SlideShare a Scribd company logo
1 of 117
Download to read offline
ปัจจุบัน
โปรคาริโอท
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
กาเนิดโลก
สิ่งมีชีวิตชนิดแรก กาเนิดขึ้นมาบนโลกประมาณ
3,900 ล้านปีมาแล้ว
ปัจจุบันพบว่า
มีสิ่งมีชีวิตมากมาย
หลายล้านชนิด
แต่ละชนิด
มีรูปร่างลักษณะ
แตกต่างกันไป
เมื่อมีการสะสมการเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่มากขึ้น นาไปสู่
การกาเนิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ หรือสปีชีส์ (Species) วงค์ (Family)
ตลอดจน อันดับ (Order) และ ไฟลัม (Phylum) ในที่สุด
วิวัฒนาการ (Evolution)
คือ การเปลี่ยนแปลง ลักษณะพันธุกรรมในประชากร ของ
สิ่งมีชีวิตที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง รูปร่าง ลักษณะ หรือ
หน้าที่การทางาน
ประวัติและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
• จากความเชื่อในอดีตที่เชื่อว่าสิ่งต่างๆบนโลก เกิดจากความประสงค์
ของพระเจ้า โดยที่เชื่อว่า โลกมีอายุประมาณ 6,000 ปี เท่านั้น
ความเชื่อนี้สืบทอดติดต่อกันมานาน
• คริสต์ศตวรรษที่ 18 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้ามาก
ขึ้น มีนักวิทยาศาสตร์แสดงความคิดเห็นแตกต่างกัน มีแนวความคิด
อีกมากมาย ก่อให้เกิดเป็น “ทฤษฎีวิวัฒนาการ”
ลามาร์ค (Lamarck, 1744-1829)
นาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการเป็นคนแรก
แต่ทฤษฎีถูกปฏิเสธ จากนักวิวัฒนาการ
เนื่องจากไม่สามารถพิสูจน์ได้
ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีของ ลามาร์ค ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ใหญ่ คือ
1) The Inheritance of acquired characteristics
2) Law of use and disuse
Lamarckism
“The theory of acquired characteristics”
ปัญหาของทฤษฎี ลามาร์ค
ไม่สามารถทดลองพิสูจน์ให้เห็นจริงได้
August Weismann
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน
ทาการทดลองตัดหางหนูประมาณ
20 ชั่วรุ่น ปรากฏว่าหนูที่เกิดใหม่ยังคง
มีหางตามปกติ คัดค้านหลักเกณฑ์ของ
ทฤษฏีนี้ การศึกษาต่อมาพบว่า
การถ่ายทอดลักษณะจะผ่านทาง
เซลล์สืบพันธุ์
ชาร์ล ดาวิน : Charles R. Darwin 1809-1882
นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ
คือ บิดาของการศึกษาวิวัฒนาการ
ผู้ตั้ง ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Darwinism)
กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection)
แนวความคิดที่นาไปสู่การนาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน
1) การเดินทางรอบโลกไปกับเรือ HMS Beagle : 1831-1836
หมู่เกาะกาลาปากอส
หมู่เกาะกาเนิดจากภูเขาไฟ
ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร
ห่างจากประเทศเอกวาดอร์
ประมาณ 600 ไมล์ มีกระแส
น้าอุ่นและน้าเย็นไหลผ่าน
พืชบนเกาะเป็นชนิดทนแล้ง
สัตว์ที่พบมีลักษณะแตกต่างไปจากที่อื่น
Darwin’s Evidence for Evolution
2) ไลเอลล์ (Charles Lyell, 1797-1875)
โดยเชื่อว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นอย่างไร ในอดีตจะเป็นอย่างนั้น
นักธรณีวิทยา ชาวอังกฤษ เขียนหนังสือทางธรณีวิทยา
“The Principle of Geology”
เป็นผู้ที่ สนับสนุนทฤษฎี
The Principle of Uniformitarianism
“Present is the Key to the Past”
แนวความคิดที่นาไปสู่การนาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน
3) มัลทัส (Thomas Malthus) : 1766-1834
มีใจความตอนหนึ่งที่กล่าวว่า
“อัตราการเพิ่มของประชากรเป็นแบบทวีคูณ
ในขณะที่อัตราการเพิ่มของอาหาร เป็นแบบผลบวก
เลขคณิต” อัตราส่วนในการเพิ่ม จึงไม่สัมพันธ์กัน
ดาร์วิน นาหลักเกณฑ์นี้ อธิบาย “ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ”
นักประชากรศาสตร์ เขียนหนังสือ
เรื่อง “The Principle of Population”
แนวความคิดที่นาไปสู่การนาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน
สิ่งมีชีวิตบนโลกนี้เป็นรุ่นลูกหลานที่มีลักษณะ
แตกต่างจากบรรพบุรุษในอดีต เกิดจากการสะสม
ลักษณะที่แตกต่างไปจากบรรพบุรุษ
ซึ่งลักษณะที่เหมาะสมเท่านั้นจะถูกคัดเลือกไว้
ถือเป็นการปรับตัวเชิงวิวัฒนาการ
(evolutionary adaptation)
ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ
(theory of natural selection)
วอลเลส (Alfred R. Wallace) : 1823-1913
ได้เสนอแนวคิดเช่นเดียวกับดาร์วิน
“วิวัฒนาการเกิดจากกระบวนการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ”
หมู่เกาะ
มาเลย์อาชิเพลาโก
(Malay archipelago)
ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติของดาร์วิน
1. ความสามารถในการสืบพันธุ์สูง
2. จานวนประชากรแต่ละรุ่นค่อนข้างคงที่
3. สิ่งแวดล้อมมีปัจจัยจากัด
4. ประชากรแต่ละตัวมีลักษณะที่แปรผันแตกต่าง
5. ความแปรผันที่เกิดขึ้นสามารถถ่ายทอดได้
สิ่งมีชีวิตมีการต่อสู้ดิ้นรน
เพื่อการอยู่รอด
การอยู่รอดมาจากลักษณะ
ทางพันธุกรรมที่แตกต่าง
ไม่ใช่การสุ่ม
ความสามารถในการให้
กาเนิดลูกหลานแตกต่างกัน
ปัญหาของทฤษฎีดาร์วิน
หลักเกณฑ์ทฤษฏีวิวัฒนาการของดาร์วินได้รับการยอมรับ และ
กระตุ้นให้นักวิทยาศาสตร์สนใจศึกษาวิวัฒนาการเพิ่มมากขึ้น ปัญหาที่พบ
* รับแนวความคิดของลามาร์คในเรื่องอิทธิพลของสภาพแวดล้อม
* ไม่สามารถอธิบายขั้นตอนการแปรผันลักษณะที่เกิดขึ้น
* ไม่สามารถอธิบายได้ว่า การแปรผันลักษณะที่เกิดขึ้นสามารถคงอยู่
ในสภาพแวดล้อมได้อย่างไร
ต่อมา เมนเดล ได้ค้นพบการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม โดยทาการ
ทดลองผสมต้นถั่ว ผลการทดลองมีการแปรผันของลักษณะในสิ่งมีชีวิต
เมนเดล ได้ชื่อว่า
บิดาแห่งพันธุศาสตร์
ดาร์วิน ได้ชื่อว่า
บิดาแห่งวิวัฒนาการ
อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีวิวัฒนาการ
มีการเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุผลและกาลเวลา
ทฤษฎีวิวัฒนาการปัจจุบัน (Modern synthesis)
นับตั้งแต่ในปี 1935 มีการนาความรู้ใหม่ๆ ในสาขาวิชาพันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์ประชากร ชีวโมเลกุล และ วิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ เช่น
บรรพชีวินวิทยา(palaeontology), อนุกรมวิธาน(taxonomy),
ชีวภูมิศาสตร์(biogeography), ชีววิทยาระดับโมเลกุล(molecular
biology)
ทฤษฎีวิวัฒนาการปัจจุบัน เรียกว่า
Neo-Darwinism
หรือ
Synthetic Theory of evolution
Modern synthesis
• กล่าวถึงประชากรสิ่งมีชีวิต ที่ประกอบด้วย Genetic variation
ซึ่งเกิดขึ้นโดย mutation กับ recombination จากนั้นประชากรมี
วิวัฒนาการ โดยผลการเปลี่ยนแปลงของ gene frequencies ที่มาจาก
สาเหตุ คือ Genetic drift, Gene flow และ Natural Selection
• ผลของการเปลี่ยนแปลงของลักษณะภายนอก (phenotypes)
เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
1) Random genetic drift เป็นปัจจัยสาคัญเท่ากับการคัดเลือกตาม
ธรรมชาติ (Natural Selection)
2) Variation within a population เกิดจากผลของ Multiple
alleles of a gene
3) Speciation เกิดจากการสะสมของการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่
เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปทีละน้อย (Gradual accumulation)
(Macroevolution is simply a lot of Microevolution)
หลักของ Modern synthesis หรือ Synthesis Theory
การศึกษาในปัจจุบันพบว่า หลักเกณฑ์ข้อที่ 3 ยังมีข้อโต้แย้งจากการค้นพบ
ฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตที่พบในห้วงเวลาหนึ่งจะมีลักษณะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
แต่จากนั้นต่อมามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วฉับพลันกลายเป็น
สิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ Model ที่กล่าวนี้ คือ Punctuated equilibrium
Modern synthesis
Punctuated equilibrium
คือ ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงที่นาไปสู่การกาเนิดของสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
ที่ได้จากหลักฐานการค้นพบฟอลซิล ของสิ่งมีชีวิต ต่างสีปีชีส์กันใน
สายวิวัฒนาการหนึ่งๆ พบว่าห้วงเวลา 50,000-100,000 ปี สปีชีส์
แต่ละสปีชีส์ มีลักษณะคงที่ มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก ต่อจากนั้น
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในเวลาอันสั้น กลายเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
ต่างจาก Darwinism
การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป (Gradualism)
เปรียบเทียบทฤษฎีวิวัฒนาการ
Lamarckism
1) The inheritance
of acquired
characteristic
2) Law of
use and disuse
Darwinism
1) Variation
2) Natural
Selection
Synthesis theory
1) Random genetic drift
2) Population genetic
3) Punctuated
equilibrium
ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีวิวัฒนาการในปัจจุบัน
1. การแปรผันของลักษณะพันธุกรรม (Genetic variation)
2. การคัดเลือกทางธรรมชาติ (Natural Selection)
3. เวลา (Time)
1) การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
สิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แบ่งเป็น 2 ประการหลัก
1. การควบคุมลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตให้คงเดิม
2. การทาให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกต่างแปรผันเปลี่ยนแปลงไป
2) การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(Natural Selection)
สภาพแวดล้อมแต่ละแห่งมีความ
แตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตมีลักษณะ
หลายแบบ ดังนั้น
“ลักษณะใดเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อม ลักษณะนั้นก็จะ
ถูกคัดเก็บไว้”
3. เวลา (Time)
การเปลี่ยนแปลงของลักษณะที่เกิดขึ้นต้องอาศัยเวลาในการสะสม
ปริมาณการเปลี่ยนแปลงที่อาจนาไปสู่การเกิดลักษณะใหม่ๆ และ
อาจทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ได้ในที่สุด
การเกิดวิวัฒนาการอย่างรวดเร็วในผีเสื้อกลางคืน (Biston betularia)
Indrustrial melanism เมลานิซึมของผีเสื้อกลางคืนในประเทศอังกฤษ
ซึ่งมีนกเป็นผู้ล่า
ตัวอย่าง วิวัฒนาการในธรรมชาติ
การศึกษาในปี 1848
พบว่า ประชากรในขณะนั้น
ประกอบด้วย ผีเสื้อปีกสีเทา 98 %
ผีเสื้อปีกสีดา 2 %
ต่อมาปี 1898 เมืองเบอร์มิงแฮม
พัฒนาเป็นเมืองอุตสาหกรรม
เกิดมลพิษต้นไม้ถูกควันดารมไลเคนตาย
การศึกษา พบผีเสื้อ ปีกสีเทาเพียง 1 % พบปีกสีดา 99 %
มีมลพิษ1898
1848 ไม่มีมลพิษ
ปัจจัยที่มีผลต่อ วิวัฒนาการของผีเสื้อกลางคืน
1. การแปรผันทางพันธุกรรม ได้แก่ ลักษณะปีกสีเทา และ ปีกสีดา
2. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ที่เกิดจากผลของการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อม
3. เวลา (Time) สะสมปริมาณการเปลี่ยนแปลง
สรุปปัจจัยที่เกี่ยวข้องวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
1) การแปรผันทางพันธุกรรม
ทาให้เกิดความหลากหลาย
2) สภาพแวดล้อม
ทาหน้าที่กาหนดลักษณะที่เหมาะสม
3) เวลา
สะสมปริมาณจนทาให้เกิดความแตกต่าง
มาประมวลเป็นหลักเกณฑ์และทฤษฎี
เพื่อใช้อธิบายและสนับสนุนวิวัฒนาการ
ให้เข้าใจได้ถูกต้องมากขึ้น
ในการศึกษา จึงต้องนาหลักฐานต่างๆ
และ วิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ
หลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการ
1. การศึกษา ทางธรณีวิทยา (ฟอสซิล)
2. การศึกษา ชีวภูมิศาสตร์
3. การศึกษา ทางกายวิภาคเปรียบเทียบ
4. การศึกษา ทางตัวอ่อน
5. การศึกษา ทางสรีรวิทยาและชีวเคมี
6. การศึกษา ทางพันธุศาสตร์
1. การศึกษาฟอสซิล (Fossils) หรือ ซากดึกดาบรรพ์
การศึกษาโดยวิธีการทางธรณีวิทยา สามารถนาซากที่กลาย
เป็นหิน (ฟอสซิล) มาตรวจสอบอายุได้
ฟอสซิล (Fossils) คือซากของสิ่งมีชีวิตที่ถูกทับถมจนกลายเป็นหิน
ตัวอย่าง fossil ใบไม้ อายุ 40 ล้านปี
ฟอสซิล Ichthyosaurs (สัตว์เลื้อยคลานโบราณ)
มีลักษณะคล้ายปลาโลมา ค้นพบโดยนักโบราณคดี
อายุประมาณ 200 ล้านปี มีลักษณะสมบูรณ์
ซึ่งสูญพันธุ์ ไปในเวลาเดียวกับที่ปลาฉลามถือกาเนิดขึ้น
ฟอสซิลนกโบราณ (Archaeopteryx)
อายุ 140 ล้านปี มีลักษณะกึ่งกลางระหว่าง
สัตว์เลื้อยคลาน และ นกมีฟัน ขาหน้า และขาหลัง
คล้ายบรรพบุรุษของสัตว์เลื้อยคลาน และมีลักษณะอื่น
เช่น ขนนก ที่คล้ายกับ นกปัจจุบัน
Transitional fossil เชื่อมโยง อดีต กับ ปัจจุบัน
จากการศึกษาทางธรณีวิทยา พบฟอสซิลที่อยู่ในหินชั้น
หรือหินตะกอน (sedimentary rock) ที่มีการทับถมมาจาก
ด้านบน ด้วยเหตุนี้นักธรณีวิทยาเชื่อว่าฟอสซิลที่อยู่ชั้นล่างมีอายุ
มากกว่าฟอสซิลที่อยู่ชั้นบน
สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติที่เกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบันมีมากมาย
หลายล้านชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้วมีเป็นจานวนมาก และยังทาให้
ทราบว่าสปีชีส์ไม่มีความคงที่ หากแต่ว่า มีการเปลี่ยนแปลงหรือมี
การเกิดวิวัฒนาการไปตามกาลเวลา
2. การศึกษาชีวภูมิศาสตร์ (Biogeography)
เป็นการศึกษาการกระจายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในสภาพ
ภูมิศาสตร์ต่างๆ
วอลเลส. (Alfred R. Wallace) :
ศึกษาการกระจายของสิ่งมีชีวิต มีการค้นพบ
สัตว์ประจาถิ่น (Endemic species)
ที่จะไม่พบที่ไหนอีก
แบ่งสภาพภูมิศาสตร์ ออกเป็น 6 อาณาเขต
1 2
3
4
5
6
1 2
3 4
5
6
สัตว์ประจาถิ่นในสภาพภูมิศาสตร์ต่าง ๆ
หมีขาว (Polar bear) พบที่บริเวณขั้วโลกเหนือ เท่านั้น
ขณะที่นก penguins บางชนิดพบที่บริเวณขั้วโลกใต้
หลักฐานสาคัญในการสนับสนุนสมมุติฐานการกระจายของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ
การศึกษาเรื่องราวของฟอสซิล
(Fossil record) และ
การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
(Continental drift)
1) การค้นพบ ฟอสซิลของสัตว์เลื้อยคลาน (reptiles) และ เฟิร์น ในบริเวณต่างๆ
หลักฐานสนับสนุน การเคลื่อนตัวของเปลือกโลกและการกระจายพันธุ์
(Continental drift and Biogeography)
Lystrosaurus
ไดโนเสาร์ ขนาดเล็ก
Glossopteris
เฟิร์น
Mesosaurus
ไดโนเสาร์ ที่หากินในบึงน้า
Cyanognathus
ไดโนเสาร์
การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก (continental drift)
Pangaea200-250
ล้านปี
180 ล้านปี
Laurasia
Gondwanaland
ปัจจุบัน
ทวีปต่างๆ
3.Comparative Anatomy
(หลักฐานทางกายวิภาคเปรียบเทียบ)
เป็นการศึกษาเปรียบเทียบจุดกาเนิด หน้าที่ และการทางาน ของ
โครงสร้างต่าง ๆ ในตัวเต็มวัย แบ่งออกเป็น
1. Homologous structure
2. Analogous structure
1. Homologous structure
โครงสร้างมาจาก จุดกาเนิด
เดียวกันแต่ทาหน้าที่ต่างกัน
วิวัฒนาการของโครงสร้างนี้
เรียกว่า Homology แสดง
ว่าสิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้มี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันใน
เชิงวิวัฒนาการ
(มีบรรพบุรุษร่วมกัน)
2. Analogous structure
โครงสร้างของสิ่งมีชีวิต ที่มาจากจุดกาเนิดต่างกัน แต่ทาหน้าที่เหมือนกัน
เรียกวิวัฒนาการของโครงสร้าง นี้ว่า Analogy สิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้ ไม่มี
ความสัมพันธ์กันทางบรรพบุรุษ ตัวอย่างเช่น ปีกนก ปีกแมลง
4. Comparative Embryology
การศึกษาการเจริญของเอมบริโอในสิ่งมีชีวิต พบว่า สิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์
กันในสายวิวัฒนาการมีแบบแผนการเจริญของเอมบริโอระยะแรกคล้ายคลึงกัน
ตัวอย่างเช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ ปลา สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
สัตว์เลื้อยคลาน ไก่ วัว คน การเจริญของเอมบริโอระยะแรกมีลักษณะ
เหมือนกัน ต่อจากนั้นจะมีทิศทางในการเจริญที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว
5. การศึกษาทางสรีรวิทยาและชีวโมเลกุล
โครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตที่ควบคุม
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
คือ DNA หรือ Genes ซึ่งจะทา
หน้าที่ เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์
โปรตีน (protein) โปรตีนเกิดจาก
กรดอมิโนหลายตัวมาต่อกัน มี
ความสาคัญต่อกระบวนการทางานใน
ร่างกาย
ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน หรือในสมาชิกที่เป็นกลุ่มพี่น้องจะมีความเหมือนกัน
ของลาดับเบสบนสาย DNA และ protein มากกว่าสมาชิกกลุ่มอื่นๆ
การศึกษาพบว่า สิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดในเชิงวิวัฒนาการ
มีความเหมือนกันของ DNA มากกว่าสิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นๆ
6. การศึกษาทางพันธุศาสตร์
สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการเปลี่ยนแปลงลักษณะของประชากร
สิ่งมีชีวิตได้ เช่น การคัดเลือกพันธุ์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช และ
สัตว์
ที่มนุษย์เป็นผู้กระทา เรียกการคัดเลือกแบบนี้ว่า
Artificial selection
ตัวอย่างเช่น
การคัดเลือกและการปรับปรุงพันธุ์พืช
กระหล่าชนิดต่างๆ
มาจากส่วนต่างๆของ ต้นมัสตาดป่า
การคัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
การคัดเลือกโดยวิธีตัดต่อยีน (Genetic engineering)
GMOs (Genetically Modified Organisms)
คือสิ่งมีชีวิตที่ได้มาจากการคัดเลือกและการปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีตัดต่อยีน
พันธุศาสตร์ประชากร (population genetics)
ประชากรในเชิงวิวัฒนาการ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์ระหว่าง
กันได้และให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน
gene pool หมายถึง ยีนทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง
ประกอบด้วยแอลลีลทุกแอลลีลจากทุก ๆ ยีนของสมาชิกทุกตัวในประชากร
gene frequency
allele frequency
genotype frequency
ภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก (Hardy – Weinberg Equilibrium : HWE)
ยีนพูลของประชากรในรุ่นลูกมีความถี่ของจีโนไทป์และความถี่ของแอลลีลเหมือน
ประชากรในรุ่นพ่อแม่
Hardy - Weinberg Law
ความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ในยีนพูลของประชากรจะมี
ค่าคงที่ในทุก ๆ รุ่น โดยที่ไม่มีปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้เข้ามาเกี่ยวข้อง ได้แก่
Mutation, natural selection, การเลือกคู่ผสมพันธุ์,
การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน (gene flow), การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่
เจาะจง (random genetic drift)
กลุ่มประชากรขนาดใหญ่ ไม่มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่ม
ไม่เกิดมิวเทชัน ทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์เท่ากัน ไม่มีการคัดเลือกตามธรรมชาติ
Sample
ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
1. การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง
ผลกระทบจากผู้ก่อตั้ง (founder effect)
ปรากฏการณ์คอขวด (bottleneck effect)
2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน (gene flow)
3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์ (non-random mating)
4. มิวเทชัน (mutation)
5.การคัดเลือกตามธรรมชาติ (natural selection)
กาเนิดของสปีชีส์
สปีชส์ทางด้านสัณฐานวิทยา หมายถึง
สิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างภายนอกเหมือนกัน
หรือการทางานของโครงสร้างนั้นคล้ายกัน
สปีชีส์ทางด้านชีววิทยา หมายถึง
สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กันได้ใน
ธรรมชาติ และให้กาเนิดลูกที่ไม่เป็นหมัน
1. กลไกการแยกทางการสืบพันธุ์ก่อนระยะไซโกต
1.1 ถิ่นที่อยู่อาศัย
1.2 พฤติกรรมการผสมพันธุ์
1.3 ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์
1.4 โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์
1.5 สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์
2. กลไกการแยกกันทางการสืบพันธุ์หลังระยะไซโกต
2.1 ลูกผสมตายก่อนถึงวัยเจริญพันธุ์
เช่น กบ (Rana spp.)
2.2 ลูกผสมเป็นหมัน
เช่น ล่อ (ม้าผสมกับลา)
การเกิดสปีชีส์ใหม่
1. การเกิดสปีชีส์ใหม่จากการแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์
2. การเกิดสปีชีส์ใหม่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน
วิวัฒนาการของมนุษย์
มนุษย์เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
มีชื่อวิทยาศาสตร์ Homo sapien sapien
มีการดารงชีวิตมาประมาณ
3 หมื่น-1 แสนปี
มาแล้ว
นักมนุษยวิทยาส่วนใหญ่
ลงความเห็นว่า มนุษย์
และ ลิงไร้หาง (ape) มี
บรรพบุรุษร่วมกัน
ข้อแตกต่าง ระหว่าง มนุษย์และลิง
1. การเดิน ลิงเดิน 4 ขา ส่วน
มนุษย์เดิน 2 ขา ลาตัวตั้งตรง
2. กระดูกเชิงกราน มนุษย์มีชิ้นถัดไป
เรียงตัวในแนวตั้ง กระดูกเชิงกรานลิงมี
ลักษณะลาดเอียงดึงโน้มให้กระดูกคอ
และกระโหลกศรีษะเรียงตัวใน
แนวนอน
3. ปริมาตรของสมอง มนุษย์มีมากขึ้น
4. ส่วนของหน้าและขากรรไกร มนุษย์ลดขนาดลง
เปรียบเทียบขนาดของสมอง ระหว่าง
ชิมแพนซี มนุษย์โบราณ มนุษย์ปัจจุบัน
ขากรรไกรมนุษย์
ลดขนาดลง
5. ลักษณะมือ มนุษย์และลิงคล้ายกัน แต่การใช้งานต่างกัน เนื่องจาก
ขนาดของนิ้วหัวแม่มือยาวไม่เท่ากัน โดยนิ้วหัวแม่มือของลิงชิมแพนซีสั้นกว่า
ฐานข้อที่ 1 ของนิ้วชี้ ส่วนนิ้วหัวแม่มือของมนุษย์ยาวเกือบกึ่งกลางของข้อที่ 2
สายวิวัฒนาการของมนุษย์
Australopithecines sp. (มนุษย์วานร)
บรรพบุรุษของมนุษย์ชนิดนี้ปรากฏขึ้นครั้งแรก สมัยไมโอซีน พบว่า
มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ African ape และ เชื่อว่าวิวัฒนาการมาจาก
บรรพบุรุษเดียวกันเมื่อประมาณ 4-8 ล้านปีมาแล้ว
มีการค้นพบฟอสซิล Australopithecines 4 สปีชีส์ คือ
Australopithecus afarensis,
A. africanus , A. robustus , A. bosei
Australopithecus afarensis
ลักษณะสาคัญ มีขนาดใหญ่กว่าชิมแพนซีเล็กน้อย
ช่วงแขนยาวกว่าช่วงขา
สูง 1-1.5 เมตร (3-5 ฟุต)
น้าหนักตัว 25-50 กิโลกรัม
สมองมีขนาดเล็กประมาณ 380-450 ลบ.ซม.
มีการค้นพบฟอสซิลของ A. afarensis
ในแอฟริกา มีลักษณะเป็นผู้หญิงเดินตัวตรง
ตั้งชื่อว่า“Lucy”
Australopithecus africanus
นักมนุษย์วิทยาเชื่อว่า A. africanus
วิวัฒนาการมาจาก A. afarensis
ขนาดสมองอยู่ระหว่าง 494-600 ลบ.ซม.
มีความสูงประมาณ 1.4 เมตร
ส่วนหน้ามีลักษณะแบน
ฟันหน้า (incisor) มีขนาดเล็ก
พบฟอสซิลของ A. africanus ในประเทศ
แทนซาเนียและเอธิโอเปีย มีอายุประมาณ 3 ล้านปี
Australopithecus robustus
มีการดารงชีวิตเมื่อประมาณ 2.3-1.3 ล้านปีมาแล้ว
มีลักษณะแตกต่างไปจาก 2 สปีชีส์แรก
คือ สมองมีขนาดประมาณ 500-600 ลบ.ซม.
มีความสูงประมาณ 1.5 เมตร
น้าหนักตัวประมาณ 45 กิโลกรัม
มีหลักฐานพบว่า A. robustus
มีการวิวัฒนาการแตกสายออกไป แล้วสูญพันธุ์
Australopithecus boisei
นักมนุษย์วิทยามีหลักฐาน พบว่า มนุษย์วานรสปีชีส์นี้
วิวัฒนาการแตกสายแยกออกมาจาก A. afarensis
สมองมีลักษณะคล้าย A. robustus
มีกรามขนาดใหญ่ และมีความกว้างของฟันมากกว่า
มีการดารงชีวิตอยู่ทางตะวันออกของทวีปอัฟริกา
ในช่วงระหว่าง 2.5-1.2 ล้านปีมาแล้ว
Human species
มนุษย์ มี 1 สกุล คือ สกุล Homo
ประกอบด้วย 3 สปีชีส์ ได้แก่
Homo habilis, Homo erectus , Homo sapiens
H. habilis และ H. erectus
จัดเป็นมนุษย์โบราณ ที่สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว
สามารถสร้างเครื่องมือหาอาหารสาหรับใช้ล่าสัตว์เล็กได้ มีการดารงชีวิตแบบเร่ร่อน
Homo habilis
มนุษย์โบราณที่มีการดารงชีพเมื่อประมาณ
3-2 ล้านปีมาแล้ว สูงประมาณ 1.5 เมตร
สมองมีขนาดใหญ่ประมาณ 700 ลบ.ซม.
ส่งผลทาให้ส่วนหน้ามีขนาดใหญ่ขึ้นด้วย
แต่ขนาดของฟันหน้าและเขี้ยวกลับเล็กลง
พบฟอสซิลแถบแอฟริการ มีอายุประมาณ
1.75 ล้านปี มีลักษณะเป็นผู้หญิง ตั้งชื่อ
ฟอสซิลว่า “Twiggy”
บริเวณที่ค้นพบฟอสซิล H. habilis
พบหลักฐานการประดิษฐ์เครื่องมือล่าสัตว์ ที่ทามาจากหินแบบง่ายๆ
แสดงให้เห็นว่า มีการพัฒนาทางสมอง มีความสามารถในการควบคุมสภาพแวดล้อม
มีการพัฒนาด้านการใช้สายตาเป็นอย่างดี มีความสามารถในการวางแผนในการจับสัตว์
และการทดลองรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้อุปกรณ์
สามารถสร้างเครื่องมือล่าสัตว์ใหญ่ได้
สร้างที่อยู่อาศัยแต่ยังคงดารงชีวิตแบบเร่ร่อน
มีเครื่องนุ่งห่ม เริ่มรู้จักใช้ไฟ
Homo erectus
ดารงชีพเมื่อประมาณ 1.5 ล้านปีมาแล้ว
เป็นมนุษย์กลุ่มแรกที่อพยพย้ายถิ่นฐาน
ออกจากทวีปอัฟริกา ไปยังทวีปเอเชียและทวีปยุโรป
สูงประมาณ 1.6-1.8 เมตร (6 ฟุต)
น้าหนักตัวประมาณ 48 กิโลกรัม
ขนาดสมองประมาณ 800-1250 ลบ.ซม.
H. erectus เป็นสายพันธุ์ที่
แพร่กระจายอย่างกว้างขวาง เนื่องจากพบ
ทั้งในทวีปแอฟริกา เอเชีย และยุโรป
โดยพบครั้งแรกที่เกาะชวา ประเทศ
อินโดนีเซีย ส่วนใหญ่พบเป็นเครื่องมือ
หินที่มีการประดิษฐ์อย่างประณีตกว่า
H. habilis หรือทาเครื่องมือที่เป็นไม้
ลักษณะค่อนมาทางมนุษย์ปัจจุบัน
ตัวอย่างซากฟอสซิล มนุษย์ชวา และ
มนุษย์ปักกิ่ง
บริเวณ ที่ค้นพบฟอสซิล
มนุษย์ปัจจุบัน Homo sapiens
มีเพียง 1 สปีชีส์ แบ่งออกเป็น
มนุษย์ปัจจุบันสมัยสุดท้าย
Homo sapiens sapiens
มนุษย์ปัจจุบันสมัยแรก
Homo sapiens Neanderthal
ดารงชีพเมื่อประมาณ 4 แสนปีมาแล้ว
สมองมีขนาดใหญ่กว่ามนุษย์ปัจจุบันเล็กน้อย
ขนาดสมองประมาณ 1,400 ลบ.ซม.
โครงร่างมีลักษณะเตี้ย มีกล้ามเนื้อมากกว่ามนุษย์
ปัจจุบัน จมูกมีลักษณะแบน และ รูจมูกกว้าง
เนื่องจากมีการดารงชีพอยู่ในเขตหนาว
Homo sapiens neanderthalensis
Homo sapiens sapiens
ดารงชีพเมื่อประมาณ 3 หมื่นถึง 1 แสนปีมาแล้ว มีการค้นพบ
ฟอสซิลของ มนุษย์โครมันยอง สมองมีขนาดใหญ่กว่ามนุษย์
ปัจจุบันเล็กน้อย ประมาณ 1,350 ลบ.ซม.
มนุษย์โครมันยองมีความสามารถในการวาดรูป มีภาพวาดที่พบในถ้า
สามารถ
เย็บเสื้อผ้าใส่
กินเนื้อสัตว์
ปรุงอาหาร
ความแตกต่างของกระโหลกศีรษะ
ระหว่างมนุษย์ปัจจุบันและมนุษย์นีอัลเดอร์ทัล
ลักษณะทั่วไปจะคล้ายคลึงกัน
มีเพียงบางลักษณะ
ที่แตกต่างกันเห็นได้ชัดคือ
นีอัลเดอร์ทัล
หน้าผากลาดแคบ
มีสันคิ้วใหญ่หนา
คางแคบหดไปทางด้านหลัง
สาเหตุที่ทาให้มนุษย์มีวิวัฒนาการด้านอารยธรรม
เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ 2 ประการ คือ
1) การเดินตัวตรงของมนุษย์ ส่งผลให้กระโหลกศีรษะ
มีการเปลี่ยนแปลง มีสมองใหญ่ขึ้น มีความคิดมากขึ้น
ทาให้มนุษย์มีวิวัฒนาการด้านวัฒนธรรมและอารยธรรม
2) พ่อแม่ดูแลลูกเป็นระยะเวลานาน ส่งผลทาให้ลูกมีโอกาสได้เรียนรู้
สิ่งต่างๆจากพ่อแม่มากขึ้น ได้แก่ Knowledge, Customs, belief,
Arts, etc
วิวัฒนาการทางอารยธรรมของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 3 ช่วง
1. Scavenging-gathering-Hunting
เป็นช่วงแรกของ Homo habilis, H. erectus,
Neanderthal (Modern man)
2. ทาเกษตรกรรม (Agriculture)
3. ช่วงอุตสาหกรรม (The machine age)
การแบ่ง เผ่าพันธุ์มนุษย์ (Races)
คอเคซอยด์ (Caucasoid) มองโกลอยด์ (Mongoloid)
นีกรอยด์ (Negroid) และ ออสเตรลอยด์ (Australoid)

More Related Content

What's hot

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 

Similar to Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน

บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการsupreechafkk
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตกำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตwunnasar
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 

Similar to Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน (20)

บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
P (1)
P (1)P (1)
P (1)
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตกำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
1
11
1
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน