SlideShare a Scribd company logo
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
96
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง มรดกไทยในภูมิภาคของประเทศไทย
ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๒.๑	 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๔	 อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
ป. ๕/๓	 เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย
ป. ๕/๔	 มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
ป. ๖/๒	 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม
ป. ๖/๓	 แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ
ป. ๖/๔	 อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย
ป. ๖/๕	 ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้
ได้เหมาะสม
มาตรฐาน ส ๒.๒	 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๓	 อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
๒.	สาระสำ�คัญ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม
ประเพณีไทย
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคของตนได้
	 ๒.	 เขียนโครงงาน - รายงานตามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคของตนเองได้
	 ๓.	 ตรวจสอบและประเมินค่าข้อมูลด้วยวิธีทางประวัติศาสตร์ได้
ป.๔-๖
Untitled-1 96 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
97
	 ๔.	 ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาด้านต่างๆ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้
	 ๕.	 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการดำ�เนินชีวิตของคนในภูมิภาคตนเองและภูมิภาคอื่นในอดีตและ
ปัจจุบันได้
	 ๖.	 เห็นคุณค่าผลงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินชีวิตของคนในภูมิภาค
ต่างๆ ในประเทศไทยได้
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๑.	 ร้องเพลงที่เกี่ยวกับประเทศไทย ตลอดจนภูมิภาคต่างๆ
	 ๒.	 แบ่งกลุ่มนักเรียน ศึกษา ค้นคว้า เขียนรายงาน เกี่ยวกับข้อมูลในภูมิภาค เริ่ม
จากภาคใต้ → เหนือ → อีสาน ฯลฯ
	 ๓.	 ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในภูมิภาคต่างๆตลอดจนประโยชน์และผลงาน
ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยในภูมิภาคเช่นบ้านทรงไทยตามภูมิภาคต่างๆอาหาร
ยา - สมุนไพร เครื่องมือจับปลา - ทำ�นา ฯลฯ
	 ๔.	 กลุ่มนักเรียนจัดป้ายนิเทศและนิทรรศการเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในภูมิภาค
ต่างๆ รายงานหน้าชั้นและอธิบายให้เพื่อนนักเรียนและผู้มาเยี่ยมชมฟัง
	 ๕.	 ศึกษาเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การอ่านการเขียนการนับทศวรรษ
ศตวรรษ และสหัสวรรษ
	 	 	 	 เปรียบเทียบความสัมพันธ์ในการใช้พุทธศักราชและคริสต์ศักราช
	 	 	 	 ลำ�ดับเหตุการณ์ที่สำ�คัญๆในภูมิภาคของตนและภูมิภาคอื่นที่เกี่ยวข้อง
กันทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
	 ๖.	 ศึกษาความเป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัย อยุธยา และกรุงเทพฯ ระบุ
โครงสร้างการปกครองและสภาพเศรษฐกิจได้ เช่น
	 	 –	 ประชาธิปไตยในประเทศไทยเริ่มขึ้นเมื่อใด
	 	 –	 ทำ�ไมพระเจ้าแผ่นดินซึ่งอยู่ในส่วนกลางของประเทศจึงสามารถปกครอง
	 หัวเมืองต่างๆ ได้อย่างเป็นสุข ราบรื่น
	 	 	 ฯลฯ
	 ๗.	 ศึกษามรดกวัฒนธรรมไทยบริเวณลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยา มีความเจริญรุ่งเรือง
อย่างไร เหตุใดจึงเกิดศึกสงคราม และสามารถกู้ชาติได้อย่างไร
	 ๘.	 ศึกษาเรื่องศาสนาและวัฒนธรรมที่มีบทบาทต่อวิถีชีวิตชาวไทยในสมัยอยุธยา
ศิลปวัฒนธรรมที่ยังมีอยู่ ศึกษาได้จากที่ใดบ้าง
	 	 	 	 ศูนย์ศึกษาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทยใกล้หัวหินที่สุดอยู่ที่ใด
(จ. เพชรบุรี) มีอะไรบ้างและสำ�คัญอย่างไร
	 ๙.	 เหตุการณ์สำ�คัญที่มีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองและการเปลี่ยนแปลงในสมัย
อยุธยา
	 	 	 อะไรบ้างที่เราควรศึกษาและนำ�มาเป็นแบบอย่างในการดำ�รงชีวิตปัจจุบัน
–	 ปฏิบัติกิจกรรมตามโรงเรียน
ต้นทาง
–	 ทำ�โครงงานเกี่ยวกับบ้านไทย
ชุมชนที่อยู่อาศัยและกิจกรรม
ตามวิถีชีวิตไทยในชุมชนนั้นๆ
–	 ศึกษาประวัติศาสตร์และ
ภูมิปัญญาไทยจากอุทยาน
ประวัติศาสตร์ในภูมิภาคต่างๆ
เช่น ภาคเหนือ - สุโขทัย
	 ๑.	 อุทยานประวัติศาสตร์
	 	 สุโขทัย
	 ๒.	อุทยานประวัติศาสตร์
	 	 ศรีสัชนาลัย
	 ๓.	อุทยานประวัติศาสตร์
	 	 กำ�แพงเพชร
	 ๔.	 ศรีเทพเพชรบูรณ์
–	 ในหัวข้อต่อไปนี้
	 ที่ตั้ง ประวัติศาสตร์
	 โบราณสถาน
	 (ดูสารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม
การเรียนรู้เล่ม ๓)
–	 เขียนรายงานประกอบโครง-
งานวิถีชีวิตไทย (บริเวณลุ่มนํ้า
เจ้าพระยาหรือภาคต่างๆ) และ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่งให้ ร.ร.
ต้นทาง
–	 ทำ�โครงงานเกี่ยวกับนํ้าและ
วิถีชีวิตคนไทย (ศึกษาจาก
Untitled-1 97 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
98
	 ๑๐.	 คำ�ถาม - คำ�ตอบ ตามเรื่องที่เรียน คำ�ถามให้คิด วิเคราะห์ เช่น พูดถึง
เหตุการณ์ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้จากอดีต - ปัจจุบัน ในอดีตพระ-
มหากษัตริย์ทรงปกครองอย่างไรจึงราบรื่น
	 ๑๑.	 ศึกษาวิถีชีวิตคนไทยที่เกี่ยวข้องกับนํ้า
	 	 –	 การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน	 –	 การท่องเที่ยว
	 	 –	 ลักษณะของเรือนไทย	 –	 โครงการพระราชดำ�ริ
	 	 –	 การคมนาคม	 –	 การขุดบ่อ, การทำ�ไร่นาสวนผสม
	 	 –	 การเพาะปลูก	 –	 จังหวัดชายทะเล
	 ๑๒.	 ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นตามภูมิภาคต่างๆ
	 	 –	 ที่อยู่อาศัย
	 	 –	 ภาษาและการแต่งกาย
	 	 –	 ประเพณีที่สำ�คัญๆ และประเพณีพื้นบ้าน
	 	 –	 อาหารตามภูมิภาค
	 	 –	 ศิลปหัตถกรรมตามภูมิภาค
	 	 การรักษาและดำ�รงไว้, ปัญหา และการแก้ไข
	 ๑๓.	 สำ�รวจและศึกษาความต้องการของตนเองและท้องถิ่นมีผลดี-ผลเสียอย่างไร
อย่างไรเหมาะสมที่สุด - คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
	 ๑๔.	 ศึกษาและทำ�โครงงานเกี่ยวกับวิถีชีวิตไทยแต่โบราณมา เช่น
	 	 	 “ตลาดนํ้า วิถีชีวิตพ่อค้า - แม่ขายไทย”
	 	 	 “ศรีอยุธยา ภูมิปัญญาชาวกรุงเก่า”
	 	 	 “วิถีชีวิตคนไทยกับนํ้า”
	 	 	 “เกาะรัตนโกสินทร์”
	 	 	 “เกษตรกรรมศิลป์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น”
	 	 และอื่นๆ ที่เกี่ยวกับภูมิภาคโดยครูและนักเรียนช่วยกันคิด
		หมายเหตุ : หัวข้อดังกล่าวข้างต้น ค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือเล่มเล็กที่
องค์การค้าคุรุสภา จัดพิมพ์*	
	 ๑๕.	 ศึกษา ค้นคว้า และเรียบเรียงเขียนรายงาน จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับ “ศิลปาชีพ”
และ “อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย”
	 	 (หมายเหตุ : จากสารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม ๒๙)
โครงการพระราชดำ�ริฯ
ประกอบ)
–	 ศึกษาความเป็นมาของอุทยาน
ประวัติศาสตร์ของไทย เช่น
ปัจจุบันมี ๑๐ แห่ง กระจาย
อยู่ตามภูมิภาคต่างๆ (จาก
สารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน
ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๓)
–	 ๔ แห่งเป็นมรดกโลก
–	 อุทยานประวัติศาสตร์ทางด้าน
วัฒนธรรม ถือเป็นสมบัติของ
บรรพบุรุษ คือ
	 ๑.	 อุทยานประวัติศาสตร์
	 	 สุโขทัย
	 ๒.	อุทยานประวัติศาสตร์
	 	 ศรีสัชนาลัย
	 ๓.	อุทยานประวัติศาสตร์
	 	 กำ�แพงเพชร
	 ๔.	อุทยานประวัติศาสตร์
	 	 พระนครศรีอยุธยา
ความหมาย : บริเวณสถานที่ซึ่ง
มีความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์
และโบราณคดี (จากสารานุกรม
ไทยสำ�หรับเยาวชน เล่ม ๒๑)
–	 ภาคกลาง มีอุทยานฯ ที่
	 จ. พระนครศรีอยุธยา
	 ๑.	 เมืองสิงห์
	 ๒.	 ไทรโยค จ. กาญจนบุรี
	 ๓.	 พระนครคีรี จ. เพชรบุรี
–	 ภาคอีสาน มีอุทยานประวัติ-
ศาสตร์
	 ๑.	 ปราสาทหินพิมาย -
	 	 จ. นครราชสีมา
	 ๒.	ปราสาทพนมรุ้ง -
	 	 จ. บุรีรัมย์
	 ๓.	ภูพระบาท - จ. อุดรธานี
w w w w w w w w
Untitled-1 98 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
99
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง เอกลักษณ์ไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๒.๑	 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณี
และวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๔	 อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
ป. ๕/๓	 เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย
ป. ๕/๔	 มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
ป. ๖/๒	 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม
ป. ๖/๓	 แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ
ป. ๖/๔	 อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย
ป. ๖/๕	 ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้
ได้เหมาะสม
มาตรฐาน ส ๒.๒	 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๓	 อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
๒.	สาระสำ�คัญ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม
ประเพณีไทย
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 สนทนา อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทยได้
	 ๒.	 บอกความหมายของเอกลักษณ์ไทยได้
	 ๓.	 อธิบายความเป็นมา และความหมายของภาษาไทย วรรณคดีไทย ดนตรีไทย เพลงไทย อาหารไทยได้
ป.๔-๖
Untitled-1 99 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
100
	 ๔.	 บอกเอกลักษณ์ของคนไทยได้
	 ๕.	 วิเคราะห์ความหมายของเอกลักษณ์ไทย ความสำ�คัญ และการรักษาไทยให้คงอยู่ได้อย่างไร
	 ๖.	 บอกและอธิบายบทบาทความสัมพันธ์ระหว่างอำ�นาจของกลุ่มบุคคลในสังคมได้
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ฝึกสมาธิก่อนเรียน
	 ๑.	 ร้องเพลงเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทย
	 ๒.	 ใช้สื่อหลากหลาย เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้
	 	 	 	 ให้นักเรียนดูภาพยนตร์ วีดิทัศน์ ภาพ ซีดี อ่านหนังสือ ฟังเทป หรือ
เครื่องบันทึกเสียงเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทยเพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้  (ครูต้องรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งของสื่อการเรียนรู้และมีความรู้
ความเข้าใจคุณสมบัติของสื่อแต่ละชนิด ว่าสามารถสร้างประสบการณ์ การ
เรียนให้แก่ผู้เรียนได้อย่างไร)
	 	 ครูตั้งคำ�ถามเหล่านี้ เช่น
	 	 –	 ภาพเหล่านี้บอกอะไรเราได้บ้าง
	 	 –	 เมื่อฟังเพลงไทยแล้ว นักเรียนรู้สึกอย่างไร
	 	 –	 นักเรียนเล่นดนตรีไทยเป็นหรือไม่
	 	 –	 นักเรียนเป่าขลุ่ย เป็นหรือไม่
	 	 –	 นักเรียนชอบเล่น / ฟัง ดนตรีไทยหรือไม่ จงบอกเหตุผลและอธิบาย
	 	 –	 เอกลักษณ์ไทย หมายความถึงอะไร อย่างไร
	 	 –	 เพราะเหตุใดเราจึงรักษาความเป็นไทยไว้ได้
	 	 –	 เราควรทำ�ตามอย่างวัยรุ่นชาติอื่นๆ หรือไม่ เพราะเหตุใด
	 	 –	 นักเรียนลองบอกสิ่งที่นักเรียนชอบและไม่ชอบ และบอกเหตุผลว่า
	 เพราะเหตุใด
	 	 	 ฯลฯ
–	 ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน
ต้นทาง
–	 ภาพเมืองหลวงและเมือง
สำ�คัญๆ ของไทย
–	 ภาพกรุงสุโขทัย
–	 ภาพกรุงศรีอยุธยา
–	 กรุงธนบุรี
–	 กรุงรัตนโกสินทร์
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๑๓
–	 ภาษาไทย
–	 เรือนไทย
–	 ชีวิตชนบทไทย
–	 หัตถกรรมพื้นบ้าน
–	 จิตรกรรมไทย
–	 นาฏศิลป์ไทย
–	 ตุ๊กตาไทย
–	 การละเล่นของไทย
–	 อาหารไทย
–	 การประดิษฐ์ผักและผลไม้
–	 วีดิทัศน์รายการดนตรีไทยจาก
รายการ “คุณพระช่วย” สถานี
โทรทัศน์ช่อง ๙
–	 ภาพและคำ�อธิบายเกี่ยวกับ
ดนตรีไทย
–	 ดูรายการเล่าให้นักเรียนฟัง
สนทนา ซักถาม
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๖
Untitled-1 100 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
101
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 ช่วยกันรวบรวมข้อมูล เหตุผลที่ได้จากคำ�ถาม คำ�ตอบ และช่วยกันวิเคราะห์
ว่าเอกลักษณ์ไทยหมายความว่าอย่างไร ให้เรียบร้อยเป็นข้อความ พอเข้าใจ
ช่วยกันสรุปและจดไว้ในสมุด
	 ๓.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันศึกษา ค้นคว้าต่อ และอภิปราย วิเคราะห์ “ความสำ�คัญ
ของเอกลักษณ์ไทย” “การรักษาไว้ให้คงอยู่อย่างไร”
	 	 	 	 แต่ละกลุ่มใช้หลากหลายวิธีในการวิเคราะห์ (ตามที่ได้อธิบายวิธีการไว้
ในแผนฯ ที่แล้ว)
	 	 รายงานหน้าชั้น อภิปราย และช่วยกันสรุป
	 ๔.	 เขียนบทละครสั้นๆ หรือเขียนสคริปต์แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับบทบาท
ความสัมพันธ์ของกลุ่มผู้บริหารท้องถิ่น และข้าราชการแต่ละกลุ่มคิดพล็อต
เรื่องเองแสดงเสร็จแล้วช่วยกันอภิปรายให้เหตุผลและสรุปอาจยกตัวอย่าง
บทวิเคราะห์ตามสื่อสิ่งพิมพ์และร่วมอภิปราย เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เพราะ
เหตุใด
	 ๕.	 ทำ�โครงงาน เกี่ยวกับอาหารไทย เพลงไทย ดนตรีไทย ฯลฯ ตามที่แต่ละกลุ่ม
ถนัด รายงานพร้อมภาพและเสียง อภิปราย แสดงความคิดเห็นและสรุป
	 ๖.	 บันทึกพฤติกรรม วัดผล ประเมินผล
–	 นิทานไทยประเภทต่างๆ ๑๑
ประเภท
–	 งานศิลปาชีพของไทย
	 (สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙)
–	 เปรียบเทียบกับเรื่องศรีธนญชัย
–	 ภาพ/วีดิทัศน์อาหารไทย
หมายเหตุ
ควรทำ�โครงงานเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทยในท้องถิ่นและชุมชน ให้กลุ่มนักเรียนสืบค้น
ถ่ายภาพ และทำ�รายงานให้ละเอียด
ผลงานที่นักเรียนรวบรวมควรนำ�ไปเขียนสคริปต์และถ่ายทำ�ในโครงการนวัตกรรม “ก้าวใหม่การศึกษาไทย”
และเขียนลงวารสาร หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น - ส่วนกลาง ตามลำ�ดับ
ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับกีฬาพื้นเมืองไทย ซึ่งมีอีกมากมาย ควรส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเล่น เพื่อให้ร่างกาย
แข็งแรงทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดใดมีกีฬาพื้นเมืองไทยที่แปลกออกไปควรเขียนส่งมาให้ด้วย
Untitled-1 101 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
102
ตัวอย่างผังความคิด
ศึกษาเรื่องนิทานไทย และกีฬาพื้นเมืองไทย จากสารานุกรมไทยฯ และหนังสือกีฬาพื้นเมืองไทย
กีฬาพื้นเมืองไทยภาคกลาง
–	 กระโดดเชือกเดี่ยว - หมู่	 –	 ปรบไก่	 –	 ช่วงชัยขี่
–	 ปิดตาตีหม้อ	 –	 ชักเย่อ	 –	 กาฟักไข่
–	 ช้อนมะนาว	 –	 ขว้างตะกร้อ	 –	 ชิงกันเป็นเจ้าของวง
–	 ขว้างนุ่น (จ.สกาญจนบุรี)	 –	 ตีป้อม	 –	 ตี่จับ
–	 เตย	 –	 ไถนา	 –	 ชิงเชลย
–	 ปลาหมอตกกระทะ	 –	 ขี่ม้าชนกัน	 –	 โพงพาง
–	 ชิงธง	 –	 มอญซ่อนผ้า	 –	 แข่งกระทะ
–	 ไม้หึ่ง	 –	 ต้องเต	 –	 แข่งเกวียน
–	 ตังเตมอญ	 –	 รีรีข้าวสาร	 –	 แข่งเรือ
–	 ลิงชิงหลัก	 –	 ตาเขย่ง	 –	 แข่งเรือคน
–	 วิ่งเก็บของ	 –	 วิ่งวัวคน	 –	 แข่งว่าว
–	 วิ่งสวมกระสอบ	 –	 แคร่หาม	 –	 วิ่งสามขา
–	 งูกินหาง	 –	 วิ่งเปี้ยว	 –	 ช่วงชัย
จากกีฬาพื้นเมืองไทย ภาคกลาง
รศ. ชัชชัย โกมารทัต
w w w w w w w w
Untitled-1 102 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
103
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๒.๑	 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณี
และวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๔	 อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
ป. ๕/๓	 เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย
ป. ๕/๔	 มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
ป. ๖/๒	 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม
ป. ๖/๓	 แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ
ป. ๖/๔	 อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย
ป. ๖/๕	 ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้
ได้เหมาะสม
มาตรฐาน ส ๒.๒	 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๓	 อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
๒.	สาระสำ�คัญ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม
ประเพณีไทย
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 ทำ�โครงงาน และอภิปรายเกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุได้ อธิบายเกี่ยวกับพัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน
ของรัฐไทยได้
	 ๒.	 สนทนา อภิปราย อธิบาย ให้เหตุผลเกี่ยวกับโบราณสถาน และโบราณวัตถุของไทย
ป.๔-๖
Untitled-1 103 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
104
	 ๓.	 บอกและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อโบราณสถานและโบราณวัตถุของไทย (เข้าใจปัจจัยพื้นฐานและ
ผลกระทบจากภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตน)
	 ๔.	 อธิบายและวิเคราะห์ โบราณสถานและโบราณวัตถุของไทยที่เกิดขึ้นและบอกแหล่งอารยธรรมสมัยต่างๆ
ได้ (รู้และเข้าใจประวัติและผลงานของบุคคลสำ�คัญในประวัติศาสตร์)
	 ๕.	 ปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรมในครอบครัวท้องถิ่นและเอกลักษณ์ที่สำ�คัญของชาติได้
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๑.	 แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๔ - ๕ คน ระดับความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการ
การตั้งถิ่นฐานของรัฐไทย ว่ามีความเป็นมา ย้ายถิ่นฐานมาจากที่ใด ทำ�เป็น
โครงงานศึกษาเกี่ยวกับโบราณสถานโบราณวัตถุในถิ่นที่อยู่อาศัยหรือจังหวัด
ใกล้เคียง
	 ๒.	 จัดสนทนา อภิปราย นักเรียนเกี่ยวกับเหตุผลที่ต้องอนุรักษ์โบราณสถาน
โบราณวัตถุของไทยไว้ เพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งศึกษาทางประวัติ-
ศาสตร์ ปลูกฝังให้เกิดความรักความหวงแหนในมรดกของชาติ
	 ๓.	 ระดมสมอง เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อโบราณสถาน และโบราณ
วัตถุ เขียนเป็นผังความคิดพอเข้าใจ ดังนี้
	 	 ฝึกให้นักเรียนคิดและช่วยกันหาคำ�ตอบอาจใช้วิธีการอื่นเช่นกรณีศึกษาให้
กลุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มจัดทำ�
	 ๔.	 กรณีศึกษา ให้กลุ่มนักเรียนฝึกอ่านเรื่องสั้นๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา
เรื่อง “ผลกระทบต่อโบราณสถานและโบราณวัตถุ” ให้นักเรียนสร้างข้อ
สมมติฐาน กรณีศึกษา ทำ�ให้นักเรียนมีประสบการณ์ การคาดคะเนอนาคต
ด้วย
	 ๕.	 การเรียนแบบร่วมมือให้กลุ่มนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทำ�งานด้วยกันในกลุ่ม
ย่อย ซึ่งมีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ประชุมวางแผน แบ่งงาน
กันทำ� + ร่วมกันทำ�งานตามบทบาท + หน้าที่ตามที่ตกลงกัน ครูทำ�หน้าที่
–	 ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน
ต้นทาง
–	 ภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุ
–	 เหตุใดจึงมีการจัดตั้งอุทยาน
ประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
	 ๑.	 อนุรักษ์
	 ๒.	 บูรณะตกแต่งอย่างถูกต้อง
	 ๓.	 จัดสภาพแวดล้อมทาง
	 	 ธรรมชาติ
–	 ลักษณะสำ�คัญของอุทยาน
ประวัติศาสตร์แต่ละแห่ง
–	 อุทยานที่ได้รับยกย่องเป็นมรดก
โลก
–	 หนังสือพิมพ์ เอกสาร
–	 ภาพต่างๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรม
ประเพณีไทย
–	 สิ่งของเครื่องใช้เกี่ยวกับวิถีชีวิต
ไทยและหัตถกรรมพื้นบ้าน
–	 อัดเทปเพลงไทย
–	 อัดเทปคำ�พูดบทสนทนาเกี่ยวกับ
มรรยาทไทยมาเปิดให้นักเรียน
ฟัง
Untitled-1 104 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
105
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
เป็นที่ปรึกษา คอยอำ�นวยความสะดวกในการค้นคว้าศึกษา และเรียนรู้
นักเรียนทำ�หน้าที่เป็นผู้รู้ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กันและกัน (อาจไปถามจาก
พ่อแม่ ผู้ปกครอง + อ่านหนังสือ) ซึ่งอาจช่วยกันทำ�ได้หลายวิธี เช่น ร่วม
มือกันศึกษา ค้นคว้า เรื่อง “วิเคราะห์โบราณสถานและโบราณวัตถุของไทย
ที่เกิดขึ้นในสมัยต่างๆ”
				 วิธีที่หนึ่ง “ต่อเติมเสริมสร้าง” (Jigsaw) ผู้เรียนแต่ละคนช่วยกัน
ค้นคว้า ศึกษาคนละ ๑ หัวข้อย่อย (หลังจากที่เขียนผังความคิดแล้ว) เสมือน
เป็นผู้เชี่ยวชาญในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งแล้วให้ความรู้แก่เพื่อนในกลุ่มเฉพาะ
ข้อนั้นๆแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกันทุกคนก็จะได้ความรู้
อย่างกระจ่าง ชัดเจนทุกข้อ
				 วิธีที่สอง “ร่วมหัวร่วมคิด” (Numbered Heads Together) ร่วมมือกัน
ทำ�งาน ที่จะตอบคำ�ถามที่ครูกำ�หนดให้ โดยครูมอบหมายข้อใดข้อหนึ่ง
ให้ผู้เรียน ก็ต้องรวบรวมคำ�ตอบที่ได้จากทุกคนในกลุ่มร่วมกันหาคำ�ตอบ
เป็นการแข่งขันระหว่างกลุ่ม เป็นการพัฒนาทักษะ + กระบวนการคิด
				 วิธีที่สาม “คู่คิดคู่สร้าง” ให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ศึกษาเรื่องหรือหัวข้อใด
หัวข้อหนึ่งตามลำ�พัง แต่ละคนก่อน หลังจากนั้นจึงจับคู่อภิปราย ในสิ่งที่
แต่ละคนได้ศึกษามาแล้วนั้น เมื่อทบทวนแลกเปลี่ยนความคิดแล้ว ช่วยกัน
สรุปเป็นคำ�ตอบ
	 ๖.	 จัดอภิปราย,โต้วาทีระหว่างกลุ่มเรื่อง“วัฒนธรรมไทยส่งเสริมการท่องเที่ยว”
เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเชื่อมโยงในสิ่งที่ได้ศึกษา ค้นคว้าเข้า
ด้วยกัน กิจกรรมโต้วาทีช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกจัดระบบข้อมูล ความรู้ต่างๆ มา
สนับสนุนความคิดเห็นของตนและใช้ทักษะทางภาษาเพื่อสื่อสารจูงใจผู้อื่น
	 ๗.	 กลุ่มนักเรียนจัดระบบความคิด ด้วยกราฟิก ทักษะการเขียน และอ่าน  
กราฟิก เป็นกิจกรรมที่สำ�คัญ ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดรวบยอด
และความคิดสร้างสรรค์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ได้แก่การเขียนแผนภูมิ แผนผัง แผนภาพ ตาราง กราฟ แผนที่
ความคิดต่างๆ ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะความคิดผ่านการใช้กราฟฟิกเหล่านี้
	 ๘.	 บันทึกพฤติกรรม วัดผล ประเมินผล
–	 เทป เพลงกล่อมเด็ก
	 เพลงพื้นบ้าน ฯลฯ
การศึกษาอุทยานประวัติศาสตร์
–	 ทำ�ให้เราเรียนรู้อะไรบ้าง
อย่างไร
–	 ทำ�ไมจึงต้องมีการอนุรักษ์และ
ศึกษา
ศึกษาเรื่องหอพระไตรปิฎก
–	 คือหอสมุดของวัด
–	 เก็บหนังสือคำ�สอนพระ-
พุทธเจ้า
–	 ให้พระสงฆ์ศึกษาเล่าเรียน
–	 เหมือนห้องสมุดโรงเรียน
บริเวณวัดทางพระพุทธศาสนา
แบ่งพื้นที่เป็น ๒ เขต
–	 เขตสังฆาวาส กุฏิ หอพระไตร-
ปิฎก
–	 เขตพุทธาวาสโบสถ์วิหารเจดีย์
(สารานุกรมไทยฯ เล่ม ๓๐)
w w w w w w w w
Untitled-1 105 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
106
ลำ�ดับพระมหากษัตริย์ไทย ประเทศไทยมีลักษณะสำ�คัญคือ มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นองค์พระประมุขต่อเนื่อง
กันมาโดยตลอดไม่ขาดสายทรงเป็นที่เคารพบูชาเทิดทูนของประชาชนชาวไทยทั้งนี้เพราะพระองค์ทรงประกอบพระราช-
กรณียกิจเป็นคุณประโยชน์ต่อความมั่นคงของประเทศและความร่มเย็นเป็นสุขของประชาชนตลอดมาในประวัติศาสตร์ไทย
สมัยรัฐโบราณบนผืนแผ่นดินไทย ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๔ เป็นต้นมา รัฐทั้งหลายมีการติดต่อค้าขาย มีความ
สัมพันธ์ทางเครือญาติรับอารยธรรมของรัฐอื่นด้วยเช่นการแพร่หลายของอารยธรรมทวาราวดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
ในรัฐอื่นๆ ทั่วทุกภาคของไทย
เมื่อขอบขยายอำ�นาจ หลายรัฐโบราณในภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตกอยู่ใต้อิทธิพลขอม
เมื่อขอมเสื่อมอำ�นาจ รัฐสุโขทัยซึ่งมีเมืองสำ�คัญ คือศรีสัชนาลัย - สุโขทัย จึงรวมกำ�ลังก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัย
ขึ้นปลายศตวรรษที่ ๑๘
(จากสารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๓)
หมายเหตุ
โบราณสถานโบราณวัตถุเป็นสมบัติของคนไทยทุกคนซึ่งบรรพบุรุษของเราได้สั่งสมไว้ในชุมชนใดจังหวัดใด
มีโบราณสถาน โบราณวัตถุ คุณครูควรให้ทำ�โครงงานศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความรักและ
หวงแหนรักษาสมบัติของชาติโดยส่วนรวมให้ช่วยกันดูแลรักษาเพื่อป้องกันพวกมิจฉาชีพที่จ้องทำ�ลายทรัพย์สมบัติของ
ชาติ ดังที่มีข่าวเกิดขึ้นหลายแห่ง ทั้งที่ปราสาทพนมรุ้ง และตามวัดวาอารามต่างๆ ขอให้พวกเราช่วยกันรักษาสมบัติของ
ชาติไว้ เพื่อลูกหลานของเราต่อไป
โรงเรียนใดพบเหตุการณ์ที่ส่อไปในทางอันตราย ดังข่าว ขอให้เขียนจดหมายบอกกล่าวเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้
ควรใช้พลังมด ป้องกันทรัพย์สมบัติของชาติให้ได้
w w w w w w w w
ภ า ค ผ น ว ก
Untitled-1 106 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
107
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง ภูมิปัญญาไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๒.๑	 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณี
และวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๔	 อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
ป. ๕/๓	 เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย
ป. ๕/๔	 มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
ป. ๖/๒	 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม
ป. ๖/๓	 แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ
ป. ๖/๔	 อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย
ป. ๖/๕	 ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้
ได้เหมาะสม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๓	 อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
๒.	สาระสำ�คัญ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม
ประเพณีไทย
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 ทำ�โครงงาน และอภิปรายเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยได้
	 ๒.	 บอกและอธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยได้
	 ๓.	 บอกและอธิบายความเป็นมาของศิลปาชีพได้
ป.๔-๖
Untitled-1 107 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
108
	 ๔.	 ศึกษาและสำ�รวจรายงานผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพได้
	 ๕.	 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์และตรวจสอบได้
	 ๖.	 บันทึกข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์และตรวจสอบได้
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๑.	 กลุ่มนักเรียนประชุมระดมสมอง เขียนผังความคิดเกี่ยวกับ
	 	 –	 กิจวัตรประจำ�วันของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
	 	 –	 สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย และวัฒนธรรมประเพณี
	 	 –	 ภาษา การแต่งกาย การละเล่น การร้องรำ�ทำ�เพลง
	 	 –	 การพูดจาทักทาย การแสดงความเคารพ
	 	 จัดทำ�โครงงานเพื่อสืบค้น สังเกต และศึกษา อภิปราย รายงานหน้าชั้น
ตลอดจนวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และปัญหา ร่วมกันเสนอแนะ วิธีการ  
แนวคิด การแก้ปัญหา
	 ๒.	 แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับภาพต่างๆ ของไทย
	 	 –	 การละเล่นแบบไทย
	 	 –	 เพลงกล่อมเด็ก
	 	 –	 ศิลปาชีพ
	 	 –	 ประเพณีทำ�บุญต่างๆ
	 	 สรุปความคิด จากอดีตสู่ปัจจุบัน
	 ๓.	 ศึกษา สำ�รวจ สัมภาษณ์ สอบถาม เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย ๑๐ สาขา
	 	 –	 เกษตรกรรม
	 	 –	 อุตสาหกรรมและหัตถกรรม
	 	 –	 แพทย์แผนไทย
	 	 –	 จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
	 	 –	 กองทุนและธุรกิจชุมชน
	 	 –	 สวัสดิการ
	 	 –	 ศิลปกรรม
	 	 –	 จัดการองค์กร
	 	 –	 ภาษาและวรรณกรรม
	 	 –	 ศาสนาและประเพณี
	 	 ทำ�โครงงาน และรายงาน ร่วมกันจัดป้ายนิเทศ จัดทำ�สมุดภาพ
	 ๔.	 ศึกษา รวบรวม ยกย่อง ผู้ทรงภูมิปัญญาไทยอย่างต่อเนื่อง เพราะเหตุใด
สาขาใด
–	 ศึกษาความหมายของสังคม
และวัฒนธรรมไทย และปัจจัย
ที่เกี่ยวข้อง
	 (สารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม
การเรียนรู้ เล่ม ๓)
–	 ซีดี, เทปเพลง วิทยากร
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๓
–	 ศึกษาลักษณะสำ�คัญของสังคม
และวัฒนธรรมไทย
	 ๑.	 มีความหลากหลายในด้าน
	 เชื้อชาติศาสนา  วัฒนธรรม
	 ประเพณีท้องถิ่น
	 ๒.	 มีการยึดมั่นในคุณธรรม
	 เป็นแนวทางการดำ�รงชีวิต
	 ๓.	 เทิดทูนสถาบันพระมหา-
	 กษัตริย์เป็นสถาบันหลัก
	 ของชาติ
–	 ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย
สมัยอยุธยา
	 ๑.	 บางอย่างสืบทอดจากสมัย
	 สุโขทัย
	 ๒.	 สังคมแบ่งชนชั้น
	 	 •	 ชนชั้นผู้ปกครอง
	 	 •	 พระสงฆ์
	 	 •	 ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
	 ๓.	 ด้านการปกครองรับอิทธิพล
	 ขอม
Untitled-1 108 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
109
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๔.	 ด้านศาสนา ลัทธิลังกาวงศ์
	 ยังมีความสำ�คัญ
	 ๕.	 ด้านศิลปวัฒนธรรมมีความ
	 หลากหลายมากขึ้น
	 ๖.	 ด้านสถาปัตยกรรมทางพระ-
	 พุทธศาสนา:–สร้างปรางค์
	 และเจดีย์หลายรูปแบบ
	 (สารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม
การเรียนรู้ เล่ม ๓)
–	 ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือ พื้น
ความรู้ความสามารถ มีการ
ถ่ายทอดของคนรุ่นหนึ่ง ต่อไป
อีกรุ่นหนึ่ง จนถึงปัจจุบัน
–	 ภูมิปัญญาไทย เป็นภูมิปัญญา
ของคนไทยโดยรวม
ภูมิปัญญาด้านการเกษตร
–	 การเกษตรแบบผสมผสาน
	 •	 การทำ�ไร่นาสวนผสม
	 •	 ปลูกพืชหลายชนิด
	 •	 เลี้ยงสัตว์ :- หมู ไก่ ปลา
	 •	 รักษาความอุดมสมบูรณ์ของ
	 ดิน
	 •	 การป้องกันโรคพืชฯ
	 •	 ใช้แรงงานตลอดปี
	 •	 มีอาหารบริโภคพอเพียง
	 •	 สอดคล้องแนวพระราชดำ�ริฯ
	 	 –	 ศิลปินแห่งชาติ ผู้มีผลงานทางวัฒนธรรมดีเด่น และคนดีศรีสังคม
	 	 –	 นักปราชญ์ไทยที่มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมได้รับการยกย่องจากองค์กร
	 ศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (พระบาทสมเด็จ
	 พระพุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว,  
	 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จ
	 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ, พระศรีสุนทรโวหาร
	 (สุนทรภู่)
	 ๕.	 กลุ่มนักเรียนเขียนผังความคิดเกี่ยวกับ “ลักษณะของภูมิปัญญาไทย” เพราะ
“คุณสมบัติของผู้ทรงภูมิปัญญาไทย”
	 	 คำ�ถาม	 ๑)	 ในชุมชนของเรา มีเรื่องราวเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย อะไรบ้าง
	 	 จงอธิบาย
	 	 	 ๒)	ปัจจุบันนี้รัฐบาลมีการส่งเสริมอุตสาหกรรมท้องถิ่นด้านใดบ้าง
	 	 โดยเฉพาะในชุมชนของเรา
	 	 	 ๓)	 ในจังหวัดของเรา มีสินค้าอะไรบ้างที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
	 	 ผังความคิด
Untitled-1 109 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
110
	 	 ถาม	 ๑)	 ภูมิปัญญาไทยเกิดได้อย่างไร (ถ่ายทอด สืบทอด องค์ความรู้)
	 	 	 ๒)	 งานศิลปาชีพ เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทยหรือไม่ อย่างไร
	 	 	 ๓)	 การละเล่นของไทย ในท้องถิ่นของเรามีอะไรบ้าง ฯลฯ
	 ๖.	 ศึกษาและสืบค้นคุณค่าและความสำ�คัญของภูมิปัญญาไทย
	 	 กลุ่มนักเรียนระดมสมอง อภิปราย สรุป
		ผังความคิด
	 	 การส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
	 	 ๑.	 ยกย่อง “ครูภูมิปัญญาไทย”
	 	 ๒.	จัดให้มีศูนย์ภูมิปัญญาไทย
	 	 ๓.	จัดตั้งสภาภูมิปัญญาไทย
	 	 ๔.	จัดตั้งกองทุนภูมิปัญญาไทย
	 	 ๕.	การคุ้มครองลิขสิทธิ์ภูมิปัญญาไทย
	 	 ๖.	 ตั้งสถาบันแห่งชาติว่าด้วยภูมิปัญญาและการศึกษาไทย
	 	 ๗.	การประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ
	 ๗.	 ศึกษาสืบค้นสัมภาษณ์เขียนรายงานร่วมกับกลุ่มสาระศิลปะและภาษาไทย
เกี่ยวกับ
	 	 –	 วัฒนธรรมทางละครไทย (ละครรำ�)
	 	 –	 ประเพณีการเล่นละครรำ�
	 	 –	 การละเล่นพื้นเมือง ตามภูมิภาคและชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่
	 	 –	 ช้างเผือก (มีลักษณะพิเศษหายาก คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ เป็น
	 เครื่องหมายของชาติไทย เป็นครั้งแรก ฯลฯ)
	 	 –	 ฉันทลักษณ์ไทย
–	 ทำ�โครงงานเกี่ยวกับภูมิปัญญา
ไทย, งานศิลปาชีพ, การละเล่น
ของไทย
	 (แลกเปลี่ยนเรียนรู้)
–	 องค์ประกอบของภูมิปัญญา
ชาวบ้าน
	 ๑)	 ด้านการทำ�มาหากิน
	 ๒)	 ด้านสุขภาพอนามัย
	 ๓)	 ด้านการอยู่ร่วมกันใน
	 สังคม
	 ๔)	 ด้านประเพณีศาสนา และ
	 ความเชื่อ
	 ๕)	 ด้านสร้างสรรค์ศิลปะ
๑.	 ภูมิปัญญาด้านการทำ�มาหากิน
	 •	 วิธีการ และการประดิษฐ์
	 เครื่องมือ เครื่องใช้
	 •	 การทำ�เกษตรแบบผสมผสาน
	 •	 การสร้างฝาย
	 •	 การสร้างเครื่องมือเครื่องใช้
	 •	 การทำ�หัตถกรรมพื้นบ้าน
๒.	ด้านสุขภาพอนามัย
	 •	 การปรุงอาหาร - ถนอม
	 อาหาร
	 •	 การใช้ยาสมุนไพร
๓.	 ด้านอยู่ร่วมกันในสังคม
	 •	 การรดนํ้าดำ�หัวผู้ใหญ่
	 •	 การสู่ขวัญ
	 •	 การสืบชะตา
	 •	 การผูกเสี่ยว
	 •	 การผิดผี และเสียผี
	 •	 การไหว้ครูและการลงแขก
๔.	 ด้านงานประเพณีทางศาสนา
และการเคารพบูชาสิ่งเหนือ
ธรรมชาติ
Untitled-1 110 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
111
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 	 	 	 (กะวีสง่าแม้น	 มณีสาร
	 	 	 	 คำ�เพราะคือสังวาลย์	 กอบแก้ว
	 	 	 	 ควรเพิ่มพิริยการ	 กะวีเวท เทอญพ่อ
	 	 	 	 กอบกิจประเสริฐแล้ว	 ไม่ต้อง ร้อนตัว ฯ)
	 	 	 	 	 	 	 รัชกาลที่ ๖
	 ๘.	 ศึกษา ค้นคว้า ระดมสมอง สัมภาษณ์ เขียนรายงานเกี่ยวกับ
	 	 –	 ความเป็นมาของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในพระบรมราชินูปถัมภ์ สมเด็จ
พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
	 	 –	 งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคเหนือ
	 	 –	 งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคอีสาน
	 	 –	 งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคใต้
	 	 –	 งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคกลาง
	 	 –	 ศูนย์ศิลปาชีพต่างๆ
	 	 –	 ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพที่สำ�คัญ
	 	 –	 โรงฝึกศิลปาชีพ สวนจิตรลดา
	 	 –	 การเผยแพร่ผลงานภายในประเทศ
	 	 –	 การเผยแพร่ผลงานแก่ชาวต่างประเทศ
	 	 –	 งานศิลปาชีพ ในท้องถิ่น
	 ๙.	 ตัวอย่างคำ�ถาม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจ
	 ๑)	 หน้าที่ของนักเรียน ในบ้าน ในครอบครัว มีหน้าที่อะไรบ้าง
	 ๒)	 หน้าที่ของพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ในครอบครัว มีอะไรบ้าง
	 ๓)	 บ้านที่ดี มีลักษณะอย่างไร
	 ๔)	 วัฒนธรรมประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติในครอบครัว มีอะไรบ้าง ลอง
สอบถามดูว่า ปฏิบัติต่อเนื่องมาตั้งแต่ครั้งใด
	 ๕)	 อาชีพ หรือหัตถกรรมพื้นบ้าน ในครอบครัวหรือชุมชน มีอะไรบ้าง
ดำ�เนินมานานแล้วหรือยัง ตั้งแต่เมื่อใด ใครเป็นผู้ริเริ่ม
	 ๖)	 ครอบครัวไทยในชนบท ทุกคนรู้จักกัน และมีญาติพี่น้องในชุมชน
นักเรียนลองสืบถาม สอบค้น และจดบันทึก เพื่อทราบความเป็นมา
เป็นไป และเข้าใจในวัฒนธรรมประเพณี ความเป็นอยู่มากขึ้น
	 ๗)	 ผู้นำ�ในหมู่บ้าน คือใคร มีคุณสมบัติ และความสามารถในด้านใดบ้าง
	 ๘)	 จงอธิบายความเป็นอยู่ของผู้คนในหมู่บ้านที่แสดงออกถึงภูมิปัญญา
ไทย
	 ๙)	 การละเล่นในหมู่บ้านและชุมชนมีอะไรบ้าง มีความสำ�คัญอย่างไร
	 ๑๐)	 นักเรียนลองร้องเพลงกล่อมเด็ก ตามที่เคยได้ยินได้ฟังมา และบอก
ความหมายด้วย
	 •	 งานประเพณีแห่เทียน
	 พรรษา
	 •	 งานประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง
	 •	 งานประเพณีบูชาสิ่งเหนือ
	 ธรรมชาติ
	 •	 งานประเพณีบุญบั้งไฟ
	 •	 งานประเพณีไหลเรือไฟ
	 •	 งานประเพณีแห่ผีตาโขน
๕.	ภูมิปัญญาด้านสร้างสรรค์งาน
ศิลปะ
	 •	 ดนตรีพื้นเมือง
	 •	 การแสดงพื้นบ้าน ฯลฯ
(สารานุกรมไทยฯ เล่ม ๓, ๑๗
และ ๒๐)
ทำ�โครงงานสิ่งพบเห็นในชุมชน
หมู่บ้าน พร้อมภาพประกอบ เช่น
๑.	 การสร้างฝาย
๒.	 การสร้างเครื่องมือเครื่องใช้
ทางการเกษตร:-คันไถระหัด
ครก สุ่ม ข้อง ลอบ อีจู้ ล้น แห
อวน โพงพาง ยอ โป๊ะ ฯลฯ
๓.	 การทำ�หัตถกรรมพื้นบ้านที่
แสดงถึงภูมิปัญญาชาวบ้าน
	 –	 เครื่องไม้ เครื่องจักสาน
	 เครื่องทอ เครื่องดินเผา
	 เครื่องหนัง เครื่องโลหะ
	 ฯลฯ มีการประดิษฐ์ โดยใช้
	 วัตถุดิบที่หาง่ายในท้องถิ่น
	 เป็นเอกลักษณ์แต่ละ
	 ท้องถิ่น
	 –	 หัตถกรรมเครื่องไม้ เช่น
	 เครื่องเรือน เครื่องประดับ
	 ตกแต่ง สลักฉลุเป็น
	 ลวดลายต่างๆ
Untitled-1 111 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
112
	 ๑๑)	 ในชุมชนของนักเรียน มีประเพณีอะไรบ้างที่คนส่วนใหญ่ยึดถือ และ
ปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่องนักเรียนมีความคิดเห็นในเรื่องนี้อย่างไรบ้าง
	 ๑๒)	 ในหมู่บ้านนักเรียน มีการปลูกพืชผล หรือทำ�เกษตรกรรมอะไรบ้าง
และมีวิธีทำ�อย่างไร ทำ�มาแต่ครั้งใด
	 ๑๓)	 ในหมู่บ้านของนักเรียนมีผู้รู้ที่เรียกว่าปราชญ์ชาวบ้านหรือภูมิปัญญา
ชาวบ้านบ้างหรือไม่ ท่านมีวิถีชีวิตอย่างไร
	 ๑๔)	 การละเล่นพื้นเมืองในชุมชนของเรามีอะไรบ้างลองยกตัวอย่างที่รู้จัก
มาสัก ๑ อย่าง พร้อมคำ�อธิบาย
	 ๑๕)	 งานศิลปาชีพที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย ในชุมชนหรือในท้องถิ่นใกล้
บ้านนักเรียน มีอะไรบ้าง อธิบาย
	 ๑๖)	 สถานที่จัดงานประเพณีตามท้องถิ่นในชนบทมีศูนย์กลางอยู่ที่ใดบ้าง
หมายถึงงานที่ชาวบ้านจัดเองที่เป็นประเพณีท้องถิ่น(วัดหรือหมู่บ้าน)
	 ๑๗)	 ผู้นำ�ท้องถิ่นควรมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
	 ๑๘)	 ลองอธิบายแพทย์แผนไทยที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยมีความเป็นมาและ
ความสำ�คัญอย่างไร ปัจจุบันเหตุใดจึงมีการส่งเสริมด้านนี้
	 ๑๙)	 ผู้ที่จะเป็นแพทย์แผนไทยได้ต้องมีความรู้ด้านใดบ้าง
	 ๒๐)	 สมุนไพรไทย มีความสำ�คัญ และมีประโยชน์อย่างไร
	 ๑๐.	 วัดผล ประเมินผล บันทึกพฤติกรรมรายบุคคล
	 –	 เครื่องทอ ทอจากฝ้าย ไหม
	 กก กระจูด เป็นผ้าพื้นเมือง
	 และของใช้
	 –	 เครื่องดินเผา เคลือบ ไม่
	 เคลือบ โอ่ง ไห สังคโลก
	 ฯลฯ
๔.	 การปรุงอาหาร ถนอมอาหาร
หลากหลายตามภาคต่างๆ
(ควรรวบรวมไว้)
๕.	 การรักษาสุขภาพอนามัย :-
การใช้ยาสมุนไพร สืบทอด
กันมาในครอบครัวและชุมชน
เป็นแพทย์ทางเลือกในปัจจุบัน
	 การนวดเป็นการรักษาสุขภาพ
๖.	 การอยู่ร่วมกันในสังคม
๗.	 งานประเพณี ศาสนา
๘.	 สร้างสรรค์งานศิลปะ
w w w w w w w w
Untitled-1 112 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
113
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง พระพุทธศาสนา ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๑.๑	 รู้และเข้าใจประวัติความสำ�คัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๕	 ชื่นชมการทำ�ความดีของตนเองบุคคลในครอบครัวโรงเรียนและชุมชนตามหลักศาสนาพร้อมทั้งบอก
แนวปฏิบัติในการดำ�เนินชีวิต
ป. ๔/๖	 เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนา
จิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำ�หนด
ป. ๔/๗	 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์
ป. ๔/๘	 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป
ป. ๕/๖	 เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนา
จิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำ�หนด
ป. ๖/๕	 ชื่นชมการทำ�ความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดำ�เนิน
ชีวิต
ป. ๖/๖	 เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา และบริหารจิตเจริญปัญญา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระ-
พุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา
ป. ๖/๙	 อธิบายลักษณะสำ�คัญของศาสนพิธี พิธีกรรมของศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม
เมื่อต้องเข้าร่วมพิธี
มาตรฐาน ส ๑.๒	 เข้าใจตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธำ�รงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือ
ตัวชี้วัด
ป. ๕/๑	 จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตนนับถืออย่างเรียบง่าย มีประโยชน์ และปฏิบัติตนถูกต้อง
ป. ๕/๒	 ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำ�คัญทางศาสนาตามที่กำ�หนด และอภิปรายประโยชน์ที่
ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ป. ๕/๓	 มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำ�หนด
ป. ๖/๑	 อธิบายความรู้เกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ ในศาสนสถาน และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม
ป. ๖/๒	 มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามกำ�หนด
ป.๔-๖
Untitled-1 113 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
114
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๑.	 นักเรียนร้องเพลงสุนทราภรณ์ ที่เกี่ยวกับคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์ หรือ
เปิดเทปสนทนากันเกี่ยวกับความหมายของเพลง
	 	 –	 สวดมนต์ บูชาพระพุทธคุณ และสนทนาถึงความหมาย และคำ�แปล
	 และแผ่เมตตา
	 	 –	 สนทนาถึงความเชื่อ ความศรัทธา เกี่ยวกับการสวดมนต์ (ทุกศาสนา)
	 ทั้งทางความเชื่อ ความศรัทธา และทางวิทยาศาสตร์
	 	 –	 ฝึกสมาธิ เพื่อให้จิตสงบนิ่ง (ควรฝึกสมาธิก่อนเรียนทุกชั่วโมง จะช่วยให้
	 เด็กเรียนได้ดีขึ้น การฝึกสมาธิจะช่วยลดความกังวล ความเครียดอันก่อ
	 ให้เกิดโรคภัยต่างๆตามมาการฝึกสมาธิจะทำ�ให้รู้จักปล่อยวางไม่ยึดเหนี่ยว
	 หรือไม่ถือใจตนเองเป็นใหญ่)
	 	 	 	 การเจริญสมาธิ สามารถทำ�ได้ทุกโอกาส ทุกเวลา ทุกสถานที่ ทำ�ให้
ชาวพุทธ มีมรรยาท และบุคลิกภาพน่านับถือ คือสงบนิ่ง ไม่โวยวายเอา
แต่ใจตนเอง ทำ�ให้รู้จัก “เอาใจเขาใส่ใจเรา” รู้จักเห็นใจผู้อื่น
	 	 	 	 การปฏิบัติธรรม ทำ�ให้มนุษย์มีความหมายว่า “ผู้มีจิตใจสูง” เมื่อ
นักเรียนฝึกสมาธิแล้ว ควรฝึกหัดประเมินจิตใจ และความประพฤติของ
ตนเอง เช่น สำ�รวจตนเองว่า
	 	 –	 วันนี้เราโกรธใครหรือเปล่า
–	 เทปเพลง (อัดจากโทรทัศน์
ช่อง ๑๑)
–	 จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติ, เชิญ
วิทยากร
–	 ศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านใน
สังคมไทยปัจจุบัน เปลี่ยนไป
เพราะอะไร
ป. ๖/๓	 อธิบายประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี พิธีกรรม และกิจกรรมในวันสำ�คัญทางศาสนา ตามที่
กำ�หนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
๒.	สาระสำ�คัญ
หน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณีและสังคมไทย แสดงออกถึงมารยาทไทย
ได้เหมาะสม ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี บริหารจิตเจริญปัญญา หรือพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 บอกและอธิบายเกี่ยวกับวัดไทย พระพุทธรูป และพุทธประวัติได้
	 ๒.	 ทำ�โครงงานและอธิบายเกี่ยวกับวันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนาได้
	 ๓.	 สนทนาอธิบายเกี่ยวกับพระธรรมคำ�สั่งสอนของพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ ได้
	 ๔.	 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อ ความศรัทธา ในการนับถือศาสนาต่างๆ ได้
	 ๕.	 ชื่นชมการประพฤติปฏิบัติตนตามเบญจศีล เบญจธรรม และคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์ ของตนเอง
เพื่อนๆ ครู และบุคคลในครอบครัว และบุคคลอื่น
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
Untitled-1 114 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
115
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 •	 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
	 •	 พยายามอนุรักษ์ ส่งเสริม
	 พัฒนาภูมิปัญญาชาวบ้าน
	 ส่วนที่ยังเป็นประโยชน์
–	 หนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนา
และ/หรือศาสนาอื่นๆ ที่เรา
นับถือ
–	 การอนุรักษ์ส่งเสริมและพัฒนา
ภูมิปัญญาชาวบ้าน จำ�เป็นหรือ
ไม่อย่างไร อธิบายยกตัวอย่าง
เช่น
	 ๑.	 งานศิลปาชีพในสมเด็จ
	 พระนางเจ้าฯ พระบรม
	 ราชินีนาถ
	 ๒.	 โครงการหนึ่งตำ�บล หนึ่ง
	 ผลิตภัณฑ์
	 ๓.	 การสรรหา และยกย่อง
	 บุคคลดีเด่นทางภูมิปัญญา
	 ชาวบ้าน มีโครงการ
	 	 ๓.๑	 ครูภูมิปัญญาไทย
	 	 ๓.๒	ศิลปินแห่งชาติ
	 	 ๓.๓	 คนดีศรีสังคม
	 (สารานุกรมไทยฯ
ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๓)
–	 ทำ�โครงงาน
	 	 –	 วันนี้เราพูดไพเราะกับพ่อแม่หรือไม่
	 	 –	 ก่อนออกจากบ้านเราไหว้พ่อแม่หรือยัง
	 	 –	 เราไหว้คุณครูหรือยัง	
	 	 –	 เราทำ�ดีกับใครบ้าง
	 	 –	 ฯลฯ
	 	 	 	 ถ้าเรารู้ตัว หรือมีสติ เราจะเป็นคนดี ประพฤติดี ประพฤติชอบ ไม่เห็น
แก่ตัว ไม่พูดคำ�หยาบ ไม่ตะคอกใส่ผู้อื่น
	 	 	 	 กิจกรรมสำ�รวจตนเอง ควรทำ�เป็นกลุ่ม และสนทนาแลกเปลี่ยน
ความคิด การปฏิบัติ ฯลฯ กันเป็นประจำ� จะช่วยให้นักเรียนปรับนิสัย และ
มีจิตใจมั่นคง เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ไม่เห็นแก่ตัว
	 ๒.	 กลุ่มนักเรียนทำ�กิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
	 	 –	 ศึกษาพระพุทธประวัติ เขียนผังความคิด
	 	 –	 สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงประโยชน์ของศาสนาต่างๆ
	 	 –	 ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา
	 	 –	 วิถีชีวิตของชาวพุทธ
	 	 –	 การดำ�เนินชีวิตของพ่อแม่/ปู่ย่าตายาย
	 ๓.	 กลุ่มนักเรียนทำ�โครงงานเกี่ยวกับวันสำ�คัญทางศาสนา
	 	 –	 กิจกรรมที่เราจัดทำ�ในวันสำ�คัญๆ นั้น
	 	 –	 ทำ�กิจกรรมร่วมกับใครบ้าง กี่คน
	 	 –	 การวางแผนและเตรียมการ
	 	 –	 วัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องเตรียม (รวมทั้งเงิน ถ้าต้องใช้ ให้บอกว่าใช้จำ�นวน
	 เท่าไร)
	 	 –	 การดำ�เนินงานตามแผน
Untitled-1 115 9/13/11 1:41 PM
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc

More Related Content

What's hot

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
คน ขี้เล่า
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดทับทิม เจริญตา
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
ssuser6a0d4f
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
Thanawut Rattanadon
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
Lamai Fungcholjitt
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
koorimkhong
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 

What's hot (20)

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 

Viewers also liked

06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
Prachoom Rangkasikorn
 
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
Teemtaro Chaiwongkhot
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
Aiice Pimsupuk
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1Knes Kantaporn
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5พงศธร ภักดี
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
พงศธร ภักดี
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
school
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
พงศธร ภักดี
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
dnavaroj
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
คุณครูพี่อั๋น
 

Viewers also liked (20)

06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
Job3
Job3Job3
Job3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
ssuser6a0d4f
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc

  • 1. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 96 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง มรดกไทยในภูมิภาคของประเทศไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๔ อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น ป. ๕/๓ เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย ป. ๕/๔ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ป. ๖/๒ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม ป. ๖/๓ แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ ป. ๖/๔ อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย ป. ๖/๕ ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ ได้เหมาะสม มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๓ อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๒. สาระสำ�คัญ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม ประเพณีไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคของตนได้ ๒. เขียนโครงงาน - รายงานตามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคของตนเองได้ ๓. ตรวจสอบและประเมินค่าข้อมูลด้วยวิธีทางประวัติศาสตร์ได้ ป.๔-๖ Untitled-1 96 9/13/11 1:41 PM
  • 2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 97 ๔. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาด้านต่างๆ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้ ๕. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการดำ�เนินชีวิตของคนในภูมิภาคตนเองและภูมิภาคอื่นในอดีตและ ปัจจุบันได้ ๖. เห็นคุณค่าผลงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินชีวิตของคนในภูมิภาค ต่างๆ ในประเทศไทยได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. ร้องเพลงที่เกี่ยวกับประเทศไทย ตลอดจนภูมิภาคต่างๆ ๒. แบ่งกลุ่มนักเรียน ศึกษา ค้นคว้า เขียนรายงาน เกี่ยวกับข้อมูลในภูมิภาค เริ่ม จากภาคใต้ → เหนือ → อีสาน ฯลฯ ๓. ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในภูมิภาคต่างๆตลอดจนประโยชน์และผลงาน ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยในภูมิภาคเช่นบ้านทรงไทยตามภูมิภาคต่างๆอาหาร ยา - สมุนไพร เครื่องมือจับปลา - ทำ�นา ฯลฯ ๔. กลุ่มนักเรียนจัดป้ายนิเทศและนิทรรศการเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในภูมิภาค ต่างๆ รายงานหน้าชั้นและอธิบายให้เพื่อนนักเรียนและผู้มาเยี่ยมชมฟัง ๕. ศึกษาเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การอ่านการเขียนการนับทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เปรียบเทียบความสัมพันธ์ในการใช้พุทธศักราชและคริสต์ศักราช ลำ�ดับเหตุการณ์ที่สำ�คัญๆในภูมิภาคของตนและภูมิภาคอื่นที่เกี่ยวข้อง กันทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ๖. ศึกษาความเป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัย อยุธยา และกรุงเทพฯ ระบุ โครงสร้างการปกครองและสภาพเศรษฐกิจได้ เช่น – ประชาธิปไตยในประเทศไทยเริ่มขึ้นเมื่อใด – ทำ�ไมพระเจ้าแผ่นดินซึ่งอยู่ในส่วนกลางของประเทศจึงสามารถปกครอง หัวเมืองต่างๆ ได้อย่างเป็นสุข ราบรื่น ฯลฯ ๗. ศึกษามรดกวัฒนธรรมไทยบริเวณลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยา มีความเจริญรุ่งเรือง อย่างไร เหตุใดจึงเกิดศึกสงคราม และสามารถกู้ชาติได้อย่างไร ๘. ศึกษาเรื่องศาสนาและวัฒนธรรมที่มีบทบาทต่อวิถีชีวิตชาวไทยในสมัยอยุธยา ศิลปวัฒนธรรมที่ยังมีอยู่ ศึกษาได้จากที่ใดบ้าง ศูนย์ศึกษาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทยใกล้หัวหินที่สุดอยู่ที่ใด (จ. เพชรบุรี) มีอะไรบ้างและสำ�คัญอย่างไร ๙. เหตุการณ์สำ�คัญที่มีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองและการเปลี่ยนแปลงในสมัย อยุธยา อะไรบ้างที่เราควรศึกษาและนำ�มาเป็นแบบอย่างในการดำ�รงชีวิตปัจจุบัน – ปฏิบัติกิจกรรมตามโรงเรียน ต้นทาง – ทำ�โครงงานเกี่ยวกับบ้านไทย ชุมชนที่อยู่อาศัยและกิจกรรม ตามวิถีชีวิตไทยในชุมชนนั้นๆ – ศึกษาประวัติศาสตร์และ ภูมิปัญญาไทยจากอุทยาน ประวัติศาสตร์ในภูมิภาคต่างๆ เช่น ภาคเหนือ - สุโขทัย ๑. อุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย ๒. อุทยานประวัติศาสตร์ ศรีสัชนาลัย ๓. อุทยานประวัติศาสตร์ กำ�แพงเพชร ๔. ศรีเทพเพชรบูรณ์ – ในหัวข้อต่อไปนี้ ที่ตั้ง ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน (ดูสารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม การเรียนรู้เล่ม ๓) – เขียนรายงานประกอบโครง- งานวิถีชีวิตไทย (บริเวณลุ่มนํ้า เจ้าพระยาหรือภาคต่างๆ) และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่งให้ ร.ร. ต้นทาง – ทำ�โครงงานเกี่ยวกับนํ้าและ วิถีชีวิตคนไทย (ศึกษาจาก Untitled-1 97 9/13/11 1:41 PM
  • 3. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 98 ๑๐. คำ�ถาม - คำ�ตอบ ตามเรื่องที่เรียน คำ�ถามให้คิด วิเคราะห์ เช่น พูดถึง เหตุการณ์ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้จากอดีต - ปัจจุบัน ในอดีตพระ- มหากษัตริย์ทรงปกครองอย่างไรจึงราบรื่น ๑๑. ศึกษาวิถีชีวิตคนไทยที่เกี่ยวข้องกับนํ้า – การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน – การท่องเที่ยว – ลักษณะของเรือนไทย – โครงการพระราชดำ�ริ – การคมนาคม – การขุดบ่อ, การทำ�ไร่นาสวนผสม – การเพาะปลูก – จังหวัดชายทะเล ๑๒. ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นตามภูมิภาคต่างๆ – ที่อยู่อาศัย – ภาษาและการแต่งกาย – ประเพณีที่สำ�คัญๆ และประเพณีพื้นบ้าน – อาหารตามภูมิภาค – ศิลปหัตถกรรมตามภูมิภาค การรักษาและดำ�รงไว้, ปัญหา และการแก้ไข ๑๓. สำ�รวจและศึกษาความต้องการของตนเองและท้องถิ่นมีผลดี-ผลเสียอย่างไร อย่างไรเหมาะสมที่สุด - คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ๑๔. ศึกษาและทำ�โครงงานเกี่ยวกับวิถีชีวิตไทยแต่โบราณมา เช่น “ตลาดนํ้า วิถีชีวิตพ่อค้า - แม่ขายไทย” “ศรีอยุธยา ภูมิปัญญาชาวกรุงเก่า” “วิถีชีวิตคนไทยกับนํ้า” “เกาะรัตนโกสินทร์” “เกษตรกรรมศิลป์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น” และอื่นๆ ที่เกี่ยวกับภูมิภาคโดยครูและนักเรียนช่วยกันคิด หมายเหตุ : หัวข้อดังกล่าวข้างต้น ค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือเล่มเล็กที่ องค์การค้าคุรุสภา จัดพิมพ์* ๑๕. ศึกษา ค้นคว้า และเรียบเรียงเขียนรายงาน จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับ “ศิลปาชีพ” และ “อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย” (หมายเหตุ : จากสารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม ๒๙) โครงการพระราชดำ�ริฯ ประกอบ) – ศึกษาความเป็นมาของอุทยาน ประวัติศาสตร์ของไทย เช่น ปัจจุบันมี ๑๐ แห่ง กระจาย อยู่ตามภูมิภาคต่างๆ (จาก สารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๓) – ๔ แห่งเป็นมรดกโลก – อุทยานประวัติศาสตร์ทางด้าน วัฒนธรรม ถือเป็นสมบัติของ บรรพบุรุษ คือ ๑. อุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย ๒. อุทยานประวัติศาสตร์ ศรีสัชนาลัย ๓. อุทยานประวัติศาสตร์ กำ�แพงเพชร ๔. อุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา ความหมาย : บริเวณสถานที่ซึ่ง มีความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี (จากสารานุกรม ไทยสำ�หรับเยาวชน เล่ม ๒๑) – ภาคกลาง มีอุทยานฯ ที่ จ. พระนครศรีอยุธยา ๑. เมืองสิงห์ ๒. ไทรโยค จ. กาญจนบุรี ๓. พระนครคีรี จ. เพชรบุรี – ภาคอีสาน มีอุทยานประวัติ- ศาสตร์ ๑. ปราสาทหินพิมาย - จ. นครราชสีมา ๒. ปราสาทพนมรุ้ง - จ. บุรีรัมย์ ๓. ภูพระบาท - จ. อุดรธานี w w w w w w w w Untitled-1 98 9/13/11 1:41 PM
  • 4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 99 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง เอกลักษณ์ไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๔ อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น ป. ๕/๓ เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย ป. ๕/๔ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ป. ๖/๒ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม ป. ๖/๓ แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ ป. ๖/๔ อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย ป. ๖/๕ ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ ได้เหมาะสม มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๓ อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๒. สาระสำ�คัญ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม ประเพณีไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. สนทนา อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทยได้ ๒. บอกความหมายของเอกลักษณ์ไทยได้ ๓. อธิบายความเป็นมา และความหมายของภาษาไทย วรรณคดีไทย ดนตรีไทย เพลงไทย อาหารไทยได้ ป.๔-๖ Untitled-1 99 9/13/11 1:41 PM
  • 5. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 100 ๔. บอกเอกลักษณ์ของคนไทยได้ ๕. วิเคราะห์ความหมายของเอกลักษณ์ไทย ความสำ�คัญ และการรักษาไทยให้คงอยู่ได้อย่างไร ๖. บอกและอธิบายบทบาทความสัมพันธ์ระหว่างอำ�นาจของกลุ่มบุคคลในสังคมได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ฝึกสมาธิก่อนเรียน ๑. ร้องเพลงเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทย ๒. ใช้สื่อหลากหลาย เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ให้นักเรียนดูภาพยนตร์ วีดิทัศน์ ภาพ ซีดี อ่านหนังสือ ฟังเทป หรือ เครื่องบันทึกเสียงเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทยเพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ (ครูต้องรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งของสื่อการเรียนรู้และมีความรู้ ความเข้าใจคุณสมบัติของสื่อแต่ละชนิด ว่าสามารถสร้างประสบการณ์ การ เรียนให้แก่ผู้เรียนได้อย่างไร) ครูตั้งคำ�ถามเหล่านี้ เช่น – ภาพเหล่านี้บอกอะไรเราได้บ้าง – เมื่อฟังเพลงไทยแล้ว นักเรียนรู้สึกอย่างไร – นักเรียนเล่นดนตรีไทยเป็นหรือไม่ – นักเรียนเป่าขลุ่ย เป็นหรือไม่ – นักเรียนชอบเล่น / ฟัง ดนตรีไทยหรือไม่ จงบอกเหตุผลและอธิบาย – เอกลักษณ์ไทย หมายความถึงอะไร อย่างไร – เพราะเหตุใดเราจึงรักษาความเป็นไทยไว้ได้ – เราควรทำ�ตามอย่างวัยรุ่นชาติอื่นๆ หรือไม่ เพราะเหตุใด – นักเรียนลองบอกสิ่งที่นักเรียนชอบและไม่ชอบ และบอกเหตุผลว่า เพราะเหตุใด ฯลฯ – ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน ต้นทาง – ภาพเมืองหลวงและเมือง สำ�คัญๆ ของไทย – ภาพกรุงสุโขทัย – ภาพกรุงศรีอยุธยา – กรุงธนบุรี – กรุงรัตนโกสินทร์ – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๑๓ – ภาษาไทย – เรือนไทย – ชีวิตชนบทไทย – หัตถกรรมพื้นบ้าน – จิตรกรรมไทย – นาฏศิลป์ไทย – ตุ๊กตาไทย – การละเล่นของไทย – อาหารไทย – การประดิษฐ์ผักและผลไม้ – วีดิทัศน์รายการดนตรีไทยจาก รายการ “คุณพระช่วย” สถานี โทรทัศน์ช่อง ๙ – ภาพและคำ�อธิบายเกี่ยวกับ ดนตรีไทย – ดูรายการเล่าให้นักเรียนฟัง สนทนา ซักถาม – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๖ Untitled-1 100 9/13/11 1:41 PM
  • 6. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 101 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ช่วยกันรวบรวมข้อมูล เหตุผลที่ได้จากคำ�ถาม คำ�ตอบ และช่วยกันวิเคราะห์ ว่าเอกลักษณ์ไทยหมายความว่าอย่างไร ให้เรียบร้อยเป็นข้อความ พอเข้าใจ ช่วยกันสรุปและจดไว้ในสมุด ๓. กลุ่มนักเรียนช่วยกันศึกษา ค้นคว้าต่อ และอภิปราย วิเคราะห์ “ความสำ�คัญ ของเอกลักษณ์ไทย” “การรักษาไว้ให้คงอยู่อย่างไร” แต่ละกลุ่มใช้หลากหลายวิธีในการวิเคราะห์ (ตามที่ได้อธิบายวิธีการไว้ ในแผนฯ ที่แล้ว) รายงานหน้าชั้น อภิปราย และช่วยกันสรุป ๔. เขียนบทละครสั้นๆ หรือเขียนสคริปต์แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับบทบาท ความสัมพันธ์ของกลุ่มผู้บริหารท้องถิ่น และข้าราชการแต่ละกลุ่มคิดพล็อต เรื่องเองแสดงเสร็จแล้วช่วยกันอภิปรายให้เหตุผลและสรุปอาจยกตัวอย่าง บทวิเคราะห์ตามสื่อสิ่งพิมพ์และร่วมอภิปราย เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เพราะ เหตุใด ๕. ทำ�โครงงาน เกี่ยวกับอาหารไทย เพลงไทย ดนตรีไทย ฯลฯ ตามที่แต่ละกลุ่ม ถนัด รายงานพร้อมภาพและเสียง อภิปราย แสดงความคิดเห็นและสรุป ๖. บันทึกพฤติกรรม วัดผล ประเมินผล – นิทานไทยประเภทต่างๆ ๑๑ ประเภท – งานศิลปาชีพของไทย (สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙) – เปรียบเทียบกับเรื่องศรีธนญชัย – ภาพ/วีดิทัศน์อาหารไทย หมายเหตุ ควรทำ�โครงงานเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทยในท้องถิ่นและชุมชน ให้กลุ่มนักเรียนสืบค้น ถ่ายภาพ และทำ�รายงานให้ละเอียด ผลงานที่นักเรียนรวบรวมควรนำ�ไปเขียนสคริปต์และถ่ายทำ�ในโครงการนวัตกรรม “ก้าวใหม่การศึกษาไทย” และเขียนลงวารสาร หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น - ส่วนกลาง ตามลำ�ดับ ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับกีฬาพื้นเมืองไทย ซึ่งมีอีกมากมาย ควรส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเล่น เพื่อให้ร่างกาย แข็งแรงทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดใดมีกีฬาพื้นเมืองไทยที่แปลกออกไปควรเขียนส่งมาให้ด้วย Untitled-1 101 9/13/11 1:41 PM
  • 7. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 102 ตัวอย่างผังความคิด ศึกษาเรื่องนิทานไทย และกีฬาพื้นเมืองไทย จากสารานุกรมไทยฯ และหนังสือกีฬาพื้นเมืองไทย กีฬาพื้นเมืองไทยภาคกลาง – กระโดดเชือกเดี่ยว - หมู่ – ปรบไก่ – ช่วงชัยขี่ – ปิดตาตีหม้อ – ชักเย่อ – กาฟักไข่ – ช้อนมะนาว – ขว้างตะกร้อ – ชิงกันเป็นเจ้าของวง – ขว้างนุ่น (จ.สกาญจนบุรี) – ตีป้อม – ตี่จับ – เตย – ไถนา – ชิงเชลย – ปลาหมอตกกระทะ – ขี่ม้าชนกัน – โพงพาง – ชิงธง – มอญซ่อนผ้า – แข่งกระทะ – ไม้หึ่ง – ต้องเต – แข่งเกวียน – ตังเตมอญ – รีรีข้าวสาร – แข่งเรือ – ลิงชิงหลัก – ตาเขย่ง – แข่งเรือคน – วิ่งเก็บของ – วิ่งวัวคน – แข่งว่าว – วิ่งสวมกระสอบ – แคร่หาม – วิ่งสามขา – งูกินหาง – วิ่งเปี้ยว – ช่วงชัย จากกีฬาพื้นเมืองไทย ภาคกลาง รศ. ชัชชัย โกมารทัต w w w w w w w w Untitled-1 102 9/13/11 1:41 PM
  • 8. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 103 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๔ อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น ป. ๕/๓ เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย ป. ๕/๔ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ป. ๖/๒ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม ป. ๖/๓ แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ ป. ๖/๔ อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย ป. ๖/๕ ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ ได้เหมาะสม มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๓ อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๒. สาระสำ�คัญ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม ประเพณีไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ทำ�โครงงาน และอภิปรายเกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุได้ อธิบายเกี่ยวกับพัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน ของรัฐไทยได้ ๒. สนทนา อภิปราย อธิบาย ให้เหตุผลเกี่ยวกับโบราณสถาน และโบราณวัตถุของไทย ป.๔-๖ Untitled-1 103 9/13/11 1:41 PM
  • 9. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 104 ๓. บอกและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อโบราณสถานและโบราณวัตถุของไทย (เข้าใจปัจจัยพื้นฐานและ ผลกระทบจากภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตน) ๔. อธิบายและวิเคราะห์ โบราณสถานและโบราณวัตถุของไทยที่เกิดขึ้นและบอกแหล่งอารยธรรมสมัยต่างๆ ได้ (รู้และเข้าใจประวัติและผลงานของบุคคลสำ�คัญในประวัติศาสตร์) ๕. ปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรมในครอบครัวท้องถิ่นและเอกลักษณ์ที่สำ�คัญของชาติได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๔ - ๕ คน ระดับความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการ การตั้งถิ่นฐานของรัฐไทย ว่ามีความเป็นมา ย้ายถิ่นฐานมาจากที่ใด ทำ�เป็น โครงงานศึกษาเกี่ยวกับโบราณสถานโบราณวัตถุในถิ่นที่อยู่อาศัยหรือจังหวัด ใกล้เคียง ๒. จัดสนทนา อภิปราย นักเรียนเกี่ยวกับเหตุผลที่ต้องอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุของไทยไว้ เพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งศึกษาทางประวัติ- ศาสตร์ ปลูกฝังให้เกิดความรักความหวงแหนในมรดกของชาติ ๓. ระดมสมอง เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อโบราณสถาน และโบราณ วัตถุ เขียนเป็นผังความคิดพอเข้าใจ ดังนี้ ฝึกให้นักเรียนคิดและช่วยกันหาคำ�ตอบอาจใช้วิธีการอื่นเช่นกรณีศึกษาให้ กลุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มจัดทำ� ๔. กรณีศึกษา ให้กลุ่มนักเรียนฝึกอ่านเรื่องสั้นๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา เรื่อง “ผลกระทบต่อโบราณสถานและโบราณวัตถุ” ให้นักเรียนสร้างข้อ สมมติฐาน กรณีศึกษา ทำ�ให้นักเรียนมีประสบการณ์ การคาดคะเนอนาคต ด้วย ๕. การเรียนแบบร่วมมือให้กลุ่มนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทำ�งานด้วยกันในกลุ่ม ย่อย ซึ่งมีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ประชุมวางแผน แบ่งงาน กันทำ� + ร่วมกันทำ�งานตามบทบาท + หน้าที่ตามที่ตกลงกัน ครูทำ�หน้าที่ – ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน ต้นทาง – ภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุ – เหตุใดจึงมีการจัดตั้งอุทยาน ประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ๑. อนุรักษ์ ๒. บูรณะตกแต่งอย่างถูกต้อง ๓. จัดสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ – ลักษณะสำ�คัญของอุทยาน ประวัติศาสตร์แต่ละแห่ง – อุทยานที่ได้รับยกย่องเป็นมรดก โลก – หนังสือพิมพ์ เอกสาร – ภาพต่างๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีไทย – สิ่งของเครื่องใช้เกี่ยวกับวิถีชีวิต ไทยและหัตถกรรมพื้นบ้าน – อัดเทปเพลงไทย – อัดเทปคำ�พูดบทสนทนาเกี่ยวกับ มรรยาทไทยมาเปิดให้นักเรียน ฟัง Untitled-1 104 9/13/11 1:41 PM
  • 10. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 105 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง เป็นที่ปรึกษา คอยอำ�นวยความสะดวกในการค้นคว้าศึกษา และเรียนรู้ นักเรียนทำ�หน้าที่เป็นผู้รู้ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กันและกัน (อาจไปถามจาก พ่อแม่ ผู้ปกครอง + อ่านหนังสือ) ซึ่งอาจช่วยกันทำ�ได้หลายวิธี เช่น ร่วม มือกันศึกษา ค้นคว้า เรื่อง “วิเคราะห์โบราณสถานและโบราณวัตถุของไทย ที่เกิดขึ้นในสมัยต่างๆ” วิธีที่หนึ่ง “ต่อเติมเสริมสร้าง” (Jigsaw) ผู้เรียนแต่ละคนช่วยกัน ค้นคว้า ศึกษาคนละ ๑ หัวข้อย่อย (หลังจากที่เขียนผังความคิดแล้ว) เสมือน เป็นผู้เชี่ยวชาญในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งแล้วให้ความรู้แก่เพื่อนในกลุ่มเฉพาะ ข้อนั้นๆแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกันทุกคนก็จะได้ความรู้ อย่างกระจ่าง ชัดเจนทุกข้อ วิธีที่สอง “ร่วมหัวร่วมคิด” (Numbered Heads Together) ร่วมมือกัน ทำ�งาน ที่จะตอบคำ�ถามที่ครูกำ�หนดให้ โดยครูมอบหมายข้อใดข้อหนึ่ง ให้ผู้เรียน ก็ต้องรวบรวมคำ�ตอบที่ได้จากทุกคนในกลุ่มร่วมกันหาคำ�ตอบ เป็นการแข่งขันระหว่างกลุ่ม เป็นการพัฒนาทักษะ + กระบวนการคิด วิธีที่สาม “คู่คิดคู่สร้าง” ให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ศึกษาเรื่องหรือหัวข้อใด หัวข้อหนึ่งตามลำ�พัง แต่ละคนก่อน หลังจากนั้นจึงจับคู่อภิปราย ในสิ่งที่ แต่ละคนได้ศึกษามาแล้วนั้น เมื่อทบทวนแลกเปลี่ยนความคิดแล้ว ช่วยกัน สรุปเป็นคำ�ตอบ ๖. จัดอภิปราย,โต้วาทีระหว่างกลุ่มเรื่อง“วัฒนธรรมไทยส่งเสริมการท่องเที่ยว” เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเชื่อมโยงในสิ่งที่ได้ศึกษา ค้นคว้าเข้า ด้วยกัน กิจกรรมโต้วาทีช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกจัดระบบข้อมูล ความรู้ต่างๆ มา สนับสนุนความคิดเห็นของตนและใช้ทักษะทางภาษาเพื่อสื่อสารจูงใจผู้อื่น ๗. กลุ่มนักเรียนจัดระบบความคิด ด้วยกราฟิก ทักษะการเขียน และอ่าน กราฟิก เป็นกิจกรรมที่สำ�คัญ ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดรวบยอด และความคิดสร้างสรรค์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ได้แก่การเขียนแผนภูมิ แผนผัง แผนภาพ ตาราง กราฟ แผนที่ ความคิดต่างๆ ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะความคิดผ่านการใช้กราฟฟิกเหล่านี้ ๘. บันทึกพฤติกรรม วัดผล ประเมินผล – เทป เพลงกล่อมเด็ก เพลงพื้นบ้าน ฯลฯ การศึกษาอุทยานประวัติศาสตร์ – ทำ�ให้เราเรียนรู้อะไรบ้าง อย่างไร – ทำ�ไมจึงต้องมีการอนุรักษ์และ ศึกษา ศึกษาเรื่องหอพระไตรปิฎก – คือหอสมุดของวัด – เก็บหนังสือคำ�สอนพระ- พุทธเจ้า – ให้พระสงฆ์ศึกษาเล่าเรียน – เหมือนห้องสมุดโรงเรียน บริเวณวัดทางพระพุทธศาสนา แบ่งพื้นที่เป็น ๒ เขต – เขตสังฆาวาส กุฏิ หอพระไตร- ปิฎก – เขตพุทธาวาสโบสถ์วิหารเจดีย์ (สารานุกรมไทยฯ เล่ม ๓๐) w w w w w w w w Untitled-1 105 9/13/11 1:41 PM
  • 11. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 106 ลำ�ดับพระมหากษัตริย์ไทย ประเทศไทยมีลักษณะสำ�คัญคือ มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นองค์พระประมุขต่อเนื่อง กันมาโดยตลอดไม่ขาดสายทรงเป็นที่เคารพบูชาเทิดทูนของประชาชนชาวไทยทั้งนี้เพราะพระองค์ทรงประกอบพระราช- กรณียกิจเป็นคุณประโยชน์ต่อความมั่นคงของประเทศและความร่มเย็นเป็นสุขของประชาชนตลอดมาในประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัฐโบราณบนผืนแผ่นดินไทย ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๔ เป็นต้นมา รัฐทั้งหลายมีการติดต่อค้าขาย มีความ สัมพันธ์ทางเครือญาติรับอารยธรรมของรัฐอื่นด้วยเช่นการแพร่หลายของอารยธรรมทวาราวดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ในรัฐอื่นๆ ทั่วทุกภาคของไทย เมื่อขอบขยายอำ�นาจ หลายรัฐโบราณในภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตกอยู่ใต้อิทธิพลขอม เมื่อขอมเสื่อมอำ�นาจ รัฐสุโขทัยซึ่งมีเมืองสำ�คัญ คือศรีสัชนาลัย - สุโขทัย จึงรวมกำ�ลังก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัย ขึ้นปลายศตวรรษที่ ๑๘ (จากสารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๓) หมายเหตุ โบราณสถานโบราณวัตถุเป็นสมบัติของคนไทยทุกคนซึ่งบรรพบุรุษของเราได้สั่งสมไว้ในชุมชนใดจังหวัดใด มีโบราณสถาน โบราณวัตถุ คุณครูควรให้ทำ�โครงงานศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความรักและ หวงแหนรักษาสมบัติของชาติโดยส่วนรวมให้ช่วยกันดูแลรักษาเพื่อป้องกันพวกมิจฉาชีพที่จ้องทำ�ลายทรัพย์สมบัติของ ชาติ ดังที่มีข่าวเกิดขึ้นหลายแห่ง ทั้งที่ปราสาทพนมรุ้ง และตามวัดวาอารามต่างๆ ขอให้พวกเราช่วยกันรักษาสมบัติของ ชาติไว้ เพื่อลูกหลานของเราต่อไป โรงเรียนใดพบเหตุการณ์ที่ส่อไปในทางอันตราย ดังข่าว ขอให้เขียนจดหมายบอกกล่าวเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ควรใช้พลังมด ป้องกันทรัพย์สมบัติของชาติให้ได้ w w w w w w w w ภ า ค ผ น ว ก Untitled-1 106 9/13/11 1:41 PM
  • 12. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 107 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ภูมิปัญญาไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำ�รงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๔ อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น ป. ๕/๓ เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิตในสังคมไทย ป. ๕/๔ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ป. ๖/๒ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำ�รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม ป. ๖/๓ แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ ป. ๖/๔ อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย ป. ๖/๕ ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ ได้เหมาะสม มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำ�รงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๓ อธิบายความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๒. สาระสำ�คัญ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ออยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์และวัฒนธรรม ประเพณีไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ทำ�โครงงาน และอภิปรายเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยได้ ๒. บอกและอธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยได้ ๓. บอกและอธิบายความเป็นมาของศิลปาชีพได้ ป.๔-๖ Untitled-1 107 9/13/11 1:41 PM
  • 13. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 108 ๔. ศึกษาและสำ�รวจรายงานผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพได้ ๕. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์และตรวจสอบได้ ๖. บันทึกข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์และตรวจสอบได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. กลุ่มนักเรียนประชุมระดมสมอง เขียนผังความคิดเกี่ยวกับ – กิจวัตรประจำ�วันของตนเอง ครอบครัว ชุมชน – สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย และวัฒนธรรมประเพณี – ภาษา การแต่งกาย การละเล่น การร้องรำ�ทำ�เพลง – การพูดจาทักทาย การแสดงความเคารพ จัดทำ�โครงงานเพื่อสืบค้น สังเกต และศึกษา อภิปราย รายงานหน้าชั้น ตลอดจนวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และปัญหา ร่วมกันเสนอแนะ วิธีการ แนวคิด การแก้ปัญหา ๒. แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับภาพต่างๆ ของไทย – การละเล่นแบบไทย – เพลงกล่อมเด็ก – ศิลปาชีพ – ประเพณีทำ�บุญต่างๆ สรุปความคิด จากอดีตสู่ปัจจุบัน ๓. ศึกษา สำ�รวจ สัมภาษณ์ สอบถาม เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย ๑๐ สาขา – เกษตรกรรม – อุตสาหกรรมและหัตถกรรม – แพทย์แผนไทย – จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม – กองทุนและธุรกิจชุมชน – สวัสดิการ – ศิลปกรรม – จัดการองค์กร – ภาษาและวรรณกรรม – ศาสนาและประเพณี ทำ�โครงงาน และรายงาน ร่วมกันจัดป้ายนิเทศ จัดทำ�สมุดภาพ ๔. ศึกษา รวบรวม ยกย่อง ผู้ทรงภูมิปัญญาไทยอย่างต่อเนื่อง เพราะเหตุใด สาขาใด – ศึกษาความหมายของสังคม และวัฒนธรรมไทย และปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง (สารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม การเรียนรู้ เล่ม ๓) – ซีดี, เทปเพลง วิทยากร – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๓ – ศึกษาลักษณะสำ�คัญของสังคม และวัฒนธรรมไทย ๑. มีความหลากหลายในด้าน เชื้อชาติศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ๒. มีการยึดมั่นในคุณธรรม เป็นแนวทางการดำ�รงชีวิต ๓. เทิดทูนสถาบันพระมหา- กษัตริย์เป็นสถาบันหลัก ของชาติ – ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย สมัยอยุธยา ๑. บางอย่างสืบทอดจากสมัย สุโขทัย ๒. สังคมแบ่งชนชั้น • ชนชั้นผู้ปกครอง • พระสงฆ์ • ชนชั้นผู้ถูกปกครอง ๓. ด้านการปกครองรับอิทธิพล ขอม Untitled-1 108 9/13/11 1:41 PM
  • 14. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 109 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๔. ด้านศาสนา ลัทธิลังกาวงศ์ ยังมีความสำ�คัญ ๕. ด้านศิลปวัฒนธรรมมีความ หลากหลายมากขึ้น ๖. ด้านสถาปัตยกรรมทางพระ- พุทธศาสนา:–สร้างปรางค์ และเจดีย์หลายรูปแบบ (สารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม การเรียนรู้ เล่ม ๓) – ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือ พื้น ความรู้ความสามารถ มีการ ถ่ายทอดของคนรุ่นหนึ่ง ต่อไป อีกรุ่นหนึ่ง จนถึงปัจจุบัน – ภูมิปัญญาไทย เป็นภูมิปัญญา ของคนไทยโดยรวม ภูมิปัญญาด้านการเกษตร – การเกษตรแบบผสมผสาน • การทำ�ไร่นาสวนผสม • ปลูกพืชหลายชนิด • เลี้ยงสัตว์ :- หมู ไก่ ปลา • รักษาความอุดมสมบูรณ์ของ ดิน • การป้องกันโรคพืชฯ • ใช้แรงงานตลอดปี • มีอาหารบริโภคพอเพียง • สอดคล้องแนวพระราชดำ�ริฯ – ศิลปินแห่งชาติ ผู้มีผลงานทางวัฒนธรรมดีเด่น และคนดีศรีสังคม – นักปราชญ์ไทยที่มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมได้รับการยกย่องจากองค์กร ศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ, พระศรีสุนทรโวหาร (สุนทรภู่) ๕. กลุ่มนักเรียนเขียนผังความคิดเกี่ยวกับ “ลักษณะของภูมิปัญญาไทย” เพราะ “คุณสมบัติของผู้ทรงภูมิปัญญาไทย” คำ�ถาม ๑) ในชุมชนของเรา มีเรื่องราวเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย อะไรบ้าง จงอธิบาย ๒) ปัจจุบันนี้รัฐบาลมีการส่งเสริมอุตสาหกรรมท้องถิ่นด้านใดบ้าง โดยเฉพาะในชุมชนของเรา ๓) ในจังหวัดของเรา มีสินค้าอะไรบ้างที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ผังความคิด Untitled-1 109 9/13/11 1:41 PM
  • 15. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 110 ถาม ๑) ภูมิปัญญาไทยเกิดได้อย่างไร (ถ่ายทอด สืบทอด องค์ความรู้) ๒) งานศิลปาชีพ เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทยหรือไม่ อย่างไร ๓) การละเล่นของไทย ในท้องถิ่นของเรามีอะไรบ้าง ฯลฯ ๖. ศึกษาและสืบค้นคุณค่าและความสำ�คัญของภูมิปัญญาไทย กลุ่มนักเรียนระดมสมอง อภิปราย สรุป ผังความคิด การส่งเสริมภูมิปัญญาไทย ๑. ยกย่อง “ครูภูมิปัญญาไทย” ๒. จัดให้มีศูนย์ภูมิปัญญาไทย ๓. จัดตั้งสภาภูมิปัญญาไทย ๔. จัดตั้งกองทุนภูมิปัญญาไทย ๕. การคุ้มครองลิขสิทธิ์ภูมิปัญญาไทย ๖. ตั้งสถาบันแห่งชาติว่าด้วยภูมิปัญญาและการศึกษาไทย ๗. การประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ ๗. ศึกษาสืบค้นสัมภาษณ์เขียนรายงานร่วมกับกลุ่มสาระศิลปะและภาษาไทย เกี่ยวกับ – วัฒนธรรมทางละครไทย (ละครรำ�) – ประเพณีการเล่นละครรำ� – การละเล่นพื้นเมือง ตามภูมิภาคและชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่ – ช้างเผือก (มีลักษณะพิเศษหายาก คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ เป็น เครื่องหมายของชาติไทย เป็นครั้งแรก ฯลฯ) – ฉันทลักษณ์ไทย – ทำ�โครงงานเกี่ยวกับภูมิปัญญา ไทย, งานศิลปาชีพ, การละเล่น ของไทย (แลกเปลี่ยนเรียนรู้) – องค์ประกอบของภูมิปัญญา ชาวบ้าน ๑) ด้านการทำ�มาหากิน ๒) ด้านสุขภาพอนามัย ๓) ด้านการอยู่ร่วมกันใน สังคม ๔) ด้านประเพณีศาสนา และ ความเชื่อ ๕) ด้านสร้างสรรค์ศิลปะ ๑. ภูมิปัญญาด้านการทำ�มาหากิน • วิธีการ และการประดิษฐ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ • การทำ�เกษตรแบบผสมผสาน • การสร้างฝาย • การสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ • การทำ�หัตถกรรมพื้นบ้าน ๒. ด้านสุขภาพอนามัย • การปรุงอาหาร - ถนอม อาหาร • การใช้ยาสมุนไพร ๓. ด้านอยู่ร่วมกันในสังคม • การรดนํ้าดำ�หัวผู้ใหญ่ • การสู่ขวัญ • การสืบชะตา • การผูกเสี่ยว • การผิดผี และเสียผี • การไหว้ครูและการลงแขก ๔. ด้านงานประเพณีทางศาสนา และการเคารพบูชาสิ่งเหนือ ธรรมชาติ Untitled-1 110 9/13/11 1:41 PM
  • 16. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 111 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง (กะวีสง่าแม้น มณีสาร คำ�เพราะคือสังวาลย์ กอบแก้ว ควรเพิ่มพิริยการ กะวีเวท เทอญพ่อ กอบกิจประเสริฐแล้ว ไม่ต้อง ร้อนตัว ฯ) รัชกาลที่ ๖ ๘. ศึกษา ค้นคว้า ระดมสมอง สัมภาษณ์ เขียนรายงานเกี่ยวกับ – ความเป็นมาของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในพระบรมราชินูปถัมภ์ สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ – งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคเหนือ – งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคอีสาน – งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคใต้ – งานส่งเสริมศิลปาชีพ ในภาคกลาง – ศูนย์ศิลปาชีพต่างๆ – ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพที่สำ�คัญ – โรงฝึกศิลปาชีพ สวนจิตรลดา – การเผยแพร่ผลงานภายในประเทศ – การเผยแพร่ผลงานแก่ชาวต่างประเทศ – งานศิลปาชีพ ในท้องถิ่น ๙. ตัวอย่างคำ�ถาม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจ ๑) หน้าที่ของนักเรียน ในบ้าน ในครอบครัว มีหน้าที่อะไรบ้าง ๒) หน้าที่ของพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ในครอบครัว มีอะไรบ้าง ๓) บ้านที่ดี มีลักษณะอย่างไร ๔) วัฒนธรรมประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติในครอบครัว มีอะไรบ้าง ลอง สอบถามดูว่า ปฏิบัติต่อเนื่องมาตั้งแต่ครั้งใด ๕) อาชีพ หรือหัตถกรรมพื้นบ้าน ในครอบครัวหรือชุมชน มีอะไรบ้าง ดำ�เนินมานานแล้วหรือยัง ตั้งแต่เมื่อใด ใครเป็นผู้ริเริ่ม ๖) ครอบครัวไทยในชนบท ทุกคนรู้จักกัน และมีญาติพี่น้องในชุมชน นักเรียนลองสืบถาม สอบค้น และจดบันทึก เพื่อทราบความเป็นมา เป็นไป และเข้าใจในวัฒนธรรมประเพณี ความเป็นอยู่มากขึ้น ๗) ผู้นำ�ในหมู่บ้าน คือใคร มีคุณสมบัติ และความสามารถในด้านใดบ้าง ๘) จงอธิบายความเป็นอยู่ของผู้คนในหมู่บ้านที่แสดงออกถึงภูมิปัญญา ไทย ๙) การละเล่นในหมู่บ้านและชุมชนมีอะไรบ้าง มีความสำ�คัญอย่างไร ๑๐) นักเรียนลองร้องเพลงกล่อมเด็ก ตามที่เคยได้ยินได้ฟังมา และบอก ความหมายด้วย • งานประเพณีแห่เทียน พรรษา • งานประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง • งานประเพณีบูชาสิ่งเหนือ ธรรมชาติ • งานประเพณีบุญบั้งไฟ • งานประเพณีไหลเรือไฟ • งานประเพณีแห่ผีตาโขน ๕. ภูมิปัญญาด้านสร้างสรรค์งาน ศิลปะ • ดนตรีพื้นเมือง • การแสดงพื้นบ้าน ฯลฯ (สารานุกรมไทยฯ เล่ม ๓, ๑๗ และ ๒๐) ทำ�โครงงานสิ่งพบเห็นในชุมชน หมู่บ้าน พร้อมภาพประกอบ เช่น ๑. การสร้างฝาย ๒. การสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ ทางการเกษตร:-คันไถระหัด ครก สุ่ม ข้อง ลอบ อีจู้ ล้น แห อวน โพงพาง ยอ โป๊ะ ฯลฯ ๓. การทำ�หัตถกรรมพื้นบ้านที่ แสดงถึงภูมิปัญญาชาวบ้าน – เครื่องไม้ เครื่องจักสาน เครื่องทอ เครื่องดินเผา เครื่องหนัง เครื่องโลหะ ฯลฯ มีการประดิษฐ์ โดยใช้ วัตถุดิบที่หาง่ายในท้องถิ่น เป็นเอกลักษณ์แต่ละ ท้องถิ่น – หัตถกรรมเครื่องไม้ เช่น เครื่องเรือน เครื่องประดับ ตกแต่ง สลักฉลุเป็น ลวดลายต่างๆ Untitled-1 111 9/13/11 1:41 PM
  • 17. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 112 ๑๑) ในชุมชนของนักเรียน มีประเพณีอะไรบ้างที่คนส่วนใหญ่ยึดถือ และ ปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่องนักเรียนมีความคิดเห็นในเรื่องนี้อย่างไรบ้าง ๑๒) ในหมู่บ้านนักเรียน มีการปลูกพืชผล หรือทำ�เกษตรกรรมอะไรบ้าง และมีวิธีทำ�อย่างไร ทำ�มาแต่ครั้งใด ๑๓) ในหมู่บ้านของนักเรียนมีผู้รู้ที่เรียกว่าปราชญ์ชาวบ้านหรือภูมิปัญญา ชาวบ้านบ้างหรือไม่ ท่านมีวิถีชีวิตอย่างไร ๑๔) การละเล่นพื้นเมืองในชุมชนของเรามีอะไรบ้างลองยกตัวอย่างที่รู้จัก มาสัก ๑ อย่าง พร้อมคำ�อธิบาย ๑๕) งานศิลปาชีพที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย ในชุมชนหรือในท้องถิ่นใกล้ บ้านนักเรียน มีอะไรบ้าง อธิบาย ๑๖) สถานที่จัดงานประเพณีตามท้องถิ่นในชนบทมีศูนย์กลางอยู่ที่ใดบ้าง หมายถึงงานที่ชาวบ้านจัดเองที่เป็นประเพณีท้องถิ่น(วัดหรือหมู่บ้าน) ๑๗) ผู้นำ�ท้องถิ่นควรมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ๑๘) ลองอธิบายแพทย์แผนไทยที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยมีความเป็นมาและ ความสำ�คัญอย่างไร ปัจจุบันเหตุใดจึงมีการส่งเสริมด้านนี้ ๑๙) ผู้ที่จะเป็นแพทย์แผนไทยได้ต้องมีความรู้ด้านใดบ้าง ๒๐) สมุนไพรไทย มีความสำ�คัญ และมีประโยชน์อย่างไร ๑๐. วัดผล ประเมินผล บันทึกพฤติกรรมรายบุคคล – เครื่องทอ ทอจากฝ้าย ไหม กก กระจูด เป็นผ้าพื้นเมือง และของใช้ – เครื่องดินเผา เคลือบ ไม่ เคลือบ โอ่ง ไห สังคโลก ฯลฯ ๔. การปรุงอาหาร ถนอมอาหาร หลากหลายตามภาคต่างๆ (ควรรวบรวมไว้) ๕. การรักษาสุขภาพอนามัย :- การใช้ยาสมุนไพร สืบทอด กันมาในครอบครัวและชุมชน เป็นแพทย์ทางเลือกในปัจจุบัน การนวดเป็นการรักษาสุขภาพ ๖. การอยู่ร่วมกันในสังคม ๗. งานประเพณี ศาสนา ๘. สร้างสรรค์งานศิลปะ w w w w w w w w Untitled-1 112 9/13/11 1:41 PM
  • 18. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 113 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง พระพุทธศาสนา ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติความสำ�คัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๔/๕ ชื่นชมการทำ�ความดีของตนเองบุคคลในครอบครัวโรงเรียนและชุมชนตามหลักศาสนาพร้อมทั้งบอก แนวปฏิบัติในการดำ�เนินชีวิต ป. ๔/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนา จิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำ�หนด ป. ๔/๗ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์ ป. ๔/๘ อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป ป. ๕/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนา จิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำ�หนด ป. ๖/๕ ชื่นชมการทำ�ความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดำ�เนิน ชีวิต ป. ๖/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา และบริหารจิตเจริญปัญญา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระ- พุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา ป. ๖/๙ อธิบายลักษณะสำ�คัญของศาสนพิธี พิธีกรรมของศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม เมื่อต้องเข้าร่วมพิธี มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธำ�รงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตนนับถืออย่างเรียบง่าย มีประโยชน์ และปฏิบัติตนถูกต้อง ป. ๕/๒ ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำ�คัญทางศาสนาตามที่กำ�หนด และอภิปรายประโยชน์ที่ ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม ป. ๕/๓ มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำ�หนด ป. ๖/๑ อธิบายความรู้เกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ ในศาสนสถาน และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม ป. ๖/๒ มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามกำ�หนด ป.๔-๖ Untitled-1 113 9/13/11 1:41 PM
  • 19. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 114 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. นักเรียนร้องเพลงสุนทราภรณ์ ที่เกี่ยวกับคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์ หรือ เปิดเทปสนทนากันเกี่ยวกับความหมายของเพลง – สวดมนต์ บูชาพระพุทธคุณ และสนทนาถึงความหมาย และคำ�แปล และแผ่เมตตา – สนทนาถึงความเชื่อ ความศรัทธา เกี่ยวกับการสวดมนต์ (ทุกศาสนา) ทั้งทางความเชื่อ ความศรัทธา และทางวิทยาศาสตร์ – ฝึกสมาธิ เพื่อให้จิตสงบนิ่ง (ควรฝึกสมาธิก่อนเรียนทุกชั่วโมง จะช่วยให้ เด็กเรียนได้ดีขึ้น การฝึกสมาธิจะช่วยลดความกังวล ความเครียดอันก่อ ให้เกิดโรคภัยต่างๆตามมาการฝึกสมาธิจะทำ�ให้รู้จักปล่อยวางไม่ยึดเหนี่ยว หรือไม่ถือใจตนเองเป็นใหญ่) การเจริญสมาธิ สามารถทำ�ได้ทุกโอกาส ทุกเวลา ทุกสถานที่ ทำ�ให้ ชาวพุทธ มีมรรยาท และบุคลิกภาพน่านับถือ คือสงบนิ่ง ไม่โวยวายเอา แต่ใจตนเอง ทำ�ให้รู้จัก “เอาใจเขาใส่ใจเรา” รู้จักเห็นใจผู้อื่น การปฏิบัติธรรม ทำ�ให้มนุษย์มีความหมายว่า “ผู้มีจิตใจสูง” เมื่อ นักเรียนฝึกสมาธิแล้ว ควรฝึกหัดประเมินจิตใจ และความประพฤติของ ตนเอง เช่น สำ�รวจตนเองว่า – วันนี้เราโกรธใครหรือเปล่า – เทปเพลง (อัดจากโทรทัศน์ ช่อง ๑๑) – จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติ, เชิญ วิทยากร – ศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านใน สังคมไทยปัจจุบัน เปลี่ยนไป เพราะอะไร ป. ๖/๓ อธิบายประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี พิธีกรรม และกิจกรรมในวันสำ�คัญทางศาสนา ตามที่ กำ�หนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ๒. สาระสำ�คัญ หน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำ�รงรักษาประเพณีและสังคมไทย แสดงออกถึงมารยาทไทย ได้เหมาะสม ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี บริหารจิตเจริญปัญญา หรือพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกและอธิบายเกี่ยวกับวัดไทย พระพุทธรูป และพุทธประวัติได้ ๒. ทำ�โครงงานและอธิบายเกี่ยวกับวันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนาได้ ๓. สนทนาอธิบายเกี่ยวกับพระธรรมคำ�สั่งสอนของพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ ได้ ๔. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อ ความศรัทธา ในการนับถือศาสนาต่างๆ ได้ ๕. ชื่นชมการประพฤติปฏิบัติตนตามเบญจศีล เบญจธรรม และคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์ ของตนเอง เพื่อนๆ ครู และบุคคลในครอบครัว และบุคคลอื่น ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ Untitled-1 114 9/13/11 1:41 PM
  • 20. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 115 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี • พยายามอนุรักษ์ ส่งเสริม พัฒนาภูมิปัญญาชาวบ้าน ส่วนที่ยังเป็นประโยชน์ – หนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนา และ/หรือศาสนาอื่นๆ ที่เรา นับถือ – การอนุรักษ์ส่งเสริมและพัฒนา ภูมิปัญญาชาวบ้าน จำ�เป็นหรือ ไม่อย่างไร อธิบายยกตัวอย่าง เช่น ๑. งานศิลปาชีพในสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ๒. โครงการหนึ่งตำ�บล หนึ่ง ผลิตภัณฑ์ ๓. การสรรหา และยกย่อง บุคคลดีเด่นทางภูมิปัญญา ชาวบ้าน มีโครงการ ๓.๑ ครูภูมิปัญญาไทย ๓.๒ ศิลปินแห่งชาติ ๓.๓ คนดีศรีสังคม (สารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๓) – ทำ�โครงงาน – วันนี้เราพูดไพเราะกับพ่อแม่หรือไม่ – ก่อนออกจากบ้านเราไหว้พ่อแม่หรือยัง – เราไหว้คุณครูหรือยัง – เราทำ�ดีกับใครบ้าง – ฯลฯ ถ้าเรารู้ตัว หรือมีสติ เราจะเป็นคนดี ประพฤติดี ประพฤติชอบ ไม่เห็น แก่ตัว ไม่พูดคำ�หยาบ ไม่ตะคอกใส่ผู้อื่น กิจกรรมสำ�รวจตนเอง ควรทำ�เป็นกลุ่ม และสนทนาแลกเปลี่ยน ความคิด การปฏิบัติ ฯลฯ กันเป็นประจำ� จะช่วยให้นักเรียนปรับนิสัย และ มีจิตใจมั่นคง เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ไม่เห็นแก่ตัว ๒. กลุ่มนักเรียนทำ�กิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น – ศึกษาพระพุทธประวัติ เขียนผังความคิด – สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงประโยชน์ของศาสนาต่างๆ – ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา – วิถีชีวิตของชาวพุทธ – การดำ�เนินชีวิตของพ่อแม่/ปู่ย่าตายาย ๓. กลุ่มนักเรียนทำ�โครงงานเกี่ยวกับวันสำ�คัญทางศาสนา – กิจกรรมที่เราจัดทำ�ในวันสำ�คัญๆ นั้น – ทำ�กิจกรรมร่วมกับใครบ้าง กี่คน – การวางแผนและเตรียมการ – วัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องเตรียม (รวมทั้งเงิน ถ้าต้องใช้ ให้บอกว่าใช้จำ�นวน เท่าไร) – การดำ�เนินงานตามแผน Untitled-1 115 9/13/11 1:41 PM