SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
บทที่12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
( Photosynthesis)
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
เป็นการสร้างอาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรตของพืชเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต
และยังเป็นการผลิตอาหารสาหรับสิ่งมีชีวิตอื่นๆบนโลก
ในพืชมีคลอโรฟิลล์ที่ทาหน้าที่ดูดกลืนพลังงานแสงมาใช้ในการสร้างอาหาร
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชแบ่งออกเป็น2 ขั้นตอนใหญ่
1. ปฏิกิริยาแสง(lightreaction)
2. การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(cabondioxidefixation)
คลอโรพลาสต์
เป็นแหล่งที่เกิดปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงพบได้มากในเซลล์ของใบ
ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลมรีพบได้มากในเซลล์ของใบ
ยาว5 ไมโครเมตรกว้าง2 ไมโครเมตร หนา1-2ไมโครเมตร
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
มีเยื่อหุ้ม2 ชั้นภายในมีของเหลวเรียกว่า สโตรมา(Stroma)
พบไทลาคอยด์(Thylakoid)มีลักษณะคล้ายถุง มีช่องเรียกว่า ลูเมน(Lumen)
ไทลาคอยด์จะซ้อนกันเป็นชั้นเรียกว่ากรานุม(Granum)
เนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างกรานุมเรียกว่า สโตรมาลาเมลลา(StromaLamella)
1) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
1) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
สารสีในปฏิกิริยาแสง
ได้แก่คลอโรฟิลล์แคโรทีนอยด์ ไฟโคบิลินและแบคเทอริโอคลอโรฟิลล์
สิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอตจะพบสารสีในคลอโรพลาสต์
ส่วนพวกโพรคาริโอตจะพบที่เยื่อหุ้มเซลล์(รายละเอียดสารสีอยู่หน้า80)
สารสีในปฏิกิริยาแสง
คลอโรฟิลล์เอ สีเขียวเข้มดูดกลืนแสงสีม่วงน้าเงิน แดง
คลอโรฟิลล์บี สีเขียวมะกอกดูดกลืนแสงสีม่วงน้าเงิน
 แคโรทีนอยด์ มีสีส้มแดงดูดกลืนแสงสีม่วงเขียวน้าเงิน
สารสีในปฏิกิริยาแสง
สารสีในปฏิกิริยาแสง
สารสีในปฏิกิริยาแสง
แอนเทนนา(Antenna)
คือกลุ่มสารสีที่อยู่บริเวณกลุ่มโปรตีนที่เยื่อไทลาคอยด์
ทาหน้าที่รับส่งพลังงานแสงตามลาดับขั้นจนถึงศูนย์กลางของปฏิกิริยา
การถ่ายทอดพลังงานเกิดจากอิเล็กตรอนถูกกระตุ้นจากพลังงานที่ได้จากแสง
ระบบแสง(Photosystem: PS)
คือกลุ่มของโปรตีน สารสี และตัวรับอิเล็กตรอนแบ่งเป็นระบบแสงI และII
ระบบแสงI มีคลอโรฟิลล์เอเป็นศูนย์กลางรับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น
ต่ากว่า700 นาโนเมตร(P700)
ระบบแสงIIมีคลอโรฟิลล์เอเป็นศูนย์กลางรับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น
ต่ากว่า 680 นาโนเมตร(P680)
ปฏิกิริยาแสง(Photosystem: PS)
คือการที่พืชดูดกลืนพลังงานแสงไว้แล้วเปลี่ยนให้เป็นพลังงาน(ATPและNADPH)
คือสภาวะที่ศูนย์กลางของปฏิกิริยามีพลังงานสูงขึ้นและถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้ตัวรับ
 มี2 แบบคือการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรกับเป็นวัฏจักร
ปฏิกิริยาแสง(Photosystem: PS)
การถ่ายทอดอิเล็กตรอน
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
1.การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
เมื่อศูนย์กลางของระบบแสงII ได้รับการกระตุ้นจะถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ผ่านตัวกลางเช่นพลาสโทควิโนน ไซโทโครมคอมเพลกซ์ พลาสโตไซยานิน
ส่งต่อไปยังระบบแสง I และจะดึงอิเล็กตรอนของน้ามาแทนที่(เกิดO2)
1.การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
เมื่อน้าแตกตัว ได้ออกซิเจนและโปรตอนที่ลูเมน
เพื่อจะเคลื่อนที่ไปยังสโตรมาและมีการสังเคราะห์ATPต่อไป
1.การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
ศูนย์กลางของระบบแสงI ได้รับการกระตุ้นจะถ่ายทอดอิเล็กตรอน(เช่นกัน)
เฟอริดอกซิน จะส่งอิเล็กตรอนให้ NADPได้เป็นNADPH
เมื่อสูญเสียอิเล็กตรอนจะรับอิเล็กตรอนจากระบบแสงII ผ่านพลาสโทไซยานิน
กระบวนการสร้างATP
 โปรตอนใน Lumen จะเคลื่อนที่ไปยัง Stoma
มี APTSynthase เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
เรียกกระบวนการนี้ว่าPhotophosphorylation
1.การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
2.การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
เป็นสภาวะที่ เฟอริดอกซิน(ระบบแสงI ) ไม่สามารถส่งอิเล็กตรอน ให้NADP
เฟอริดอกซิน จะส่งอิเล็กตรอนให้ ไซโทโครมคอมเพลกซ์(ระบบแสงII) แทน
 และส่งกลับไปยังระบบแสงI ใหม่ โดยมีการสร้างโปรตอนในสโตรมาเพื่อนาไปเป็น
พลังงานในการสร้างATPต่อไป
5.2 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
(Cabondioxide Fixation)
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(cabondioxidefixation)
ปฎิกิริยาที่ไม่ใช้แสง(darkreaction)หรือวัฎจักรคัลวิน(Calvincycle)
ซึ่งต้องใช้สารATPและNADPHจากปฏิกิริยาแสงมาสังเคราะห์น้าตาล
เกิดขึ้นได้หลายแบบยกตัวอย่างแบบวัฎจักรคัลวินมาเรียน
แบ่งได้เป็น3 ขั้นตอนใหญ่
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(Carboxylation)
การรีดิวซ์เปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุล(Reduction)
การสร้างตัวตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ใหม่(Regeneration)
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(Carboxylation)
CO2จะทาปฏิกิริยากับRuBP(5C)(Ribulose-1,5-bisphosphate)
มีเอนไซม์rubiscoเป็นตัวเร่ง(Ribulose-1,5-bisphosphate
carboxylaseoxygenase)
ได้สารประกอบPGA หรือฟอสโฟกลีเซอเรต(phosphoglycerate)3C
2 โมเลกุล
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
การรีดิวซ์(Reduction)
 PGAจะรับหมู่ฟอสเฟตจากATPกลายเป็น1,3บิสฟอสโฟกลีเซอเรต
รับอิเล็กตรอนจากNADPHและถูกเปลี่ยนเป็นกลีเซอรัลดีไฮด์3-ฟอสเฟต
หรือPGAL (3C)
ADPกับ NADPจะถูกนากลับไปใช้ในปฏิกิริยาแสงต่อไป
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
การสร้างตัวตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ใหม่(Regeneration)
เป็นขั้นตอนที่จะสร้างRuBPขึ้นมาใหม่เพื่อกลับไปรับCO2อีกครั้งหนึ่ง
เปลี่ยนPGAL(3C)2 โมเลกุล เป็นRuBP(5C)1C ถูกนาไปสร้างน้าตาล
ขั้นตอนนี้อาศัยพลังงานจากATPจากปฏิกิริยาแสง
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
แบ่งได้เป็น3 ขั้นตอนใหญ่
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบต่างๆ
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบC3
 ตรึงคาร์บอนไดออกไซค์จากอากาศโดยRuBPแล้วได้PGA
ได้แก่พืชทั่วๆไปขึ้นได้ดีในสภาพแวดล้อมในเขตอบอุ่นเป็นพืชกลุ่มใหญ่ที่สุด
เกิดขึ้นที่mesophyll cellsเป็นหลักได้แก่ข้าวข้าวสาลีถั่ว และพืชทั่วๆไป
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบC4
 มักเป็นพืชที่มีถิ่นกาเนิดในเขตศูนย์สูตรจะมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์2 ครั้ง
ครั้งแรกเกิดที่mesophyllcellมีตัวมารับCO2คือphosphoenol
pyruvate(PEP)
ได้เป็นกรดออกซาโลเอซิติก(oxaloaceticacid)(OAA): 4C
OAAถูกเปลี่ยนเป็นmalicacidก่อนจะเคลื่อนที่เข้าสู่bundlesheath
40
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบC4
 การตรึงครั้งที่2 เกิดขึ้นใน stomaของchloroplast ในbundle
sheathcells
โดยCO2ที่ถูกปล่อยจากmalicacidจะถูกตรึงโดยRuBPได้ PGAแล้ว
ปฏิกิริยาดาเนินตามcalvincycle
เช่นข้าวโพด,อ้อย,ข้าวฟ่าง,บานไม่รู้โรย,หญ้าแพรก,หญ้าแห้วหมู,ผักโขมจีน
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบC4
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ C4
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
พืชCAMเป็นพืชที่เจริญได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง
ปากใบจะปิดในเวลากลางวันและเปิดในเวลากลางคืนเพื่อลดการคายน้า
ในสภาพที่มีน้าความชื้นสูงจะตรึงCO2 แบบC3
หากสภาพแวดล้อมแห้งแล้งตรึงCO2 แบบCAM
เช่นว่านหางจระเข้กล้วยไม้กระบองเพชรสัปปะรด
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
3.1เกิดในเวลากลางคืน
- ปากใบเปิดCO2 แพร่เข้ามาที่mesophyllcell
- PEP ตรึงCO2 เกิดOAAเปลี่ยนเป็นmalicacidที่ Vacuole
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
3.2เกิดในเวลากลางวัน
- malicacid แพร่จากvacuoleเข้าสู่chloroplast
- CO2 ถูกตรึงครั้งที่ 2 โดยRuBPเข้าสู่calvincycle
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
พืชในทะเลทรายส่วนมากไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดีในช่วงกลางวัน
เพราะเอนไซม์บางชนิดถูกยับยั้งการทางานเนื่องจากอุณหภูมิสูง
และยังขาดแคลนน้าสาหรับใช้ในกระบวนการปฏิกิริยาต้องการแสง
รวมถึงปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์แพร่เข้าสู่เซลล์ได้น้อยมาก(ปากใบปิด)
ชื่อเต็มCrassulaceanacid Metabolism
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
หากเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบของพืชC3
, C4 และพืช CAM
พบว่าพืชที่มีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงสุดส่วนใหญ่เป็นพืชC4 และ
รองลงมาคือพืชC3ส่วนพืชCAMจะมีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงน้อยที่สุด
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 

Viewers also liked (8)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 

Similar to บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง

การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงพัน พัน
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงdnavaroj
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 

Similar to บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง (7)

การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
1
11
1
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง