : สีแดง/สีส้ม พบในพืชและ
สาหร่ายทุกชนิด ถูกสังเคราะห์ต่อเป็นวิตามิน
A ในร่างกายสัตว์
 Xanthophyll : สารสีเหลือง/สีน้าตาล
พบในพืช และสาหร่ายทุกชนิด
CAROTENOID
 มีเฉพาะสาหร่ายสีแดงและไซยาโน
แบคทีเรีย
 Phycoerythrin : สีแดงแกมน้าตาล พบ
ในสาหร่ายสีแดง ดูดกลืนแสงสีเขียวได้มาก
ที่สุด
 Phycocyanin : สีเขียวแกมน้าเงิน พบใน
สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน ดูดกลืนแสงสีเขียว
และสีแดงได้มากที่สุด
PHYCOBILIN
 สารสีเขียว คล้ายคลอโรฟิลล์เอ มีแคโรทีนอยด์หุ้ม เห็นเป็นสีแดง สีม่วง หรือสีเหลือง
ส่วนใหญ่พบใน green bacteria
BACTERIOCHLOROPHYLL
สารสีในปฏิกิริยาแสง
 กลุ่มของสารสีที่ฝังตัวบนเยื่อไทลาคอยด์ในคลอโรพลาสต์ มีหน้าที่รับพลังงานแสง และส่ง
ต่อจนถึงคลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษที่ศูนย์กลางปฏิกิริยา
 กลุ่มสารสีที่รับและส่งพลังงานแสง เรียกว่า antenna
สารสีในปฏิกิริยาแสง
 สารสีมีโครงสร้างโมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบ
นิวเคลียส การเคลื่อนที่ของ e- มีหลายระดับพลังงาน และสามารถเปลี่ยนระดับ
พลังงานได้เมื่อได้รับพลังงานที่เหมาะสม
 e- ที่เคลื่อนที่อยู่ในระดับพลังงานปกติจะเป็น e- ที่อยู่ในสถานะพื้น (ground state)
 เมื่อโมเลกุลของสารสีดูดกลืนพลังงานแสง e- จะถูกกระตุ้นให้มีพลังงานสูงขึ้น จนเกิด
การเคลื่อนที่สู่ระดับพลังงานที่สูงขึ้นเรียก e- นี้ว่า e-ในสถานะถูกกระตุ้น (excited
state)
 e-ในสถานะถูกกระตุ้น ไม่คงตัว จึงปล่อยพลังงานออกเพื่อกลับสู่สภาวะปกติ
 พลังงานที่ปล่อยออกมาจะถ่ายทอดจากสารสีโมเลกุลหนึ่งไปสู่สารสีโมเลกุลอื่น และจะ
ถูกส่งต่อไปเรื่อยๆ จนเข้าสู่คลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษซึ่งเป็นศูนย์กลางของปฏิกิริยา
ซึ่งเมื่อได้รับพลังงานที่เหมาะสมจะทาให้ e- หลุดออกจากโมเลกุลและมีตัวรับ e- มารับ
แล้วถ่ายทอดพลังงานไปยังตัวรับ e- อื่นๆ อีกหลายตัวจนกระทั่งถึงตัวรับ e- ตัวสุดท้าย
สารสีในปฏิกิริยาแสง
 antenna และ ศูนย์กลางปฏิกิริยาฝังตัวอยู่ในกลุ่มของโปรตีนที่ thylakoid
membrane ซึ่งมีตัวรับ e- รวมอยู่ด้วย
 กลุ่มของโปรตีน สารสี ตัวรับ e- รวมเรียกว่า ระบบแสง (Photosystem ; PS)
 พืชชั้นสูงมีระบบแสง 2 ชนิด คือ ระบบแสง I และระบบแสง II
 ระบบแสง I : รับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น 700 nm เรียกว่า p700
 ระบบแสง II : รับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น 680 nm เรียกว่า P680
สารสีในปฏิกิริยาแสง
 ปัจจัยสาคัญในการสังเคราะห์ด้วย
แสง คือ แสง CO2 และ H2O
 พืชมี organelle ที่สาคัญใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงคือ
คลอโรพลาสต์ ซึ่งพบในทุกเซลล์
ของอวัยวะพืชที่มีสีเขียว
 แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยา
แสง (light reaction) เกิดที่เยื่อ
Thylakoid กับ การตรึง CO2
(carbondioxide fixation) เกิด
ที่ stroma
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 การทดลองของอาร์นอน ทาให้ทราบว่า พืชดูดกลืนพลังงานแสงไว้ในคลอโรพลาสต์
และเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมีในรูปของ ATP และ NADPH ที่พืชเอาไป
ใช้ต่อได้ เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาแสง (light reaction)
ปฏิกิริยาแสง (LIGHT REACTION)
 บน Thylakoid membrane มี ระบบแสง I ระบบแสง II และโปรตีนหลายชนิดทา
หน้าที่รับและถ่ายทอด e-
ปฏิกิริยาแสง (LIGHT REACTION)
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร (non-cyclic electron transfer)
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร (cyclic electron transfer)
ถ่ายทอดอิเล็กตรอน
 พืชได้รับพลังงานแสง ปฏิกิริยาเริ่มจาก antenna complex ถ่ายทอด e- ต่อให้กับ
reaction center ทั้งใน PSI และ PSII (เกิดพร้อมกัน)
 PSII เมื่อถูกกระตุ้นโดยพลังงานแสง และ e- ถูกถ่ายทอดไปแล้ว ส่งผลให้มีการดึง e- จาก
โมเลกุลน้า โดยปฏิกิริยาแยกโมเลกุลของน้าจากพลังงานแสง หรือ photolysis
 PSII ส่งต่อ e- ให้ตัวรับเช่น Plastoquinone (Pq), Cytochrome b6f (Cytochrome
complex), Plastocyanin (Pc) ในที่สุดก็จะส่งทอด e- ถึง PSI
 e- จะถูกลาเลียงต่อไปยัง Ferredoxin (Fd) ซึ่งจะให้ e- กับ NADP+ ซึ่งถือเป็นตัวรับ e-
ตัวสุดท้าย โดยการเร่งปฏิกิริยาของ เอนไซม์ Ferredoxin-NADP reductase (FNR)
 NADP+ จะได้รับ 2e- และ 1H+ ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์เป็น NADPH เกิดขึ้นใน stroma ของ
chloroplast
 การถ่ายทอด e- ทาให้มีการสะสมโปรตอน (H+) ใน lumen จึงมีการปลดปล่อย H+ จาก
lumen สู่ stroma เกิดการ pump H+ เรียกว่า Chemiosmotic gradient ซึ่งจะถูก
นาไปใช้สร้าง ATP โดยการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ ATP synthase
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
 Photophosphorylation : การสร้าง ATP จากการเติมหมู่ ฟอสเฟตให้กับ ADP
ควบคู่ไปกับการถ่ายทอด อิเล็กตรอน ซึ่งพลังงานแสงทาให้น้าแตกตัว ให้ O2, H+,
และ e- โดย e- ถูกส่งไปตามลูกโซ่ในคลอโรพลาสต์ ทาให้เกิดพลังงงาน
 PSII : ได้รับ e- ทดแทนมาจากน้า
 PSI : ได้รับ e- ทดแทนมาจาก PSII เนื่องจากสูญเสีย e- ไปให้ NADP+ ได้ผลิตภัณฑ์
เป็น NADPH
 ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการถ่ายทอด e- แบบไม่เป็นวัฏจักร : ATP, NADPH, และได้ O2
และ H+ จากการแตกตัวของน้า
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
 บางสภาวะ แสงกระตุ้นให้มีการถ่ายทอด e- ออกจาก reaction center และเคลื่อนย้าย
ไปยัง ตัวรับ e-
 Ferrydoxin ไม่สามารถส่ง e- ไปยัง NADP+ ได้ แต่กลับส่ง e- ให้กับ Cytochrome
b6f complex แทน ทาให้เกิดการเคลื่อนย้าย H+ เข้าสู่ lumen และในที่สุดก็จะส่งทอด
e- กลับมาที่ reaction center ของ PSI อีก วนเป็นวัฏจักร
 การสร้าง ATP เกิดจากความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ thylakoid membrane
 ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการถ่ายทอด e- แบบเป็นวัฏจักร คือ ATP
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
รายละเอียด แบบไม่เป็นวัฏจักร แบบเป็นวัฏจักร
ระบบที่เกี่ยวข้อง ทั้ง PS I และ PS II PS I เท่านั้น
ความยาวคลื่นแสงที่
เกี่ยวข้อง
ตั้ง 680 nm ขึ้นไป
(680,700 nm)
700 nm
จานวน ATP ต่อ e- 1 คู่ 2 ATP 2 ATP
Photolysis เกิด ไม่เกิด
O2 เกิด ไม่เกิด
NADPH+H+ เกิด ไม่เกิด
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ATP, NADPH, O2, H+ ATP
ตารางสรุปความแตกต่างของการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
 เกิดขึ้นหลังจากปฏิกิริยาแสง
 เพื่อนา CO2 จากสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการสร้าง
สารประกอบประเภทคาร์โบไฮเดรต
 อาศัยพลังงาน ATP และ NADPH ที่ได้จาก
ปฏิกิริยาแสง และเกิดขึ้นเป็นวัฏจักร
 ค้นพบโดย เมลวิน คัลวิน (Melvin Calvin)
และ แอนดรู เอ เบนสัน (Andrew A.
Benson)
 ตาแหน่งที่เกิด : Stroma ของ Chloroplast
 ประกอบด้วยปฏิกิริยา 3 ขั้นตอน คือ
(1) carboxylation (2) reduction
(3) regeneration
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 FIXATION)
 ปฏิกิริยาการตรึง CO2 : เริ่มจาก CO2 ทาปฏิกิริยากับ ribulose 1,5-bisphosphate
หรือ RuBP ซึ่งเป็นน้าตาลที่มี C 5 อะตอม โดยมีเอนไซม์ ribulose 1,5-
bisphosphate carboxylase oxygenase หรือ Rubisco เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
 ผลิตภัณฑ์เป็นสารที่คาร์บอน 6 อะตอม แต่เป็นสารที่ไม่เสถียรจะสลายตัวเป็น
phosphoglycerate หรือ PGA ที่มีคาร์บอน 3 อะตอม จานวน 2 โมเลกุล
 ถ้า CO2 3 โมเลกุล รวมตัวกับ RuBP 3 โมเลกุล ได้เป็น PGA 6 โมเลกุล
(1) CARBOXYLATION
 PGA จานวน 6 โมเลกุล จะถูกรีดิวซ์โดยรับหมู่
ฟอสเฟตจาก ATP กลายเป็น 1,3-
bisphosphoglycerate (1,3 BPG)
 จากนั้น 1,3-bisphosphoglycerate (1,3
BPG) ถูกรีดิวซ์โดยรับอิเล็กตรอนจาก NADPH
ได้เป็นน้าตาลที่มีคาร์บอน 3 อะตอมคือ
glyceraldehyde 3-phosphate หรือ G3P
หรือ phosphoglyceraldehyde หรือ PGAL
 หลังจากสิ้นสุดขั้นตอนนี้จะเกิด G3P/PGAL ขึ้น
6 โมเลกุล ซึ่งน้าตาลที่มี C 3 อะตอมนี้ถือเป็น
น้าตาลตัวแรกที่เกิดขึ้นในวัฏจักรคัลวิน
(2) REDUCTION
 เป็นขั้นตอนที่สร้าง RuBP ขึ้นมาใหม่ เพื่อ
กลับไปรับ CO2 เข้าสู่วัฏจักรคัลวินใหม่ โดย
G3P ที่เกิดขึ้น 5 โมเลกุล จะถูกนาไปสร้าง
RuBP ได้ 3 โมเลกุล ซึ่งจะต้องอาศัย ATP ที่ได้
จากปฏิกิยาแสง
 น้าตาล G3P ที่เหลือ 1 โมเลกุลจะถูกนาไป
สร้างเป็นน้าตาลกลูโคสและน้าตาลไดแซกคาร์
ไรด์ เช่น น้าตาลซูโครส เพื่อลาเลียงไปยังส่วน
ต่างๆของพืช หรือสะสมในรูปเม็ดแป้ง ใน
Chloroplast หรือนาไปสร้างสารประกอบ
อินทรีย์ เช่น กรดไขมัน กรดอะมิโน
(3) REGENERATION
CO2 FIXATION
 สรุป Calvin Cycle
จานวน 1 รอบ
 ใช้
 CO2 3 โมเลกุล
 RuBP 3 โมเลกุล
 ATP 9 โมเลกุล
 NADPH 6 โมเลกุล
 ได้
 ADP+Pi 9 โมเลกุล
 NADP+ 6 โมเลกุล
 G3P/PGAL 1 โมเลกุล
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 

What's hot (20)

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 

Viewers also liked

การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
8-2 photosynthesis an overview
8-2 photosynthesis an overview8-2 photosynthesis an overview
8-2 photosynthesis an overviewpetruccis
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (18)

การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
8-2 photosynthesis an overview
8-2 photosynthesis an overview8-2 photosynthesis an overview
8-2 photosynthesis an overview
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
10 photosynthesis
10 photosynthesis10 photosynthesis
10 photosynthesis
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 

Similar to กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)

การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointsupreechafkk
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการHyings
 

Similar to กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T) (20)

การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
 
Lr
LrLr
Lr
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)

  • 1. เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 3. เซลล์สาหร่ายหางกระรอก เซลล์เยื่อหอม คาถาม : เราสามารถพบคลอโรพลาสต์ได้ที่ไหน และคลอโรพลาสต์มีหน้าที่อะไร
  • 7.  เยื่อหุ้มชั้นนอก (outer membrane): เรียบ ประกอบด้วย Phospholipid และ Protein หน้าที่ควบคุมการผ่านของสารใน cytoplasm กับ Chloroplast  เยื่อหุ้มชั้นใน (inner membrane): เยื่อหุ้มชั้นถัดเข้ามาจากเยื่อหุ้มชั้นนอก  ไทลาคอยด์ (Thylakoid): เนื้อเยื่อส่วนที่พับเหมือนเป็นถุงที่มีลักษณะแบนซ้อนทับ กันเป็นชั้น ภายในมีช่องที่เรียกว่า lumen ซึ่งมีของเหลวและรงควัตถุต่างๆ บรรจุ อยู่  กรานุม (Granum): ส่วนของไทลาคอยด์ที่มีลักษณะคล้ายเหรียญซ้อนทับกันเป็น ชั้นๆ  สโตรมา (Stroma): ของเหลวภายในคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วยเอนไซม์ต่างๆ ที่ จาเป็นสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง  สโตรมาลาเมนลา (Stroma lamella): เนื้อเยื่อไทลาคอยด์ส่วนที่ไม่ได้ทับซ้อนกันซึ่ง อยู่ระหว่างกรานุม โครงสร้างของ CHLOROPLAST
  • 8. มีคลอโรฟิลล์ และสารสีอื่นๆ ติด อยู่ กลุ่มของสารสีระบบแสง I (P700) และระบบแสง II (P680) แกรนูล : รับพลังงานแสงทาให้ อิเล็กตรอนมีพลังงานสูงขึ้น เป็นที่ อยู่ของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการ ถ่ายทอด e- ในปฏิกิริยาใช้แสง ไทลาคอยด์ (THYLAKOID):
  • 9. มีเอนไซม์ที่จาเป็นสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง มี DNA RNA และไรโบโซมทาให้คลอโรพลาสต์จาลองตัวเอง และผลิต โปรตีนที่เป็นเอนไซม์ที่ใช้การสังเคราะห์ด้วยแสง สโตรมา (STROMA):
  • 10.  ทดลองสกัดคลอโรฟิลล์และแคโทนอยด์จากใบพืชแล้วผ่านแสงแต่ละสีเข้าไป จากนั้น วัดปริมาณแสงที่คลอโรฟิลล์ และแคโรทีนอยด์ดูดกลืนไว้ สารสีในปฏิกิริยาแสง  คลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี และแคโรที นอยด์ พบในใบพืชและสามารถดูดกลืน แสงในช่วงความยาวคลื่นที่แตกต่างกัน  คลอโรฟิลล์เอ ดูดกลืนแสงได้ 2 ช่วง คือ ช่วงความยาวคลื่น 450 และ 680 nm แต่ ไม่ดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 500- 600 nm  คลอโรฟิลล์บี และแคโรทีนอยด์ ดูดกลืน แสงได้ในช่วงความยาวคลื่นที่แตกต่างกัน
  • 11. การทดลองวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ช่วงความยาวคลื่น 500-600 nm สารสี 3 ชนิดไม่มีการดูดกลืน แสง แต่พบว่ามีการสังเคราะห์ด้วยแสง แสดงให้เห็นว่าในพืชอาจ มีสารสีชนิดอื่นที่สามารถดูดกลืนแสงและเกิดการสังเคราะห์ด้วย แสงได้
  • 14.  Chlorophyll  Carotenoid  Phycobilin  Bacteriochlorophyll สารสีในปฏิกิริยาแสง
  • 15.  สารสีเขียว  พบในพืช สาหร่าย และไซยาโนแบคทีเรีย  ทาให้พืชสามารถนาพลังงานแสงมาใช้ในกระบวนการ สังเคราะห์แสงได้  ดูดกลืนแสงสีน้าเงินและแสงสีแดงได้ดี  Chlorophyll a : สีเขียวแกมน้าเงิน พบในพืช และ สาหร่ายทุกชนิด ดูดกลืนแสงสีม่วงและน้าเงินได้ดีที่สุด รองลงมาคือสีแดง และดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยที่สุด  Chlorophyll b : สีเขียวแกมเหลือง พบในพืช สาหร่าย ยูกลีนา ดูดกลืนแสงสีน้าเงินได้ดีที่สุด รองลงมา คือ แสงสีส้ม ดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยที่สุด พบอยู่ รวมกัน Chlorophyll a  Chlorophyll c : มีสีเขียว พบในสาหร่ายสีน้าตาล ได อะตอม  Chlorophyll d : มีสีเขียว พบในสาหร่ายสีแดง และ กรีนแบคทีเรีย CHLOROPHYLL
  • 16.  สารประกอบพวกไขมัน  พบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่สังเคราะห์แสงได้  ประกอบด้วย 2 ชนิด  Carotene : สีแดง/สีส้ม พบในพืชและ สาหร่ายทุกชนิด ถูกสังเคราะห์ต่อเป็นวิตามิน A ในร่างกายสัตว์  Xanthophyll : สารสีเหลือง/สีน้าตาล พบในพืช และสาหร่ายทุกชนิด CAROTENOID
  • 17.  มีเฉพาะสาหร่ายสีแดงและไซยาโน แบคทีเรีย  Phycoerythrin : สีแดงแกมน้าตาล พบ ในสาหร่ายสีแดง ดูดกลืนแสงสีเขียวได้มาก ที่สุด  Phycocyanin : สีเขียวแกมน้าเงิน พบใน สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน ดูดกลืนแสงสีเขียว และสีแดงได้มากที่สุด PHYCOBILIN
  • 18.  สารสีเขียว คล้ายคลอโรฟิลล์เอ มีแคโรทีนอยด์หุ้ม เห็นเป็นสีแดง สีม่วง หรือสีเหลือง ส่วนใหญ่พบใน green bacteria BACTERIOCHLOROPHYLL
  • 19. สารสีในปฏิกิริยาแสง  กลุ่มของสารสีที่ฝังตัวบนเยื่อไทลาคอยด์ในคลอโรพลาสต์ มีหน้าที่รับพลังงานแสง และส่ง ต่อจนถึงคลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษที่ศูนย์กลางปฏิกิริยา  กลุ่มสารสีที่รับและส่งพลังงานแสง เรียกว่า antenna
  • 21.  สารสีมีโครงสร้างโมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบ นิวเคลียส การเคลื่อนที่ของ e- มีหลายระดับพลังงาน และสามารถเปลี่ยนระดับ พลังงานได้เมื่อได้รับพลังงานที่เหมาะสม  e- ที่เคลื่อนที่อยู่ในระดับพลังงานปกติจะเป็น e- ที่อยู่ในสถานะพื้น (ground state)  เมื่อโมเลกุลของสารสีดูดกลืนพลังงานแสง e- จะถูกกระตุ้นให้มีพลังงานสูงขึ้น จนเกิด การเคลื่อนที่สู่ระดับพลังงานที่สูงขึ้นเรียก e- นี้ว่า e-ในสถานะถูกกระตุ้น (excited state)  e-ในสถานะถูกกระตุ้น ไม่คงตัว จึงปล่อยพลังงานออกเพื่อกลับสู่สภาวะปกติ  พลังงานที่ปล่อยออกมาจะถ่ายทอดจากสารสีโมเลกุลหนึ่งไปสู่สารสีโมเลกุลอื่น และจะ ถูกส่งต่อไปเรื่อยๆ จนเข้าสู่คลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษซึ่งเป็นศูนย์กลางของปฏิกิริยา ซึ่งเมื่อได้รับพลังงานที่เหมาะสมจะทาให้ e- หลุดออกจากโมเลกุลและมีตัวรับ e- มารับ แล้วถ่ายทอดพลังงานไปยังตัวรับ e- อื่นๆ อีกหลายตัวจนกระทั่งถึงตัวรับ e- ตัวสุดท้าย สารสีในปฏิกิริยาแสง
  • 22.  antenna และ ศูนย์กลางปฏิกิริยาฝังตัวอยู่ในกลุ่มของโปรตีนที่ thylakoid membrane ซึ่งมีตัวรับ e- รวมอยู่ด้วย  กลุ่มของโปรตีน สารสี ตัวรับ e- รวมเรียกว่า ระบบแสง (Photosystem ; PS)  พืชชั้นสูงมีระบบแสง 2 ชนิด คือ ระบบแสง I และระบบแสง II  ระบบแสง I : รับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น 700 nm เรียกว่า p700  ระบบแสง II : รับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น 680 nm เรียกว่า P680 สารสีในปฏิกิริยาแสง
  • 23.  ปัจจัยสาคัญในการสังเคราะห์ด้วย แสง คือ แสง CO2 และ H2O  พืชมี organelle ที่สาคัญใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงคือ คลอโรพลาสต์ ซึ่งพบในทุกเซลล์ ของอวัยวะพืชที่มีสีเขียว  แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยา แสง (light reaction) เกิดที่เยื่อ Thylakoid กับ การตรึง CO2 (carbondioxide fixation) เกิด ที่ stroma กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
  • 24.  การทดลองของอาร์นอน ทาให้ทราบว่า พืชดูดกลืนพลังงานแสงไว้ในคลอโรพลาสต์ และเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมีในรูปของ ATP และ NADPH ที่พืชเอาไป ใช้ต่อได้ เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาแสง (light reaction) ปฏิกิริยาแสง (LIGHT REACTION)
  • 25.  บน Thylakoid membrane มี ระบบแสง I ระบบแสง II และโปรตีนหลายชนิดทา หน้าที่รับและถ่ายทอด e- ปฏิกิริยาแสง (LIGHT REACTION)
  • 26. การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร (non-cyclic electron transfer) การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร (cyclic electron transfer) ถ่ายทอดอิเล็กตรอน
  • 27.  พืชได้รับพลังงานแสง ปฏิกิริยาเริ่มจาก antenna complex ถ่ายทอด e- ต่อให้กับ reaction center ทั้งใน PSI และ PSII (เกิดพร้อมกัน)  PSII เมื่อถูกกระตุ้นโดยพลังงานแสง และ e- ถูกถ่ายทอดไปแล้ว ส่งผลให้มีการดึง e- จาก โมเลกุลน้า โดยปฏิกิริยาแยกโมเลกุลของน้าจากพลังงานแสง หรือ photolysis  PSII ส่งต่อ e- ให้ตัวรับเช่น Plastoquinone (Pq), Cytochrome b6f (Cytochrome complex), Plastocyanin (Pc) ในที่สุดก็จะส่งทอด e- ถึง PSI  e- จะถูกลาเลียงต่อไปยัง Ferredoxin (Fd) ซึ่งจะให้ e- กับ NADP+ ซึ่งถือเป็นตัวรับ e- ตัวสุดท้าย โดยการเร่งปฏิกิริยาของ เอนไซม์ Ferredoxin-NADP reductase (FNR)  NADP+ จะได้รับ 2e- และ 1H+ ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์เป็น NADPH เกิดขึ้นใน stroma ของ chloroplast  การถ่ายทอด e- ทาให้มีการสะสมโปรตอน (H+) ใน lumen จึงมีการปลดปล่อย H+ จาก lumen สู่ stroma เกิดการ pump H+ เรียกว่า Chemiosmotic gradient ซึ่งจะถูก นาไปใช้สร้าง ATP โดยการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ ATP synthase การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
  • 29.  Photophosphorylation : การสร้าง ATP จากการเติมหมู่ ฟอสเฟตให้กับ ADP ควบคู่ไปกับการถ่ายทอด อิเล็กตรอน ซึ่งพลังงานแสงทาให้น้าแตกตัว ให้ O2, H+, และ e- โดย e- ถูกส่งไปตามลูกโซ่ในคลอโรพลาสต์ ทาให้เกิดพลังงงาน  PSII : ได้รับ e- ทดแทนมาจากน้า  PSI : ได้รับ e- ทดแทนมาจาก PSII เนื่องจากสูญเสีย e- ไปให้ NADP+ ได้ผลิตภัณฑ์ เป็น NADPH  ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการถ่ายทอด e- แบบไม่เป็นวัฏจักร : ATP, NADPH, และได้ O2 และ H+ จากการแตกตัวของน้า การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
  • 30.  บางสภาวะ แสงกระตุ้นให้มีการถ่ายทอด e- ออกจาก reaction center และเคลื่อนย้าย ไปยัง ตัวรับ e-  Ferrydoxin ไม่สามารถส่ง e- ไปยัง NADP+ ได้ แต่กลับส่ง e- ให้กับ Cytochrome b6f complex แทน ทาให้เกิดการเคลื่อนย้าย H+ เข้าสู่ lumen และในที่สุดก็จะส่งทอด e- กลับมาที่ reaction center ของ PSI อีก วนเป็นวัฏจักร  การสร้าง ATP เกิดจากความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ thylakoid membrane  ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการถ่ายทอด e- แบบเป็นวัฏจักร คือ ATP การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
  • 33. รายละเอียด แบบไม่เป็นวัฏจักร แบบเป็นวัฏจักร ระบบที่เกี่ยวข้อง ทั้ง PS I และ PS II PS I เท่านั้น ความยาวคลื่นแสงที่ เกี่ยวข้อง ตั้ง 680 nm ขึ้นไป (680,700 nm) 700 nm จานวน ATP ต่อ e- 1 คู่ 2 ATP 2 ATP Photolysis เกิด ไม่เกิด O2 เกิด ไม่เกิด NADPH+H+ เกิด ไม่เกิด ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ATP, NADPH, O2, H+ ATP ตารางสรุปความแตกต่างของการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
  • 34.  เกิดขึ้นหลังจากปฏิกิริยาแสง  เพื่อนา CO2 จากสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการสร้าง สารประกอบประเภทคาร์โบไฮเดรต  อาศัยพลังงาน ATP และ NADPH ที่ได้จาก ปฏิกิริยาแสง และเกิดขึ้นเป็นวัฏจักร  ค้นพบโดย เมลวิน คัลวิน (Melvin Calvin) และ แอนดรู เอ เบนสัน (Andrew A. Benson)  ตาแหน่งที่เกิด : Stroma ของ Chloroplast  ประกอบด้วยปฏิกิริยา 3 ขั้นตอน คือ (1) carboxylation (2) reduction (3) regeneration การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 FIXATION)
  • 35.  ปฏิกิริยาการตรึง CO2 : เริ่มจาก CO2 ทาปฏิกิริยากับ ribulose 1,5-bisphosphate หรือ RuBP ซึ่งเป็นน้าตาลที่มี C 5 อะตอม โดยมีเอนไซม์ ribulose 1,5- bisphosphate carboxylase oxygenase หรือ Rubisco เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา  ผลิตภัณฑ์เป็นสารที่คาร์บอน 6 อะตอม แต่เป็นสารที่ไม่เสถียรจะสลายตัวเป็น phosphoglycerate หรือ PGA ที่มีคาร์บอน 3 อะตอม จานวน 2 โมเลกุล  ถ้า CO2 3 โมเลกุล รวมตัวกับ RuBP 3 โมเลกุล ได้เป็น PGA 6 โมเลกุล (1) CARBOXYLATION
  • 36.  PGA จานวน 6 โมเลกุล จะถูกรีดิวซ์โดยรับหมู่ ฟอสเฟตจาก ATP กลายเป็น 1,3- bisphosphoglycerate (1,3 BPG)  จากนั้น 1,3-bisphosphoglycerate (1,3 BPG) ถูกรีดิวซ์โดยรับอิเล็กตรอนจาก NADPH ได้เป็นน้าตาลที่มีคาร์บอน 3 อะตอมคือ glyceraldehyde 3-phosphate หรือ G3P หรือ phosphoglyceraldehyde หรือ PGAL  หลังจากสิ้นสุดขั้นตอนนี้จะเกิด G3P/PGAL ขึ้น 6 โมเลกุล ซึ่งน้าตาลที่มี C 3 อะตอมนี้ถือเป็น น้าตาลตัวแรกที่เกิดขึ้นในวัฏจักรคัลวิน (2) REDUCTION
  • 37.  เป็นขั้นตอนที่สร้าง RuBP ขึ้นมาใหม่ เพื่อ กลับไปรับ CO2 เข้าสู่วัฏจักรคัลวินใหม่ โดย G3P ที่เกิดขึ้น 5 โมเลกุล จะถูกนาไปสร้าง RuBP ได้ 3 โมเลกุล ซึ่งจะต้องอาศัย ATP ที่ได้ จากปฏิกิยาแสง  น้าตาล G3P ที่เหลือ 1 โมเลกุลจะถูกนาไป สร้างเป็นน้าตาลกลูโคสและน้าตาลไดแซกคาร์ ไรด์ เช่น น้าตาลซูโครส เพื่อลาเลียงไปยังส่วน ต่างๆของพืช หรือสะสมในรูปเม็ดแป้ง ใน Chloroplast หรือนาไปสร้างสารประกอบ อินทรีย์ เช่น กรดไขมัน กรดอะมิโน (3) REGENERATION
  • 38. CO2 FIXATION  สรุป Calvin Cycle จานวน 1 รอบ  ใช้  CO2 3 โมเลกุล  RuBP 3 โมเลกุล  ATP 9 โมเลกุล  NADPH 6 โมเลกุล  ได้  ADP+Pi 9 โมเลกุล  NADP+ 6 โมเลกุล  G3P/PGAL 1 โมเลกุล