SlideShare a Scribd company logo
แนวทางการจัดการเรียนรู้ 
รายวชิาเพ่มิเติมหน้าที่พลเมือง 
เอกสารประกอบการอบรมวิทยากรแกนนำ 
ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง 
รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 22 - 25 กันยายน 2557 ณ โรงแรมอะเดรียติค กรุงเทพมหานคร 
รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 24 - 27 กันยายน 2557 ณ โรงแรมอะเดรียติค กรุงเทพมหานคร 
รุ่นที่ 3 ระหว่างวันที่ 30 กันยายน – 3 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ พระนครศรีอยุธยา 
รุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 3 – 6 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ พระนครศรีอยุธยา 
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา 
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ 
๒๕๕๗
คำนำ 
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้จัดทำ 
เอกสาร “แนวทางการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง” เพื่อเป็นแนวทางให้สถานศึกษานำไปใช้ 
ในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง เพื่อพัฒนาค่านิยม ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ของผู้เรียนที่จะนำ ไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เป็นพลเมืองดีของสังคมไทยที่มีการปกครอง 
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณ 
ผู้ทรงคุณวุฒิและคณะทำงานทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำเอกสารฉบับนี้ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี และ 
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา 
เยาวชนไทยให้เป็นพลเมืองที่ดี มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะกระบวนการคิด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
มีคุณธรรม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
คำนำ 
สารบัญ 
ความนำ ๑ 
กรอบความคิดในการพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๓ 
เป้าหมายสำคัญในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๔ 
จุดเน้นและขอบข่าย ๕ 
ผลการเรียนรู้ชั้นปี / ช่วงชั้น ๖ 
ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ๑๑ 
กรอบคำอธิบายรายวิชา ๒๘ 
การจัดการเรียนรู้ ๓๙ 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๔๐ 
บรรณานุกรม ๔๖ 
ภาคผนวก ๔๘ 
- คำอธิบายของคำหลักในจุดเน้นและขอบข่ายรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๔๙ 
- การเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง: แนวปฏิบัติสำคัญ ๕๙ 
- การจัดเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๖๒ 
- การใช้เทคนิค / กระบวนการ / วิธีสอน ในการจดักิจกรรมการเรยีนรู้ 
รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๖๖ 
- ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ ๘๐ 
- คำสั่ง สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอน 
ประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง ๙๓ 
คณะผู้จัดทำ ๙๖
แนวทางการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง 
ความนำ 
การศึกษาของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพของเด็กไทย โดยสะท้อนจากพัฒนาการจัด 
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการเห็นความสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาเพื่อให้นำไปสู่การปฏิบัติ 
ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการปฏิรูปครู ปฏิรูปโรงเรียน และปฏิรูประบบบริหารจัดการศึกษา ทั้งนี้ ในประเด็นของ 
หลักสูตรได้เน้นการพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน และการบริหารจัดการ เพื่อให้คนรุ่นใหม่เกิดกระบวนการคิด 
อย่างมีระบบ และแก้ปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล รวมทั้งการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การสร้างระเบียบวินัย 
การมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม การยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และความภาคภูมิใจ 
ในการเป็นคนไทย ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสังคมไทยในอนาคต แนวคิดดังกล่าวคือ 
การพัฒนาความเป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลก ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นอกจากนี้ ในการจัดการศึกษา 
ของโลก มีแนวโน้มเกิดการเปลี่ยนแปลงในมิติด้านเนื้อหาและการเรียนรู้ เช่น การส่งเสริมการพัฒนาด้านทักษะ 
การรู้เท่าทัน ทักษะชีวิต (Life Skills) การบูรณาการในลักษณะสหวิทยาการ รวมทั้งมีการเน้นวิชาการศึกษา 
เพื่อความเป็นพลเมือง (Citizenship Education) 
กอปรกับในขณะนี้มีนโยบายด้านการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองของคณะรักษา 
ความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (คสช.) ที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในชาติได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง 
ประวัติศาสตร์ ความเป็นไทย รักชาติ ศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และเป็นพลเมืองดีในระบอบ 
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความปรองดองสมานฉันท์ เพื่อสันติสุขในสังคมไทย และ 
กำหนดค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ เพื่อสร้างคนไทยที่เข้มแข็งนำไปสู่การสร้างสรรค์ประเทศไทยให้เข้มแข็ง ดังนี้ 
๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นสถาบันหลักของชาติในปัจจุบัน 
๒. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม 
๓. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 
๔. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทางตรงและทางอ้อม 
๕. รักษาวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทยอันงดงาม 
๖. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน 
๗. เข้าใจ เรียนรู้ การเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 
๘. มีระเบียบวินัยเคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ 
๙. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
๑๐. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ 
พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จำหน่าย และขยายกิจการ 
เมื่อมีความพร้อมโดยมีภูมิคุ้มกันที่ดี 
๑๑. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัว 
ต่อบาปตามหลักของศาสนา 
๑๒. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
2 
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการศึกษาไทย 
ในประเด็นของการพัฒนาการเรียนการสอนหน้าที่พลเมืองในฐานะที่เป็นกลไกสำคัญในการเตรียมพลเมือง 
ของชาติไปสู่การเป็นพลเมืองดีที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะมีการกำหนดสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ 
การดำเนินชีวิตในสังคม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม แล้ว และเพื่อพัฒนาผู้เรียน 
ให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาการเรียน 
การสอนหน้าที่พลเมือง และค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ จึงนำมาสู่การกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง 
โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียน ในเรื่อง ความเป็นไทย รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ความปรองดอง สมานฉันท์ และ 
ความมีวินัยในตนเอง เพื่อให้สถานศึกษานำไปจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในหลักสูตรสถานศึกษาตามกรอบความคิด 
ในการพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3
4 
เป้าหมายสำคัญในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง 
ความเป็นไทย 
รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูนสถาบัน 
พระมหากษัตริย ์ 
การดำรงชีวิตในสังคมประชาธิปไตย 
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
พลเมืองดี 
ในระบอบ 
ประชาธิปไตย 
ปรองดอง 
สมานฉันท์ 
การเป็นพลเมืองดี 
ของชาติ
๕ 
จุดเน้นและขอบขา่ย รายวชิาเพิ่มเติมหน้าทพี่ลเมอืง 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
จุดเน้นที่ 1 ความเป็นไทย 
1. ลักษณะที่ดีของคนไทย (มารยาทไทย กตัญญูกตเวที เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ) 
2. ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแต่งกาย ภาษา ภูมิปัญญา ประเพณี) 
จุดเน้นที่ 2 รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
การเห็นคุณค่าและการแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
จุดเน้นที่ 3 ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
1. การดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย 
2. การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ 
ทรงเป็นประมุข 
จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ 
1. การอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลาย 
2. การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี 
จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง 
ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจาก 
การกระทำของตนเอง
๖ 
ผลการเรียนรู้ชั้นปี / ช่วงชั้น รายวชิาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
จุดเน้น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น 
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ 
1. ความเป็นไทย 
1.๑ ลักษณะ 
ที่ดีของคนไทย 
(มารยาทไทย 
กตัญญูกตเวที 
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 
เสียสละ) 
๑. ปฏิบัตติน 
เป็นผู้มี 
มารยาทไทย 
๑. ปฏิบัตติน 
เป็นผู้มี 
มารยาทไทย 
๑. ปฏิบัติตน 
เป็นผู้มี 
มารยาทไทย 
๑. เห็นคุณค่า 
และปฏิบตัิตน 
เป็นผู้มี 
มารยาทไทย 
๑. เห็นคุณค่า 
และปฏิบตัิตน 
เป็นผู้มี 
มารยาทไทย 
๑. ปฏิบัติตน 
และชักชวน 
ผู้อื่นให้มี 
มารยาทไทย 
๑. มีส่วนร่วม 
ในการอนุรักษ ์ 
มารยาทไทย 
1. มีส่วนร่วม 
และแนะนำผู้อื่น 
ให้อนุรักษ์ 
มารยาทไทย 
1. มีส่วนร่วม 
แนะนำผู้อื่น 
ให้อนุรักษ์ และ 
ยกย่องผู้มี 
มารยาทไทย 
๑. มีส่วนร่วม 
และแนะนำผู้อื่น 
ให้อนุรักษ์ และ 
เผยแพร่มารยาท 
ไทยสู่สาธารณะ 
๒. แสดงออกถึง 
ความกตัญญู- 
กตเวทีต่อบุคคล 
ในครอบครัว 
๒. แสดงออกถึง 
ความกตัญญู- 
กตเวทีต่อบุคคล 
ในโรงเรียน 
๒. แสดงออกถึง 
ความกตัญญู- 
กตเวทีต่อบุคคล 
ในชุมชน 
๒. แสดงออกถึง 
ความกตัญญู- 
กตเวทีต่อ 
ผู้ทำประโยชน์ 
ในสังคม 
๒. รู้คุณค่า 
และบำรุงรักษา 
ทรัพยากร 
ธรรมชาติและ 
สิ่งแวดล้อม 
๒. มีส่วนร่วม 
และชักชวน 
ผู้อื่นให้อนุรักษ์ 
ทรัพยากร 
ธรรมชาติและ 
สิ่งแวดล้อม 
๒. แสดงออกถึง 
ความเอื้อเฟื้อ 
เผื่อแผ่ และ 
เสียสละต่อสังคม 
๒. แสดงออก 
และแนะนำผู้อื่น 
ให้มีความเอื้อเฟื้อ 
เผื่อแผ่ และ 
เสียสละต่อสังคม 
๒. แสดงออก 
แนะนำผู้อื่น 
และมสี่วนร่วม 
ในกิจกรรม 
เกี่ยวกับ 
ความเอื้อเฟื้อ 
เผื่อแผ่ และ 
เสียสละ 
๒. แสดงออก 
แนะนำผู้อื่น 
และยกย่องบุคคล 
ที่มีความเอื้อเฟื้อ 
เผื่อแผ่ และ 
เสียสละ 
๑.2 ศิลปวัฒนธรรม 
ขนบธรรมเนียม 
ประเพณไีทย 
(การแต่งกาย ภาษา 
ภูมิปัญญา ประเพณี) 
๓. เห็น 
ความสำคัญ 
ของภาษาไทย 
๓. เห็น 
ประโยชน์ของ 
การแต่งกาย 
ด้วยผ้าไทย 
๓. เห็นคุณค่า 
ของภูมิปัญญา 
ท้องถิ่น 
๓. มีส่วนร่วม 
ในข น บ ธรรม เนีย ม 
ประเพณไีทย 
๓. มีส่วนร่วมใน 
ศิล ป วัฒ น ธ ร ร ม ไท ย 
๓. มีส่วนร่วม 
ในข น บ ธรรม เนีย ม 
ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม 
แ ล ะ ภูมิปัญ ญ าไท ย 
๓. เห็นคุณค่า 
และอนุรักษ์ 
ขนบธรรมเนียม 
ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม 
แ ล ะ ภูมิปัญ ญ าไท ย 
๓. เห็นคุณค่า 
อนุรักษ์ และ 
สืบสาน 
ขนบธรรมเนียม 
ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม 
แล ะภูมิปัญ ญ าไท ย 
๓. เห็นคุณค่า 
อนุรักษ์ สืบสาน 
และประยุกต์ 
ขนบธรรมเนียม 
ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม 
แล ะภูมิปัญ ญ าไท ย 
๓. เห็นคุณค่า 
อนุรักษ์ สืบสาน 
ประยุกต์ และ 
เผยแพร่ 
ขนบธรรมเนียม 
ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม 
แล ะภูมิปัญ ญ าไท ย
๗ 
จุดเน้น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น 
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ 
2. รักชาติ ยึดมั่น 
ในศาสนา และ 
เทิดทูนสถาบัน 
พระมหากษัตริย  
การเห็นคุณค่า 
และการแสดงออกถึง 
ความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูนสถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๔. เข้าร่วม 
กิจกรรม 
เกี่ยวกบัชาติ 
ศาสนา และ 
สถาบัน 
พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ 
๔. เข้าร่วม 
กิจกรรม 
เกี่ยวกบัชาติ 
ศาสนา และ 
สถาบัน 
พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ 
๔. เข้าร่วม 
กิจกรรม 
เกี่ยวกบัชาติ 
ศาสนา และ 
สถาบัน 
พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ 
๔. เห็น 
ความสำคัญ 
และแสดงออกถึง 
ความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูน 
สถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๔. เห็นคุณค่า 
และแสดงออก 
ถึงความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูน 
สถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๔. เห็นคุณค่า 
และแนะนำ 
ผู้อื่นให้ 
แสดงออกถึง 
ความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูน 
สถาบัน 
พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ 
๔. เป็นแบบอย่าง 
ของความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูน 
สถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๔. เป็นแบบอย่าง 
และแนะนำผู้อื่น 
ให้มีความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูน 
สถาบัน 
พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ 
๔. เป็นแบบอย่าง 
และมสี่วนร่วม 
ในการจัดกิจกรรม 
ที่แสดงออกถึง 
ความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูน 
สถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๔. เป็นแบบอย่าง 
มีส่วนร่วมในการ 
จัดกิจกรรม และ 
สนับสนุนให้ผู้อื่น 
แสดงออกถึง 
ความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา 
และเทิดทูน 
สถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๕. ป ฏิบัติต น ต าม 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลัก 
การทรงงาน 
แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ป ฏิบัติต น ต าม 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลัก 
การทรงงาน 
แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ป ฏิบัติต น ต าม 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลัก 
การทรงงาน 
แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ป ฏิบัติต น ต าม 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลัก 
การทรงงาน และ 
หลักปรัชญาของ 
เศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ป ฏิบัติต น ต าม 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลัก 
การทรงงาน 
และหลักปรัชญา 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ป ฏิบัติต น ต าม 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลัก 
การทรงงาน 
แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ประยุกต ์ 
และเผยแพร ่ 
พระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน 
และหลักปรัชญา 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ประยุกต์ 
และเผยแพร ่ 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลัก 
การทรงงาน 
แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. ประยุกต ์ 
และเผยแพร ่ 
พระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน 
และหลักปรัชญา 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๕. เป็นแบบอย่าง 
ประยุกต ์ 
และเผยแพร่ 
พ ระ บ รม ราโช ว าท 
หลักการทรงงาน 
แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า 
ของเศรษฐกิจ 
พอเพียง
๘ 
จุดเน้น 
ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น 
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ 
๓. ความเป็น 
พลเมืองดี 
ในระบอบ 
ประชาธิปไตยอันมี 
พระมหากษัตริย์ 
ทรงเป็นประมขุ 
๓.๑ การดำเนิน 
ชีวิตตามวิถี 
ประชาธิปไตย 
๖. ปฏิบัติตน 
ตามข้อตกลง 
กติกา และ 
หน้าที่ที่ต้อง 
ปฏิบัติ 
ในห้องเรียน 
๖. ปฏิบัติตน 
ตามกฎ 
ระเบียบ 
และหน้าที่ 
ที่ต้องปฏิบัติ 
ในโรงเรียน 
๖. ปฏิบัติตน 
ตามข้อตกลง 
กติกา กฎ 
ระเบียบ 
และหน้าที่ 
ที่ต้องปฏิบัติ 
ในห้องเรียน 
และโรงเรียน 
๖. มีส่วนร่วม 
ในการสร้าง 
และปฏิบตัิตาม 
ข้อตกลง กติกา 
ของห้องเรียน 
๖. มีส่วนร่วม 
ในการสร้าง 
และปฏิบตัิตาม 
กฎ ระเบียบ 
ของโรงเรียน 
๖. ปฏิบัติตน 
และแนะนำผู้อื่น 
ให้ปฏิบัติตาม 
ข้อตกลง กติกา 
กฎ ระเบียบ 
ของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
๖. ปฏิบัติตน 
เป็นพลเมืองดี 
ตามวิถี- 
ประชาธิปไตย 
๖. ปฏิบัติตน 
เป็นพลเมืองดี 
ตามวิถี- 
ประชาธิปไตย 
๖. ปฏิบัติตน 
เป็นพลเมืองดี 
ตามวิถี- 
ประชาธิปไตย 
๖. เป็นแบบอย่าง 
และส่งเสรมิ 
สนับสนุนให้ผู้อื่น 
เป็นพลเมืองดี 
ตามวิถี 
ประชาธิปไตย 
๓.๒ การมสี่วนร่วม 
ทางการเมือง 
การปกครอง 
ในระบอบ 
ประชาธิปไตย 
อันมี 
พระมหากษัตริย์ 
ทรงเป็นประมุข 
๗. ปฏิบัติตน 
ตามบทบาท 
หน้าที่ใน 
ฐานะสมาชิก 
ที่ดีของ 
ครอบครัว 
และ 
ห้องเรียน 
๗. ปฏิบัตติน 
ตามบทบาท 
หน้าที่ในฐานะ 
สมาชิกที่ดีของ 
ห้องเรียน และ 
โรงเรียน 
๗. ปฏิบัติตน 
ตามบทบาท 
หน้าที่ และ 
มีส่วนร่วม 
ในกิจกรรม 
ต่าง ๆ ของ 
ห้องเรียน และ 
โรงเรียน 
๗. ปฏิบัติตน 
ตามบทบาท 
หน้าที่ 
มีส่วนร่วม 
และรับผิดชอบ 
ในการตัดสินใจ 
ในกิจกรรม 
ของครอบครัว 
และห้องเรียน 
๗. ปฏิบัติตน 
ตามบทบาท 
หน้าที่ 
มีส่วนร่วม 
และรับผิดชอบ 
ในการตัดสินใจ 
ในกิจกรรม ของ 
ห้องเรียน และ 
โรงเรียน 
๗. เห็นคุณค่า 
และปฏิบตัิตน 
ตามบทบาท 
หน้าที่ 
มีส่วนร่วม 
และรับผิดชอบ 
ในการตัดสินใจ 
ในกิจกรรมของ 
ห้องเรียน และ 
โรงเรียน 
๗. มีส่วนร่วม 
และรับผิดชอบ 
ในการตัดสินใจ 
ตรวจสอบขอ้มลู 
เพื่อใช้ประกอบ 
การตัดสินใจ 
ในกิจกรรม 
ต่าง ๆ 
๗. มีส่วนร่วม 
และรับผิดชอบ 
ในการตัดสินใจ 
ตรวจสอบ 
ข้อมูลเพื่อใช้ 
ประกอบ 
การตัดสินใจ 
ในกิจกรรม 
ต่าง ๆ และ 
รู้ทันข่าวสาร 
๗. มีส่วนร่วม 
และรับผิดชอบ 
ในการตัดสินใจ 
ตรวจสอบ 
ข้อมูล ตรวจสอบ 
การทำหน้าที่ของ 
บุคคลเพื่อใช้ 
ประกอบ 
การตัดสินใจ 
๗. ประยุกต์ใช้ 
กระบวนการ 
ประชาธิปไตย 
ในการวิพากษ์ 
ประเด็นนโยบาย 
สาธารณะที่ตน 
สนใจ 
๘. มีส่วนร่วม 
และตัดสินใจ 
เลือกตั้งอย่างมี 
วิจารณญาณ 
๙. รู้ทันข่าวสารและ 
รู้ทันสื่อ 
๑๐. คาดการณ์ 
เหตุการณ์ล่วงหน้า 
บนพื้นฐานของ 
ข้อมูล
๙ 
จุดเน้น 
ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น 
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ๖ 
๔ . ค ว าม ป รอ งด อ ง 
ส ม าน ฉัน ท์ 
๔ .๑ ก าร อ ยู่ร่ว ม กัน 
ใน สัง ค ม แ ห่ง 
ค ว าม ห ล า ก ห ล าย 
๘. ยอมรับ 
ความเหมือน 
และ 
ความแตกต่าง 
ของตนเอง 
และผู้อื่น 
๘. ยอมรับ 
ความเหมือน 
และ 
ความแตกต่าง 
ของตนเอง 
และผู้อื่น 
๘. ยอมรับ 
และอยู่ร่วมกับ 
ผู้อื่นอย่างสันติ 
๘. ยอมรับ 
และอยู่ร่วมกับ 
ผู้อื่นอย่างสันติ 
และพึ่งพา 
ซึ่งกันและกัน 
๘. ยอมรับ 
ความ 
หลากหลาย 
ทางสังคม- 
วัฒนธรรม 
ในท้องถิ่น 
และอยู่ร่วมกับ 
ผู้อื่นอย่างสันติ 
และพึ่งพา 
ซึ่งกันและกัน 
๘. ยอมรับ 
ความ 
หลากหลาย 
ทางสังคม- 
วัฒนธรรม 
ในประเทศไทย 
และอยู่ร่วมกับ 
ผู้อื่นอย่างสันติ 
และพึ่งพา 
ซึ่งกันและกัน 
๘. ยอมรับ 
ความ 
หลากหลาย 
ทางสังคม- 
วัฒนธรรม 
ในภูมิภาค- 
เอ เชีย ต ะ วัน อ อ ก - 
เฉียงใต้ และ 
อ ยู่ร่ว ม กัน อย่าง 
สันติและพึ่งพา 
ซึ่งกันและกัน 
๘. เห็นคุณค่า 
ข อ งก ารอ ยู่ร่ว ม กัน 
ในภูมิภาคเอเชีย 
อย่างสันติ และ 
พึ่งพาซึ่งกัน 
และกัน 
๘. เห็นคุณค่า 
ข อ งก าร อ ยู่ร่ว ม กัน 
ในภูมิภาคต่าง ๆ 
ของโลก 
อย่างสันติ และ 
พึ่งพาซึ่งกัน 
และกัน 
๑๑. ยอมรับ 
ในอตัลักษณ ์ 
และเคารพ 
ความหลากหลาย 
ในสังคม- 
พหุวัฒนธรรม 
๑๒. เห็นคุณค่า 
ข อ งก าร อ ยู่ร่ว ม กัน 
อย่างสันติ และ 
พึ่งพาซึ่งกัน 
และกัน 
๔.๒ การจัดการ 
ความขัดแย้ง และ 
สันติวิธี 
๙. ยกตัวอย่าง 
ความขัดแย้ง 
ในห้องเรียน 
และเสนอวิธีการ 
แก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี 
๙. ยกตัวอย่าง 
ความขัดแย้ง 
ในโรงเรียน 
และเสนอวิธีการ 
แก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี 
๙. ยกตัวอย่าง 
ความขัดแย้ง 
ในชุมชน 
และเสนอวิธีการ 
แก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี 
๙. วิเคราะห์ 
ปัญหา 
ความขัดแย้ง 
ในท้องถิ่น 
และเสนอ 
แนวทาง 
การแก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี 
๙. วิเคราะห์ 
ปัญหา 
ความขัดแย้ง 
ในภูมิภาคของ 
ตนเอง 
และเสนอ 
แนวทาง 
การแก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี 
๙. วิเคราะห์ 
ปัญหา 
ความขัดแย้ง 
ในประเทศไทย 
และเสนอ 
แนวทาง 
การแก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี 
๙. มีส่วนร่วม 
ในการ 
แก้ปัญหา 
ความขัดแย้ง 
โดยสันติวิธี 
๙. มีส่วนร่วม 
และเสนอ 
แนวทาง 
การแก้ปัญหา 
ความขัดแย้ง 
โดยสันติวิธี 
๙. มีส่วนร่วม 
และเสนอ 
แนวทาง 
การป้องกัน 
ปัญหา 
ความขัดแย้ง 
๑ ๓ . มีส่วนร่วม 
ในการแก้ปัญหา 
เมื่อเกิด 
ความขัดแย้ง 
โดยสันติวิธี และ 
สร้างเครือข่าย 
การป้องกันปัญหา 
ความขัดแย้ง
๑๐ 
จุดเน้น 
ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น 
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ๖ 
5. ความมีวินัย 
ในตนเอง 
ซื่อสัตย์สุจริต 
ขยันหมั่นเพียร 
อดทน ใฝ่หาความรู้ 
ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ 
ยอมรับผลที่เกิด 
จากการกระทำ 
ของตนเอง 
๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ๑๔. ปฏิบัติตนเป็นผู้มี 
วินัยในตนเอง
11 
ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ รายวชิาเพมิ่เตมิหน้าที่พลเมือง 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
จุดเน้นที่ 1 ความเป็นไทย 
๑.๑ ลักษณะที่ดีของคนไทย (มารยาทไทย กตัญญูกตเวที เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ) 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย 
มารยาทไทย 
- การแสดงความเคารพ (การไหว้) 
- การรับประทานอาหาร 
- การทักทายด้วยวาจา และยิ้ม 
๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที 
ต่อบุคคลในครอบครัว 
ความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ 
ป.2 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย 
มารยาทไทย 
- การพูดด้วยถ้อยคำไพเราะ 
- การมีกิริยาสุภาพอ่อนน้อม 
๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที 
ต่อบุคคลในโรงเรียน 
ความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในโรงเรียน 
ป.3 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย 
มารยาทไทย 
- การต้อนรับผู้มาเยือน 
- การปฏิบัติตนตามกาลเทศะ 
๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที 
ต่อบุคคลในชุมชน 
ความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในชุมชน 
ป.4 1. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนเป็นผู้มี 
มารยาทไทย 
มารยาทไทยในพิธีการต่าง ๆ 
- การกล่าวคำต้อนรับ 
- การแนะนำตัวเอง แนะนำสถานที่ 
๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อ 
ผู้ทำประโยชน์ในสังคม 
ความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ทำประโยชน์ในสังคม 
ป.5 1. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนเป็นผู้มี 
มารยาทไทย 
มารยาทไทย 
- การสนทนา 
- การปฏิบัติตนตามกาลเทศะ 
- การต้อนรับผู้มาเยือน 
๒. รู้คุณค่าและบำรุงรักษา 
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
การรู้คุณค่า การใช้อย่างประหยัดและคุ้มค่า และ 
การบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
12 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.6 1. ปฏิบัติตนและชักชวนผู้อื่นให้มี 
มารยาทไทย 
มารยาทไทย 
- การแสดงความเคารพ 
- การสนทนา 
- การปฏิบัติตนตามกาลเทศะ 
- การต้อนรับผู้มาเยือน 
๒. มีส่วนร่วมและชักชวนผู้อื่นให้อนุรักษ์ 
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
ม.1 1. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มารยาทไทย มารยาทไทย 
- การแสดงความเคารพ 
- การสนทนา 
- การแต่งกาย 
- การมีสัมมาคารวะ 
๒. แสดงออกถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และ 
เสียสละต่อสังคม 
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม 
ม.2 1. มีส่วนร่วมและแนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์ 
มารยาทไทย 
มารยาทไทย 
- การแสดงความเคารพ 
- การสนทนา 
- การแต่งกาย 
- การมีสัมมาคารวะ 
๒. แสดงออกและแนะนำผู้อื่นให้มี 
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละ 
ต่อสังคม 
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม 
ม.3 1. มีส่วนร่วม แนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์ และ 
ยกย่องผู้มีมารยาทไทย 
มารยาทไทย 
- การแสดงความเคารพ 
- การสนทนา 
- การแต่งกาย 
- การมีสัมมาคารวะ 
๒. แสดงออก แนะนำผู้อื่น และมีส่วนร่วม 
ในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 
และเสียสละ 
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม
13 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ม.4 - 6 1. มีส่วนร่วมและแนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์ 
และเผยแพร่มารยาทไทยสู่สาธารณะ 
มารยาทไทย 
- การแสดงความเคารพ 
- การสนทนา 
- การแต่งกาย 
- การมีสัมมาคารวะ 
๒. แสดงออก แนะนำผู้อื่น และยกย่อง 
บุคคลที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ 
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม
14 
๑.2 ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแต่งกาย ภาษา ภูมิปัญญา ประเพณี) 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 ๓. เห็นความสำคัญของภาษาไทย ความสำคัญของภาษาไทย 
ป.2 ๓. เห็นประโยชน์ของการแต่งกาย 
ด้วยผ้าไทย 
การแต่งกายด้วยผ้าไทย 
ป.3 ๓. เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องต่าง ๆ 
ป.4 ๓. มีส่วนร่วมในขนบธรรมเนียม 
ประเพณีไทย 
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยในท้องถิ่น 
ป.5 ๓. มีส่วนร่วมในศิลปวัฒนธรรมไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย 
ป.6 ๓. มีส่วนร่วมในขนบธรรมเนียม ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ 
ภูมิปัญญาไทย 
ม.1 ๓. เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม 
ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา 
ไทย 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ 
ภูมิปัญญาไทย 
ม.2 ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ และสืบสาน 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม 
และภูมิปัญญาไทย 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ 
ภูมิปัญญาไทย 
ม.3 ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และ 
ประยุกต์ขนบธรรมเนียม ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ 
ภูมิปัญญาไทย 
ม.4 - 6 ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ 
และเผยแพร่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี 
ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ 
ภูมิปัญญาไทย
15 
จุดเน้นที่ 2 รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
การเห็นคุณค่าและการแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 ๔. เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา 
และสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๑. กิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๒. วันสำคัญของชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- การออม 
- การประหยัด 
๒. หลักการทรงงาน 
- ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด 
- ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน 
ป.2 ๔. เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา 
และสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๑. กิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๒. วันสำคัญของชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- ความขยัน 
- ความอดทน 
๒. หลักการทรงงาน 
- การพึ่งตนเอง 
- รู้ รัก สามัคคี 
ป.3 ๔. เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา 
และสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๑. กิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
๒. วันสำคัญของชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- ความซื่อสัตย์ 
- ความเสียสละ 
๒. หลักการทรงงาน 
- การมีส่วนร่วม 
- ความเพียร: พระมหาชนก
16 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.4 ๔. เห็นความสำคัญและแสดงออกถึง 
ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน 
สถาบันพระมหากษัตริย์ 
- การใช้สินค้าไทย 
- การดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ 
- การรักษาสาธารณสมบัติ 
- การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี 
- การปฏิบัติตนตามพระราชจริยวัตรและพระจริยวัตร 
๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา 
ของเศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- การมีวินัย 
- การข่มใจ 
๒. หลักการทรงงาน 
- ประโยชน์ส่วนรวม 
- พออยู่พอกิน 
ป.5 ๔. เห็นคุณค่าและแสดงออกถึง 
ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน 
สถาบันพระมหากษัตริย์ 
- การใช้สินค้าไทย 
- การดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ 
- การรักษาสาธารณสมบัติ 
- การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี 
- การปฏิบัติตนตามพระราชจริยวัตรและพระจริยวัตร 
๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา 
ของเศรษฐกิจพอเพียง 
1. พระบรมราโชวาท 
- เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 
- ความสามัคคี 
๒. หลักการทรงงาน 
- ทำตามลำดับขั้น 
- ทำงานอย่างมีความสุข 
ป.6 ๔. เห็นคุณค่าและแนะนำผู้อื่น 
ให้แสดงออกถึงความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
- การใช้สินค้าไทย 
- การดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ 
- การรักษาสาธารณสมบัติ 
- การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี 
- การปฏิบัติตนตามพระราชจริยวัตรและพระจริยวัตร 
๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา 
ของเศรษฐกิจพอเพียง 
1. พระบรมราโชวาท 
- ความใฝ่รู้ 
- ความกตัญญูกตเวที 
๒. หลักการทรงงาน 
- องค์รวม 
- ทำให้ง่าย
17 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ม.1 ๔. เป็นแบบอย่างของความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง 
- ความรักชาติ 
- การยึดมั่นในศาสนา 
- การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- มีเหตุผล 
- รอบคอบ 
๒. หลักการทรงงาน 
- การใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ 
- การปลูกป่าในใจคน 
ม.2 ๔. เป็นแบบอย่างและแนะนำผู้อื่นให้มี 
ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน 
สถาบันพระมหากษัตริย์ 
การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง 
- ความรักชาติ 
- การยึดมั่นในศาสนา 
- การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- การมีสติ 
- ความขยันอดทน 
๒. หลักการทรงงาน 
- ภูมิสังคม 
- ขาดทุนคือกำไร 
ม.3 ๔. เป็นแบบอย่างและมีส่วนร่วมในการจัด 
กิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักชาติ 
ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน 
พระมหากษัตริย์ 
การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง 
- ความรักชาติ 
- การยึดมั่นในศาสนา 
- การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท 
หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- การเสียสละ 
- ความซื่อสัตย์ 
๒. หลักการทรงงาน 
- ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ 
- แก้ปัญหาที่จุดเล็ก
18 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ม.4 - 6 ๔. เป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัด 
กิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึง 
ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน 
สถาบันพระมหากษัตริย์ 
การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง 
- ความรักชาติ 
- การยึดมั่นในศาสนา 
- การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 
๕. เป็นแบบอย่าง ประยุกต์ และเผยแพร่ 
พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และ 
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 
๑. พระบรมราโชวาท 
- การมีระเบียบวินัย 
- ความสามัคคี 
๒. หลักการทรงงาน 
- ระเบิดจากข้างใน 
- ไม่ติดตำรา 
- บริการรวมที่จุดเดียว 
- ใช้อธรรมปราบอธรรม
19 
จุดเน้นที่ 3 ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
3.1 การดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 ๖. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และ 
หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียน 
ข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียน 
- การรักษาความสะอาด 
- การรักษาของใช้ร่วมกัน 
- การส่งงาน 
ป.2 ๖. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ และหน้าที่ 
ที่ต้องปฏิบัติในโรงเรียน 
กฎ ระเบียบ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในโรงเรียน 
- การแต่งกาย 
- การเข้าแถว 
- การดูแลพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย 
ป.3 ๖. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎ 
ระเบียบ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ 
ในห้องเรียนและโรงเรียน 
ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ 
ในห้องเรียนและโรงเรียน 
- การใช้สิ่งของ เครื่องใช้ และสถานที่ของส่วนรวม 
- การดูแลรักษาสิ่งของ เครื่องใช้ และสถานที่ 
ของส่วนรวม 
ป.4 ๖. มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตาม 
ข้อตกลง กติกา ของห้องเรียน 
๑. ข้อตกลง กติกา ในห้องเรียน 
- การรักษาความสะอาด 
- การรักษาของใช้ร่วมกัน 
- การส่งงาน 
๒. การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการสร้างข้อตกลง 
กติกา ด้วยหลักเหตุและผล และยึดถือประโยชน์ 
ส่วนรวม 
ป.5 ๖. มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตาม 
กฎ ระเบียบ ของโรงเรียน 
๑. กฎ ระเบียบ ในโรงเรียน 
- การรักษาความสะอาด 
- การรักษาของใช้ร่วมกัน 
- การดูแลพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย 
๒. การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการสร้างกฎ 
ระเบียบ ด้วยหลักเหตุและผล และยึดถือประโยชน์ 
ส่วนรวม 
ป.6 ๖. ปฏิบัติตนและแนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตาม 
ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ในห้องเรียนและ 
โรงเรียน 
- การใช้สิ่งของ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ 
ของส่วนรวม 
- การดูแลรักษาสิ่งของ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ 
และสถานที่ของส่วนรวม
20 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ม.1 ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี- 
ประชาธิปไตย 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 
- มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม 
- การตัดสินใจโดยใช้เหตุผล 
ม.2 ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี- 
ประชาธิปไตย 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 
- การติดตามข่าวสารบ้านเมือง 
- ความกล้าหาญทางจริยธรรม 
- การเป็นผู้นำ และการเป็นสมาชิกที่ดี 
ม.3 ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี- 
ประชาธิปไตย 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 
- การใช้สิทธิและหน้าที่ 
- การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ 
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้ง 
ม.4 - 6 ๖. เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ 
ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 
- การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี 
- การใช้สิทธิและหน้าที่ 
- การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ 
- ความกล้าหาญทางจริยธรรม 
- การเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสังคมต่อสาธารณะ 
- การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง และ 
การรู้เท่าทันสื่อ 
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง
21 
๓.๒ การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ 
ทรงเป็นประมุข 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะ 
สมาชิกที่ดีของครอบครัว และห้องเรียน 
บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว 
และห้องเรียน 
- เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ และครู 
ป.2 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะ 
สมาชิกที่ดีของห้องเรียน และโรงเรียน 
บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
- การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี 
- หน้าที่และความรับผิดชอบ 
ป.3 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และ 
มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
- การใช้สิทธิและหน้าที่ 
- การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ 
๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียนและโรงเรียน 
ป.4 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ 
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน 
๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว 
และห้องเรียน 
- การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี 
- การมีเหตุผลและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 
- การปฏิบัติตามเสียงข้างมากและยอมรับ 
เสียงข้างน้อย 
๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของครอบครัวและห้องเรียน 
ป.5 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ 
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน 
๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
- การยึดถือหลักความจริง ความดีงาม 
ความถูกต้อง และหลักเหตุผล 
- การยึดถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ 
- การยึดหลักความเสมอภาคและความยุติธรรม 
๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียนและโรงเรียน 
ป.6 ๗. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามบทบาท 
หน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการ 
ตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน 
และโรงเรียน 
- การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี 
- การยึดถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ 
- การใช้สิทธิและหน้าที่ 
- การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ 
๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียนและโรงเรียน
22 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ม.1 ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ 
ในกิจกรรมต่าง ๆ 
1. การมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ต่อกิจกรรมของห้องเรียน และโรงเรียน 
2. การตรวจสอบข้อมูล 
ม.2 ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ 
ในกิจกรรมต่าง ๆ และรู้ทันข่าวสาร 
1. การมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ต่อกิจกรรมของห้องเรียน และโรงเรียน 
2. การตรวจสอบข้อมูล 
๓. การรู้ทันข่าวสาร 
ม.3 ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบการทำหน้าที่ของ 
บุคคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ 
1. การมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ 
ต่อกิจกรรมของห้องเรียน และโรงเรียน 
2. การตรวจสอบข้อมูล 
๓. การตรวจสอบการทำหน้าที่ของบุคคล 
ม.4 - 6 ๗. ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตย 
ในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะ 
ที่ตนสนใจ 
การประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตย 
ในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะ 
๘. มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้ง 
อย่างมีวิจารณญาณ 
การมีส่วนร่วมและการตัดสินใจเลือกตั้ง 
อย่างมีวิจารณญาณ 
๙. รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ การรู้ทันข่าวสารและการรู้ทันสื่อ 
๑๐. คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้า 
บนพื้นฐานของข้อมูล 
การคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐาน 
ของข้อมูล
23 
จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ 
4.1 การอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลาย 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 ๘. ยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง 
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล 
ของตนเองและผู้อื่น 
ในเรื่องเชื้อชาติ ภาษา เพศ สุขภาพ ความพิการ 
ป.2 ๘. ยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง ความสามารถ ถิ่นกำเนิด ฯลฯ 
ของตนเองและผู้อื่น 
ป.3 ๘. ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ ๑. ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล 
ในเรื่องเชื้อชาติ ภาษา เพศ สุขภาพ ความพิการ 
ความสามารถ ถิ่นกำเนิด สถานะของบุคคล ฯลฯ 
๒. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและการพึ่งพาซึ่งกัน 
และกัน 
- ไม่รังแก ไม่ทำร้าย 
- ไม่ล้อเลียน 
- ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน 
ป.4 ๘. ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ 
และพึ่งพาซึ่งกันและกัน 
ป.5 ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคม- 
วัฒนธรรมในท้องถิ่น และอยู่ร่วมกับผู้อื่น 
อย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน 
๑. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในท้องถิ่น 
ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม 
๒. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและการพึ่งพาซึ่งกัน 
และกัน 
- เคารพซึ่งกันและกัน 
- ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น 
- ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน 
ป.6 ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคม- 
วัฒนธรรมในประเทศไทย และอย่รูว่มกับ 
ผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน 
๑. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในประเทศ 
ไทย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม 
๒. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและการพึ่งพาซึ่งกัน 
และกัน 
- เคารพซึ่งกันและกัน 
- ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น 
- ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน
24 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ม.1 ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคม- 
วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออก- 
เฉียงใต้ และอยู่ร่วมกันอย่างสันติและ 
พึ่งพาซึ่งกันและกัน 
1. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาค 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม 
ศาสนา สิ่งแวดล้อม 
2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ 
การพึ่งพาซึ่งกันและกัน 
- เคารพซึ่งกันและกัน 
- ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น 
- ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน 
ม.2 ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน 
ในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกัน 
และกัน 
1. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาค 
เอเชีย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม 
2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ 
การพึ่งพาซึ่งกันและกัน 
- เคารพซึ่งกันและกัน 
- ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น 
- ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน 
ม.3 ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน 
ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกอย่างสันติ และ 
พึ่งพาซึ่งกันและกัน 
1. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาค 
ต่าง ๆ ของโลก ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา 
สิ่งแวดล้อม 
2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ 
การพึ่งพาซึ่งกันและกัน 
- เคารพซึ่งกันและกัน 
- ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น 
- ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน 
ม.4-6 ๑๑. ยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพ 
ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม 
1. อัตลักษณ์และความหลากหลายในสังคม- 
พหุวัฒนธรรม 
2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ 
การพึ่งพาซึ่งกันและกัน 
- เคารพซึ่งกันและกัน 
- ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น 
- ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน 
๑๒. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน 
อย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
25 
4.2 การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 ๙. ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียน 
และเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 
ความขัดแย้งในห้องเรียน และวิธีการแก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี ในกรณี 
- ความคิดเห็นไม่ตรงกัน 
- การละเมิดสิทธิของผู้อื่น 
ป.2 ๙. ยกตัวอย่างความขัดแย้งในโรงเรียน 
และเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 
ความขัดแย้งในโรงเรียนและวิธีการแก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี ในกรณี 
- หน้าที่และความรับผิดชอบ 
- การใช้ของส่วนรวม 
ป.3 ๙. ยกตัวอย่างความขัดแย้งในชุมชน 
และเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 
ความขัดแย้งในชุมชนและวิธีการแก้ปัญหา 
ความขัดแย้งโดยสันติวิธี ในกรณี 
- การใช้สาธารณสมบัติ 
- การรักษาสิ่งแวดล้อม 
ป.4 ๙. วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง 
ในท้องถิ่น และเสนอแนวทางการแก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี 
ความขัดแย้งในท้องถิ่น และแนวทางการแก้ปัญหา 
โดยสันติวิธี ในกรณี 
- การใช้สาธารณสมบัติ 
- การรักษาสิ่งแวดล้อม 
ป.5 ๙. วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง 
ในภูมิภาคของตนเอง และเสนอ 
แนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 
ความขัดแย้งในภูมิภาคของตนเอง และแนวทาง 
การแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 
- การจัดการทรัพยากร (น้ำ ป่าไม้ ที่ดิน) 
- การขัดแย้งทางความคิด 
ป.6 ๙. วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง 
ในประเทศไทย และเสนอแนวทาง 
การแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 
ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และ 
แนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 
- การละเมิดสิทธิ 
- การรักษาสิ่งแวดล้อม 
ม.1 ๙. มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา 
ความขัดแย้งโดยสันติวิธี 
๑. ความขัดแย้ง 
- การทะเลาะวิวาท 
- ความคิดเห็นไม่ตรงกัน 
๒. การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี 
- การเจรจาไกล่เกลี่ย 
- การเจรจาต่อรอง 
- การระงับความขัดแย้ง
26 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ม.2 ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทาง 
การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี 
๑. ความขัดแย้ง 
- การละเมิดสิทธิ 
- การใช้ของส่วนรวม 
๒. การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี 
- การเจรจาไกล่เกลี่ย 
- การเจรจาต่อรอง 
- การระงับความขัดแย้ง 
ม.3 ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทาง 
การป้องกันปัญหาความขัดแย้ง 
๑. ความขัดแย้ง 
- ทัศนคติ ความคิด ความเชื่อ 
- ชู้สาว 
๒. การป้องกันปัญหาความขัดแย้ง 
ม.4 - 6 ๑๓. มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเมื่อเกิด 
ความขัดแย้งโดยสันติวิธี และสร้าง 
เครือข่ายการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง 
๑. การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี 
- การเจรจาไกล่เกลี่ย 
- การเจรจาต่อรอง 
- การระงับความขัดแย้ง 
๒. การสร้างเครือข่ายการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง
27 
จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง 
ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจาก 
การกระทำของตนเอง 
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 
ป.1 – ๓ ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง คุณลักษณะของผู้มีวินัยในตนเอง 
- ความซื่อสัตย์สุจริต 
- ขยันหมั่นเพียร อดทน 
- ใฝ่หาความรู้ 
- ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ 
- ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง 
(การพัฒนาผู้เรียนให้มีวินัยในตนเองให้นำไปบูรณาการ 
กับผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ของจุดเน้น 
ที่ ๑ - ๔ ที่เกี่ยวข้อง) 
ป.๔ – ๖ ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง 
ม.1 – ๓ 
๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง 
ม.๔ – ๖ ๑๔. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง

More Related Content

What's hot

หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
Ict Krutao
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
Pipat Chooto
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
BoomCNC
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
Inmylove Nupad
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร Patcharida Nun'wchph
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
Aon Narinchoti
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
พัน พัน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Ged Gis
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 

What's hot (20)

หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
202
202202
202
 
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf newแบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 

Viewers also liked

แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัยแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัยCoverslide Bio
 
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmapแผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
Prachoom Rangkasikorn
 
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์วรรณา ไชยศรี
 
แบบทดสอบสังคม
แบบทดสอบสังคมแบบทดสอบสังคม
แบบทดสอบสังคม
ddaanngg555
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
Thidarat Termphon
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 

Viewers also liked (10)

แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัยแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
 
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmapแผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
 
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
แบบทดสอบสังคม
แบบทดสอบสังคมแบบทดสอบสังคม
แบบทดสอบสังคม
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 

Similar to หน้าที่พลเมือง

Ponlamoung2557
Ponlamoung2557Ponlamoung2557
Ponlamoung2557
Pui Pui
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
Nattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54somchaitumdee50
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
Harid Nattapong
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2taveena
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2onjiranaja
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
guidena
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2onjiranaja
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2onjiranaja
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 

Similar to หน้าที่พลเมือง (20)

Ponlamoung2557
Ponlamoung2557Ponlamoung2557
Ponlamoung2557
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
55555
5555555555
55555
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 

หน้าที่พลเมือง

  • 1.
  • 2. แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวชิาเพ่มิเติมหน้าที่พลเมือง เอกสารประกอบการอบรมวิทยากรแกนนำ ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 22 - 25 กันยายน 2557 ณ โรงแรมอะเดรียติค กรุงเทพมหานคร รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 24 - 27 กันยายน 2557 ณ โรงแรมอะเดรียติค กรุงเทพมหานคร รุ่นที่ 3 ระหว่างวันที่ 30 กันยายน – 3 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ พระนครศรีอยุธยา รุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 3 – 6 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ พระนครศรีอยุธยา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๗
  • 3. คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้จัดทำ เอกสาร “แนวทางการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง” เพื่อเป็นแนวทางให้สถานศึกษานำไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง เพื่อพัฒนาค่านิยม ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนที่จะนำ ไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เป็นพลเมืองดีของสังคมไทยที่มีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิและคณะทำงานทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำเอกสารฉบับนี้ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี และ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา เยาวชนไทยให้เป็นพลเมืองที่ดี มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะกระบวนการคิด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณธรรม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ สารบัญ ความนำ ๑ กรอบความคิดในการพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๓ เป้าหมายสำคัญในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๔ จุดเน้นและขอบข่าย ๕ ผลการเรียนรู้ชั้นปี / ช่วงชั้น ๖ ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ๑๑ กรอบคำอธิบายรายวิชา ๒๘ การจัดการเรียนรู้ ๓๙ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๔๐ บรรณานุกรม ๔๖ ภาคผนวก ๔๘ - คำอธิบายของคำหลักในจุดเน้นและขอบข่ายรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๔๙ - การเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง: แนวปฏิบัติสำคัญ ๕๙ - การจัดเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๖๒ - การใช้เทคนิค / กระบวนการ / วิธีสอน ในการจดักิจกรรมการเรยีนรู้ รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ๖๖ - ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ ๘๐ - คำสั่ง สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง ๙๓ คณะผู้จัดทำ ๙๖
  • 5. แนวทางการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ความนำ การศึกษาของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพของเด็กไทย โดยสะท้อนจากพัฒนาการจัด การศึกษาอย่างต่อเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการเห็นความสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาเพื่อให้นำไปสู่การปฏิบัติ ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการปฏิรูปครู ปฏิรูปโรงเรียน และปฏิรูประบบบริหารจัดการศึกษา ทั้งนี้ ในประเด็นของ หลักสูตรได้เน้นการพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน และการบริหารจัดการ เพื่อให้คนรุ่นใหม่เกิดกระบวนการคิด อย่างมีระบบ และแก้ปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล รวมทั้งการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การสร้างระเบียบวินัย การมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม การยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และความภาคภูมิใจ ในการเป็นคนไทย ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสังคมไทยในอนาคต แนวคิดดังกล่าวคือ การพัฒนาความเป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลก ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นอกจากนี้ ในการจัดการศึกษา ของโลก มีแนวโน้มเกิดการเปลี่ยนแปลงในมิติด้านเนื้อหาและการเรียนรู้ เช่น การส่งเสริมการพัฒนาด้านทักษะ การรู้เท่าทัน ทักษะชีวิต (Life Skills) การบูรณาการในลักษณะสหวิทยาการ รวมทั้งมีการเน้นวิชาการศึกษา เพื่อความเป็นพลเมือง (Citizenship Education) กอปรกับในขณะนี้มีนโยบายด้านการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองของคณะรักษา ความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (คสช.) ที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในชาติได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ประวัติศาสตร์ ความเป็นไทย รักชาติ ศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และเป็นพลเมืองดีในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความปรองดองสมานฉันท์ เพื่อสันติสุขในสังคมไทย และ กำหนดค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ เพื่อสร้างคนไทยที่เข้มแข็งนำไปสู่การสร้างสรรค์ประเทศไทยให้เข้มแข็ง ดังนี้ ๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นสถาบันหลักของชาติในปัจจุบัน ๒. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม ๓. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ ๔. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทางตรงและทางอ้อม ๕. รักษาวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทยอันงดงาม ๖. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน ๗. เข้าใจ เรียนรู้ การเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง ๘. มีระเบียบวินัยเคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ ๙. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๑๐. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จำหน่าย และขยายกิจการ เมื่อมีความพร้อมโดยมีภูมิคุ้มกันที่ดี ๑๑. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัว ต่อบาปตามหลักของศาสนา ๑๒. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
  • 6. 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการศึกษาไทย ในประเด็นของการพัฒนาการเรียนการสอนหน้าที่พลเมืองในฐานะที่เป็นกลไกสำคัญในการเตรียมพลเมือง ของชาติไปสู่การเป็นพลเมืองดีที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะมีการกำหนดสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การดำเนินชีวิตในสังคม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม แล้ว และเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาการเรียน การสอนหน้าที่พลเมือง และค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ จึงนำมาสู่การกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียน ในเรื่อง ความเป็นไทย รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ความปรองดอง สมานฉันท์ และ ความมีวินัยในตนเอง เพื่อให้สถานศึกษานำไปจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในหลักสูตรสถานศึกษาตามกรอบความคิด ในการพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 7. 3
  • 8. 4 เป้าหมายสำคัญในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ความเป็นไทย รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย ์ การดำรงชีวิตในสังคมประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข พลเมืองดี ในระบอบ ประชาธิปไตย ปรองดอง สมานฉันท์ การเป็นพลเมืองดี ของชาติ
  • 9. ๕ จุดเน้นและขอบขา่ย รายวชิาเพิ่มเติมหน้าทพี่ลเมอืง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จุดเน้นที่ 1 ความเป็นไทย 1. ลักษณะที่ดีของคนไทย (มารยาทไทย กตัญญูกตเวที เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ) 2. ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแต่งกาย ภาษา ภูมิปัญญา ประเพณี) จุดเน้นที่ 2 รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ การเห็นคุณค่าและการแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ จุดเน้นที่ 3 ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1. การดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย 2. การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ 1. การอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลาย 2. การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจาก การกระทำของตนเอง
  • 10. ๖ ผลการเรียนรู้ชั้นปี / ช่วงชั้น รายวชิาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จุดเน้น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ 1. ความเป็นไทย 1.๑ ลักษณะ ที่ดีของคนไทย (มารยาทไทย กตัญญูกตเวที เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ) ๑. ปฏิบัตติน เป็นผู้มี มารยาทไทย ๑. ปฏิบัตติน เป็นผู้มี มารยาทไทย ๑. ปฏิบัติตน เป็นผู้มี มารยาทไทย ๑. เห็นคุณค่า และปฏิบตัิตน เป็นผู้มี มารยาทไทย ๑. เห็นคุณค่า และปฏิบตัิตน เป็นผู้มี มารยาทไทย ๑. ปฏิบัติตน และชักชวน ผู้อื่นให้มี มารยาทไทย ๑. มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ ์ มารยาทไทย 1. มีส่วนร่วม และแนะนำผู้อื่น ให้อนุรักษ์ มารยาทไทย 1. มีส่วนร่วม แนะนำผู้อื่น ให้อนุรักษ์ และ ยกย่องผู้มี มารยาทไทย ๑. มีส่วนร่วม และแนะนำผู้อื่น ให้อนุรักษ์ และ เผยแพร่มารยาท ไทยสู่สาธารณะ ๒. แสดงออกถึง ความกตัญญู- กตเวทีต่อบุคคล ในครอบครัว ๒. แสดงออกถึง ความกตัญญู- กตเวทีต่อบุคคล ในโรงเรียน ๒. แสดงออกถึง ความกตัญญู- กตเวทีต่อบุคคล ในชุมชน ๒. แสดงออกถึง ความกตัญญู- กตเวทีต่อ ผู้ทำประโยชน์ ในสังคม ๒. รู้คุณค่า และบำรุงรักษา ทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ๒. มีส่วนร่วม และชักชวน ผู้อื่นให้อนุรักษ์ ทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ๒. แสดงออกถึง ความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ และ เสียสละต่อสังคม ๒. แสดงออก และแนะนำผู้อื่น ให้มีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ และ เสียสละต่อสังคม ๒. แสดงออก แนะนำผู้อื่น และมสี่วนร่วม ในกิจกรรม เกี่ยวกับ ความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ และ เสียสละ ๒. แสดงออก แนะนำผู้อื่น และยกย่องบุคคล ที่มีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ และ เสียสละ ๑.2 ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณไีทย (การแต่งกาย ภาษา ภูมิปัญญา ประเพณี) ๓. เห็น ความสำคัญ ของภาษาไทย ๓. เห็น ประโยชน์ของ การแต่งกาย ด้วยผ้าไทย ๓. เห็นคุณค่า ของภูมิปัญญา ท้องถิ่น ๓. มีส่วนร่วม ในข น บ ธรรม เนีย ม ประเพณไีทย ๓. มีส่วนร่วมใน ศิล ป วัฒ น ธ ร ร ม ไท ย ๓. มีส่วนร่วม ในข น บ ธรรม เนีย ม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม แ ล ะ ภูมิปัญ ญ าไท ย ๓. เห็นคุณค่า และอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม แ ล ะ ภูมิปัญ ญ าไท ย ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ และ สืบสาน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม แล ะภูมิปัญ ญ าไท ย ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และประยุกต์ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม แล ะภูมิปัญ ญ าไท ย ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ และ เผยแพร่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม แล ะภูมิปัญ ญ าไท ย
  • 11. ๗ จุดเน้น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ 2. รักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และ เทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย  การเห็นคุณค่า และการแสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ ๔. เข้าร่วม กิจกรรม เกี่ยวกบัชาติ ศาสนา และ สถาบัน พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ ๔. เข้าร่วม กิจกรรม เกี่ยวกบัชาติ ศาสนา และ สถาบัน พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ ๔. เข้าร่วม กิจกรรม เกี่ยวกบัชาติ ศาสนา และ สถาบัน พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ ๔. เห็น ความสำคัญ และแสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบัน พระมหากษัตริย์ ๔. เห็นคุณค่า และแสดงออก ถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบัน พระมหากษัตริย์ ๔. เห็นคุณค่า และแนะนำ ผู้อื่นให้ แสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบัน พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ ๔. เป็นแบบอย่าง ของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบัน พระมหากษัตริย์ ๔. เป็นแบบอย่าง และแนะนำผู้อื่น ให้มีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบัน พ ระ ม ห าก ษัต ริย์ ๔. เป็นแบบอย่าง และมสี่วนร่วม ในการจัดกิจกรรม ที่แสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบัน พระมหากษัตริย์ ๔. เป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรม และ สนับสนุนให้ผู้อื่น แสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบัน พระมหากษัตริย์ ๕. ป ฏิบัติต น ต าม พ ระ บ รม ราโช ว าท หลัก การทรงงาน แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ป ฏิบัติต น ต าม พ ระ บ รม ราโช ว าท หลัก การทรงงาน แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ป ฏิบัติต น ต าม พ ระ บ รม ราโช ว าท หลัก การทรงงาน แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ป ฏิบัติต น ต าม พ ระ บ รม ราโช ว าท หลัก การทรงงาน และ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ป ฏิบัติต น ต าม พ ระ บ รม ราโช ว าท หลัก การทรงงาน และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ป ฏิบัติต น ต าม พ ระ บ รม ราโช ว าท หลัก การทรงงาน แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ประยุกต ์ และเผยแพร ่ พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ประยุกต์ และเผยแพร ่ พ ระ บ รม ราโช ว าท หลัก การทรงงาน แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. ประยุกต ์ และเผยแพร ่ พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕. เป็นแบบอย่าง ประยุกต ์ และเผยแพร่ พ ระ บ รม ราโช ว าท หลักการทรงงาน แ ล ะ ห ลัก ป รัช ญ า ของเศรษฐกิจ พอเพียง
  • 12. ๘ จุดเน้น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ ๓. ความเป็น พลเมืองดี ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมขุ ๓.๑ การดำเนิน ชีวิตตามวิถี ประชาธิปไตย ๖. ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กติกา และ หน้าที่ที่ต้อง ปฏิบัติ ในห้องเรียน ๖. ปฏิบัติตน ตามกฎ ระเบียบ และหน้าที่ ที่ต้องปฏิบัติ ในโรงเรียน ๖. ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหน้าที่ ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน และโรงเรียน ๖. มีส่วนร่วม ในการสร้าง และปฏิบตัิตาม ข้อตกลง กติกา ของห้องเรียน ๖. มีส่วนร่วม ในการสร้าง และปฏิบตัิตาม กฎ ระเบียบ ของโรงเรียน ๖. ปฏิบัติตน และแนะนำผู้อื่น ให้ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของห้องเรียน และโรงเรียน ๖. ปฏิบัติตน เป็นพลเมืองดี ตามวิถี- ประชาธิปไตย ๖. ปฏิบัติตน เป็นพลเมืองดี ตามวิถี- ประชาธิปไตย ๖. ปฏิบัติตน เป็นพลเมืองดี ตามวิถี- ประชาธิปไตย ๖. เป็นแบบอย่าง และส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผู้อื่น เป็นพลเมืองดี ตามวิถี ประชาธิปไตย ๓.๒ การมสี่วนร่วม ทางการเมือง การปกครอง ในระบอบ ประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ๗. ปฏิบัติตน ตามบทบาท หน้าที่ใน ฐานะสมาชิก ที่ดีของ ครอบครัว และ ห้องเรียน ๗. ปฏิบัตติน ตามบทบาท หน้าที่ในฐานะ สมาชิกที่ดีของ ห้องเรียน และ โรงเรียน ๗. ปฏิบัติตน ตามบทบาท หน้าที่ และ มีส่วนร่วม ในกิจกรรม ต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และ โรงเรียน ๗. ปฏิบัติตน ตามบทบาท หน้าที่ มีส่วนร่วม และรับผิดชอบ ในการตัดสินใจ ในกิจกรรม ของครอบครัว และห้องเรียน ๗. ปฏิบัติตน ตามบทบาท หน้าที่ มีส่วนร่วม และรับผิดชอบ ในการตัดสินใจ ในกิจกรรม ของ ห้องเรียน และ โรงเรียน ๗. เห็นคุณค่า และปฏิบตัิตน ตามบทบาท หน้าที่ มีส่วนร่วม และรับผิดชอบ ในการตัดสินใจ ในกิจกรรมของ ห้องเรียน และ โรงเรียน ๗. มีส่วนร่วม และรับผิดชอบ ในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอ้มลู เพื่อใช้ประกอบ การตัดสินใจ ในกิจกรรม ต่าง ๆ ๗. มีส่วนร่วม และรับผิดชอบ ในการตัดสินใจ ตรวจสอบ ข้อมูลเพื่อใช้ ประกอบ การตัดสินใจ ในกิจกรรม ต่าง ๆ และ รู้ทันข่าวสาร ๗. มีส่วนร่วม และรับผิดชอบ ในการตัดสินใจ ตรวจสอบ ข้อมูล ตรวจสอบ การทำหน้าที่ของ บุคคลเพื่อใช้ ประกอบ การตัดสินใจ ๗. ประยุกต์ใช้ กระบวนการ ประชาธิปไตย ในการวิพากษ์ ประเด็นนโยบาย สาธารณะที่ตน สนใจ ๘. มีส่วนร่วม และตัดสินใจ เลือกตั้งอย่างมี วิจารณญาณ ๙. รู้ทันข่าวสารและ รู้ทันสื่อ ๑๐. คาดการณ์ เหตุการณ์ล่วงหน้า บนพื้นฐานของ ข้อมูล
  • 13. ๙ จุดเน้น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ๖ ๔ . ค ว าม ป รอ งด อ ง ส ม าน ฉัน ท์ ๔ .๑ ก าร อ ยู่ร่ว ม กัน ใน สัง ค ม แ ห่ง ค ว าม ห ล า ก ห ล าย ๘. ยอมรับ ความเหมือน และ ความแตกต่าง ของตนเอง และผู้อื่น ๘. ยอมรับ ความเหมือน และ ความแตกต่าง ของตนเอง และผู้อื่น ๘. ยอมรับ และอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นอย่างสันติ ๘. ยอมรับ และอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นอย่างสันติ และพึ่งพา ซึ่งกันและกัน ๘. ยอมรับ ความ หลากหลาย ทางสังคม- วัฒนธรรม ในท้องถิ่น และอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นอย่างสันติ และพึ่งพา ซึ่งกันและกัน ๘. ยอมรับ ความ หลากหลาย ทางสังคม- วัฒนธรรม ในประเทศไทย และอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นอย่างสันติ และพึ่งพา ซึ่งกันและกัน ๘. ยอมรับ ความ หลากหลาย ทางสังคม- วัฒนธรรม ในภูมิภาค- เอ เชีย ต ะ วัน อ อ ก - เฉียงใต้ และ อ ยู่ร่ว ม กัน อย่าง สันติและพึ่งพา ซึ่งกันและกัน ๘. เห็นคุณค่า ข อ งก ารอ ยู่ร่ว ม กัน ในภูมิภาคเอเชีย อย่างสันติ และ พึ่งพาซึ่งกัน และกัน ๘. เห็นคุณค่า ข อ งก าร อ ยู่ร่ว ม กัน ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก อย่างสันติ และ พึ่งพาซึ่งกัน และกัน ๑๑. ยอมรับ ในอตัลักษณ ์ และเคารพ ความหลากหลาย ในสังคม- พหุวัฒนธรรม ๑๒. เห็นคุณค่า ข อ งก าร อ ยู่ร่ว ม กัน อย่างสันติ และ พึ่งพาซึ่งกัน และกัน ๔.๒ การจัดการ ความขัดแย้ง และ สันติวิธี ๙. ยกตัวอย่าง ความขัดแย้ง ในห้องเรียน และเสนอวิธีการ แก้ปัญหา โดยสันติวิธี ๙. ยกตัวอย่าง ความขัดแย้ง ในโรงเรียน และเสนอวิธีการ แก้ปัญหา โดยสันติวิธี ๙. ยกตัวอย่าง ความขัดแย้ง ในชุมชน และเสนอวิธีการ แก้ปัญหา โดยสันติวิธี ๙. วิเคราะห์ ปัญหา ความขัดแย้ง ในท้องถิ่น และเสนอ แนวทาง การแก้ปัญหา โดยสันติวิธี ๙. วิเคราะห์ ปัญหา ความขัดแย้ง ในภูมิภาคของ ตนเอง และเสนอ แนวทาง การแก้ปัญหา โดยสันติวิธี ๙. วิเคราะห์ ปัญหา ความขัดแย้ง ในประเทศไทย และเสนอ แนวทาง การแก้ปัญหา โดยสันติวิธี ๙. มีส่วนร่วม ในการ แก้ปัญหา ความขัดแย้ง โดยสันติวิธี ๙. มีส่วนร่วม และเสนอ แนวทาง การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง โดยสันติวิธี ๙. มีส่วนร่วม และเสนอ แนวทาง การป้องกัน ปัญหา ความขัดแย้ง ๑ ๓ . มีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหา เมื่อเกิด ความขัดแย้ง โดยสันติวิธี และ สร้างเครือข่าย การป้องกันปัญหา ความขัดแย้ง
  • 14. ๑๐ จุดเน้น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ๖ 5. ความมีวินัย ในตนเอง ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิด จากการกระทำ ของตนเอง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ๑๔. ปฏิบัติตนเป็นผู้มี วินัยในตนเอง
  • 15. 11 ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ รายวชิาเพมิ่เตมิหน้าที่พลเมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จุดเน้นที่ 1 ความเป็นไทย ๑.๑ ลักษณะที่ดีของคนไทย (มารยาทไทย กตัญญูกตเวที เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ) ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย มารยาทไทย - การแสดงความเคารพ (การไหว้) - การรับประทานอาหาร - การทักทายด้วยวาจา และยิ้ม ๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ต่อบุคคลในครอบครัว ความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ ป.2 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย มารยาทไทย - การพูดด้วยถ้อยคำไพเราะ - การมีกิริยาสุภาพอ่อนน้อม ๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ต่อบุคคลในโรงเรียน ความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในโรงเรียน ป.3 1. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย มารยาทไทย - การต้อนรับผู้มาเยือน - การปฏิบัติตนตามกาลเทศะ ๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ต่อบุคคลในชุมชน ความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในชุมชน ป.4 1. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนเป็นผู้มี มารยาทไทย มารยาทไทยในพิธีการต่าง ๆ - การกล่าวคำต้อนรับ - การแนะนำตัวเอง แนะนำสถานที่ ๒. แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อ ผู้ทำประโยชน์ในสังคม ความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ทำประโยชน์ในสังคม ป.5 1. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนเป็นผู้มี มารยาทไทย มารยาทไทย - การสนทนา - การปฏิบัติตนตามกาลเทศะ - การต้อนรับผู้มาเยือน ๒. รู้คุณค่าและบำรุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การรู้คุณค่า การใช้อย่างประหยัดและคุ้มค่า และ การบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • 16. 12 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.6 1. ปฏิบัติตนและชักชวนผู้อื่นให้มี มารยาทไทย มารยาทไทย - การแสดงความเคารพ - การสนทนา - การปฏิบัติตนตามกาลเทศะ - การต้อนรับผู้มาเยือน ๒. มีส่วนร่วมและชักชวนผู้อื่นให้อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ม.1 1. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มารยาทไทย มารยาทไทย - การแสดงความเคารพ - การสนทนา - การแต่งกาย - การมีสัมมาคารวะ ๒. แสดงออกถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และ เสียสละต่อสังคม ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ม.2 1. มีส่วนร่วมและแนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์ มารยาทไทย มารยาทไทย - การแสดงความเคารพ - การสนทนา - การแต่งกาย - การมีสัมมาคารวะ ๒. แสดงออกและแนะนำผู้อื่นให้มี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละ ต่อสังคม ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ม.3 1. มีส่วนร่วม แนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์ และ ยกย่องผู้มีมารยาทไทย มารยาทไทย - การแสดงความเคารพ - การสนทนา - การแต่งกาย - การมีสัมมาคารวะ ๒. แสดงออก แนะนำผู้อื่น และมีส่วนร่วม ในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม
  • 17. 13 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ม.4 - 6 1. มีส่วนร่วมและแนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์ และเผยแพร่มารยาทไทยสู่สาธารณะ มารยาทไทย - การแสดงความเคารพ - การสนทนา - การแต่งกาย - การมีสัมมาคารวะ ๒. แสดงออก แนะนำผู้อื่น และยกย่อง บุคคลที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม
  • 18. 14 ๑.2 ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแต่งกาย ภาษา ภูมิปัญญา ประเพณี) ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 ๓. เห็นความสำคัญของภาษาไทย ความสำคัญของภาษาไทย ป.2 ๓. เห็นประโยชน์ของการแต่งกาย ด้วยผ้าไทย การแต่งกายด้วยผ้าไทย ป.3 ๓. เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องต่าง ๆ ป.4 ๓. มีส่วนร่วมในขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยในท้องถิ่น ป.5 ๓. มีส่วนร่วมในศิลปวัฒนธรรมไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย ป.6 ๓. มีส่วนร่วมในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาไทย ม.1 ๓. เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาไทย ม.2 ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ และสืบสาน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาไทย ม.3 ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และ ประยุกต์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาไทย ม.4 - 6 ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ และเผยแพร่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาไทย
  • 19. 15 จุดเน้นที่ 2 รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ การเห็นคุณค่าและการแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 ๔. เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ๑. กิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบัน พระมหากษัตริย์ ๒. วันสำคัญของชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - การออม - การประหยัด ๒. หลักการทรงงาน - ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด - ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน ป.2 ๔. เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ๑. กิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบัน พระมหากษัตริย์ ๒. วันสำคัญของชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - ความขยัน - ความอดทน ๒. หลักการทรงงาน - การพึ่งตนเอง - รู้ รัก สามัคคี ป.3 ๔. เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ๑. กิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบัน พระมหากษัตริย์ ๒. วันสำคัญของชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - ความซื่อสัตย์ - ความเสียสละ ๒. หลักการทรงงาน - การมีส่วนร่วม - ความเพียร: พระมหาชนก
  • 20. 16 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.4 ๔. เห็นความสำคัญและแสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ - การใช้สินค้าไทย - การดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ - การรักษาสาธารณสมบัติ - การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี - การปฏิบัติตนตามพระราชจริยวัตรและพระจริยวัตร ๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - การมีวินัย - การข่มใจ ๒. หลักการทรงงาน - ประโยชน์ส่วนรวม - พออยู่พอกิน ป.5 ๔. เห็นคุณค่าและแสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ - การใช้สินค้าไทย - การดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ - การรักษาสาธารณสมบัติ - การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี - การปฏิบัติตนตามพระราชจริยวัตรและพระจริยวัตร ๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. พระบรมราโชวาท - เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ - ความสามัคคี ๒. หลักการทรงงาน - ทำตามลำดับขั้น - ทำงานอย่างมีความสุข ป.6 ๔. เห็นคุณค่าและแนะนำผู้อื่น ให้แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ - การใช้สินค้าไทย - การดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ - การรักษาสาธารณสมบัติ - การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี - การปฏิบัติตนตามพระราชจริยวัตรและพระจริยวัตร ๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. พระบรมราโชวาท - ความใฝ่รู้ - ความกตัญญูกตเวที ๒. หลักการทรงงาน - องค์รวม - ทำให้ง่าย
  • 21. 17 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ม.1 ๔. เป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง - ความรักชาติ - การยึดมั่นในศาสนา - การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - มีเหตุผล - รอบคอบ ๒. หลักการทรงงาน - การใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ - การปลูกป่าในใจคน ม.2 ๔. เป็นแบบอย่างและแนะนำผู้อื่นให้มี ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง - ความรักชาติ - การยึดมั่นในศาสนา - การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - การมีสติ - ความขยันอดทน ๒. หลักการทรงงาน - ภูมิสังคม - ขาดทุนคือกำไร ม.3 ๔. เป็นแบบอย่างและมีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง - ความรักชาติ - การยึดมั่นในศาสนา - การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - การเสียสละ - ความซื่อสัตย์ ๒. หลักการทรงงาน - ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ - แก้ปัญหาที่จุดเล็ก
  • 22. 18 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ม.4 - 6 ๔. เป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึง ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ การปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง - ความรักชาติ - การยึดมั่นในศาสนา - การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. เป็นแบบอย่าง ประยุกต์ และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑. พระบรมราโชวาท - การมีระเบียบวินัย - ความสามัคคี ๒. หลักการทรงงาน - ระเบิดจากข้างใน - ไม่ติดตำรา - บริการรวมที่จุดเดียว - ใช้อธรรมปราบอธรรม
  • 23. 19 จุดเน้นที่ 3 ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3.1 การดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 ๖. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียน ข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียน - การรักษาความสะอาด - การรักษาของใช้ร่วมกัน - การส่งงาน ป.2 ๖. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ และหน้าที่ ที่ต้องปฏิบัติในโรงเรียน กฎ ระเบียบ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในโรงเรียน - การแต่งกาย - การเข้าแถว - การดูแลพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย ป.3 ๖. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียนและโรงเรียน ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียนและโรงเรียน - การใช้สิ่งของ เครื่องใช้ และสถานที่ของส่วนรวม - การดูแลรักษาสิ่งของ เครื่องใช้ และสถานที่ ของส่วนรวม ป.4 ๖. มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตาม ข้อตกลง กติกา ของห้องเรียน ๑. ข้อตกลง กติกา ในห้องเรียน - การรักษาความสะอาด - การรักษาของใช้ร่วมกัน - การส่งงาน ๒. การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการสร้างข้อตกลง กติกา ด้วยหลักเหตุและผล และยึดถือประโยชน์ ส่วนรวม ป.5 ๖. มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ของโรงเรียน ๑. กฎ ระเบียบ ในโรงเรียน - การรักษาความสะอาด - การรักษาของใช้ร่วมกัน - การดูแลพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการสร้างกฎ ระเบียบ ด้วยหลักเหตุและผล และยึดถือประโยชน์ ส่วนรวม ป.6 ๖. ปฏิบัติตนและแนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของห้องเรียน และโรงเรียน ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ในห้องเรียนและ โรงเรียน - การใช้สิ่งของ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ ของส่วนรวม - การดูแลรักษาสิ่งของ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ของส่วนรวม
  • 24. 20 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ม.1 ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี- ประชาธิปไตย พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย - มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม - การตัดสินใจโดยใช้เหตุผล ม.2 ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี- ประชาธิปไตย พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย - การติดตามข่าวสารบ้านเมือง - ความกล้าหาญทางจริยธรรม - การเป็นผู้นำ และการเป็นสมาชิกที่ดี ม.3 ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี- ประชาธิปไตย พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย - การใช้สิทธิและหน้าที่ - การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้ง ม.4 - 6 ๖. เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย - การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี - การใช้สิทธิและหน้าที่ - การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ - ความกล้าหาญทางจริยธรรม - การเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสังคมต่อสาธารณะ - การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง และ การรู้เท่าทันสื่อ - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง
  • 25. 21 ๓.๒ การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะ สมาชิกที่ดีของครอบครัว และห้องเรียน บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว และห้องเรียน - เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ และครู ป.2 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะ สมาชิกที่ดีของห้องเรียน และโรงเรียน บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน และโรงเรียน - การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี - หน้าที่และความรับผิดชอบ ป.3 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และ มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียน และโรงเรียน ๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน และโรงเรียน - การใช้สิทธิและหน้าที่ - การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียนและโรงเรียน ป.4 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน ๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว และห้องเรียน - การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี - การมีเหตุผลและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - การปฏิบัติตามเสียงข้างมากและยอมรับ เสียงข้างน้อย ๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของครอบครัวและห้องเรียน ป.5 ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน ๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน และโรงเรียน - การยึดถือหลักความจริง ความดีงาม ความถูกต้อง และหลักเหตุผล - การยึดถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ - การยึดหลักความเสมอภาคและความยุติธรรม ๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียนและโรงเรียน ป.6 ๗. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามบทบาท หน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการ ตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียน และโรงเรียน ๑. บทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน และโรงเรียน - การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกที่ดี - การยึดถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ - การใช้สิทธิและหน้าที่ - การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ๒. กิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียนและโรงเรียน
  • 26. 22 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ม.1 ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ในกิจกรรมต่าง ๆ 1. การมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ต่อกิจกรรมของห้องเรียน และโรงเรียน 2. การตรวจสอบข้อมูล ม.2 ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ในกิจกรรมต่าง ๆ และรู้ทันข่าวสาร 1. การมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ต่อกิจกรรมของห้องเรียน และโรงเรียน 2. การตรวจสอบข้อมูล ๓. การรู้ทันข่าวสาร ม.3 ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบการทำหน้าที่ของ บุคคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ 1. การมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ต่อกิจกรรมของห้องเรียน และโรงเรียน 2. การตรวจสอบข้อมูล ๓. การตรวจสอบการทำหน้าที่ของบุคคล ม.4 - 6 ๗. ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตย ในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะ ที่ตนสนใจ การประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตย ในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะ ๘. มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้ง อย่างมีวิจารณญาณ การมีส่วนร่วมและการตัดสินใจเลือกตั้ง อย่างมีวิจารณญาณ ๙. รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ การรู้ทันข่าวสารและการรู้ทันสื่อ ๑๐. คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้า บนพื้นฐานของข้อมูล การคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐาน ของข้อมูล
  • 27. 23 จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ 4.1 การอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลาย ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 ๘. ยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล ของตนเองและผู้อื่น ในเรื่องเชื้อชาติ ภาษา เพศ สุขภาพ ความพิการ ป.2 ๘. ยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง ความสามารถ ถิ่นกำเนิด ฯลฯ ของตนเองและผู้อื่น ป.3 ๘. ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ ๑. ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล ในเรื่องเชื้อชาติ ภาษา เพศ สุขภาพ ความพิการ ความสามารถ ถิ่นกำเนิด สถานะของบุคคล ฯลฯ ๒. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและการพึ่งพาซึ่งกัน และกัน - ไม่รังแก ไม่ทำร้าย - ไม่ล้อเลียน - ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน ป.4 ๘. ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกัน ป.5 ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคม- วัฒนธรรมในท้องถิ่น และอยู่ร่วมกับผู้อื่น อย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๑. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในท้องถิ่น ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม ๒. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและการพึ่งพาซึ่งกัน และกัน - เคารพซึ่งกันและกัน - ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น - ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน ป.6 ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคม- วัฒนธรรมในประเทศไทย และอย่รูว่มกับ ผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๑. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในประเทศ ไทย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม ๒. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและการพึ่งพาซึ่งกัน และกัน - เคารพซึ่งกันและกัน - ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น - ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน
  • 28. 24 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ม.1 ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคม- วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออก- เฉียงใต้ และอยู่ร่วมกันอย่างสันติและ พึ่งพาซึ่งกันและกัน 1. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม 2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ การพึ่งพาซึ่งกันและกัน - เคารพซึ่งกันและกัน - ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น - ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน ม.2 ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน ในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกัน และกัน 1. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาค เอเชีย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม 2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ การพึ่งพาซึ่งกันและกัน - เคารพซึ่งกันและกัน - ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น - ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน ม.3 ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกอย่างสันติ และ พึ่งพาซึ่งกันและกัน 1. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาค ต่าง ๆ ของโลก ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม 2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ การพึ่งพาซึ่งกันและกัน - เคารพซึ่งกันและกัน - ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น - ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน ม.4-6 ๑๑. ยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพ ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม 1. อัตลักษณ์และความหลากหลายในสังคม- พหุวัฒนธรรม 2. การอย่รูว่มกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ การพึ่งพาซึ่งกันและกัน - เคารพซึ่งกันและกัน - ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น - ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน ๑๒. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
  • 29. 25 4.2 การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 ๙. ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียน และเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ความขัดแย้งในห้องเรียน และวิธีการแก้ปัญหา โดยสันติวิธี ในกรณี - ความคิดเห็นไม่ตรงกัน - การละเมิดสิทธิของผู้อื่น ป.2 ๙. ยกตัวอย่างความขัดแย้งในโรงเรียน และเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ความขัดแย้งในโรงเรียนและวิธีการแก้ปัญหา โดยสันติวิธี ในกรณี - หน้าที่และความรับผิดชอบ - การใช้ของส่วนรวม ป.3 ๙. ยกตัวอย่างความขัดแย้งในชุมชน และเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ความขัดแย้งในชุมชนและวิธีการแก้ปัญหา ความขัดแย้งโดยสันติวิธี ในกรณี - การใช้สาธารณสมบัติ - การรักษาสิ่งแวดล้อม ป.4 ๙. วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง ในท้องถิ่น และเสนอแนวทางการแก้ปัญหา โดยสันติวิธี ความขัดแย้งในท้องถิ่น และแนวทางการแก้ปัญหา โดยสันติวิธี ในกรณี - การใช้สาธารณสมบัติ - การรักษาสิ่งแวดล้อม ป.5 ๙. วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง ในภูมิภาคของตนเอง และเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ความขัดแย้งในภูมิภาคของตนเอง และแนวทาง การแก้ปัญหาโดยสันติวิธี - การจัดการทรัพยากร (น้ำ ป่าไม้ ที่ดิน) - การขัดแย้งทางความคิด ป.6 ๙. วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้ง ในประเทศไทย และเสนอแนวทาง การแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และ แนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี - การละเมิดสิทธิ - การรักษาสิ่งแวดล้อม ม.1 ๙. มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ความขัดแย้งโดยสันติวิธี ๑. ความขัดแย้ง - การทะเลาะวิวาท - ความคิดเห็นไม่ตรงกัน ๒. การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี - การเจรจาไกล่เกลี่ย - การเจรจาต่อรอง - การระงับความขัดแย้ง
  • 30. 26 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ม.2 ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทาง การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี ๑. ความขัดแย้ง - การละเมิดสิทธิ - การใช้ของส่วนรวม ๒. การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี - การเจรจาไกล่เกลี่ย - การเจรจาต่อรอง - การระงับความขัดแย้ง ม.3 ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทาง การป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ๑. ความขัดแย้ง - ทัศนคติ ความคิด ความเชื่อ - ชู้สาว ๒. การป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ม.4 - 6 ๑๓. มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเมื่อเกิด ความขัดแย้งโดยสันติวิธี และสร้าง เครือข่ายการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ๑. การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี - การเจรจาไกล่เกลี่ย - การเจรจาต่อรอง - การระงับความขัดแย้ง ๒. การสร้างเครือข่ายการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง
  • 31. 27 จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจาก การกระทำของตนเอง ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ป.1 – ๓ ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง คุณลักษณะของผู้มีวินัยในตนเอง - ความซื่อสัตย์สุจริต - ขยันหมั่นเพียร อดทน - ใฝ่หาความรู้ - ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ - ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง (การพัฒนาผู้เรียนให้มีวินัยในตนเองให้นำไปบูรณาการ กับผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ของจุดเน้น ที่ ๑ - ๔ ที่เกี่ยวข้อง) ป.๔ – ๖ ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ม.1 – ๓ ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ม.๔ – ๖ ๑๔. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง