SlideShare a Scribd company logo
วิสัยทัศน์สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย ร่วมใจประกอบอาชีพสุจริตผูกมิตรยึดมั่นศรัทธาใน
หลักธรรม จดจาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พิลาสวิถีความเป็นไทย สุขใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น ปฏิบัติ
เป็นอาจิณคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม ชื่นชมเศรษฐกิจพอเพียง คู่เคียงชุมชนท้องถิ่นตน ทุกคน
ดารงชีวิตในสังคมด้วยความสุข ปลูกจิตสานึกอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
สมรรถนะสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล
และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ
ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม
สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก
การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
๑. ด้านความมีวินัย สามารถควบคุมตนเองทางกาย วาจา ใจได้ เคารพในสิทธิและหน้าที่
ของกันและกัน และ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นตามเกณฑ์ของสังคม
๒. ด้านความมีน้าใจ การช่วยเหลือ การแสดงความเอื้ออาทร และการปลอบโยนหรือ
ให้กาลังใจ, การไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น
๓. ด้านความสนใจใฝ่รู้และสร้างสรรค์ ความใฝ่ฝันและจินตนาการ ความกระตือรือร้น
ความอยากรู้อยากเห็นและความชอบ ชื่นชมและการเห็นคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ความตั้งใจ การเอาใจใส่ทา
ให้ดีกว่าเดิมอยู่เสมอ
๔. ด้านความเป็นไทย การปฏิบัติตนตามมารยาทไทย การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
ประยุกต์ ใช้ในชีวิต และการมีส่วนร่วมเผยแพร่และอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม การ
ร่วมกิจกรรมที่สาคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์
๑
๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล
และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ
ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม
สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิตเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มี
ความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบท
สภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
โดยได้กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้
๑. ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา
ตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม
๒.หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็น
พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้าน
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน
สังคมไทยและสังคมโลก
๓. เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
๔.ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ
มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจาก
เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติ
ไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก
๕. ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ
ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน
๓
คุณภาพผู้เรียน
๑. ได้เรียนรู้และศึกษาความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น
๒. ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้
๓. ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่น
ในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๔. ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มี
จิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและ
ประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม
๕. เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้ นาตนเองได้ และสามารถ
แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต
๔
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม
หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารง
รักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย
๕
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อ
กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ
ค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
๑. ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ
กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
๒. ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา
แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก
ได้แก่ เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และ
ภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์
๓. ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์
ในการดาเนินชีวิตและวางแผนการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม
๖
กระบวนการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิเคราะห์สาระและมาตรฐาน
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
วิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี /ช่วง
ชั้นและสาระการเรียนรู้
แกนกลาง
กาหนดสาระสาคัญ
กาหนดหน่วยการเรียนรู้
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้และจัดทา
แผนการจัดการเรียนรู้
จัดทาโครงการ
สอน/โครงสร้าง
รายวิชาและ
ออกแบบ
กิจกรรมการ
เรียนรู้ตาม
แนวคิด
Backward
Design
๑.ระบุมาตรฐาน
การเรียนรู้และ
ตัวชี้วัด
๒. กาหนด
สาระสาคัญ
๓.สาระการเรียนรู้
- ความรู้
- ทักษะ/
กระบวนการ
- คุณลักษณะ
๔. การประเมินผล
๕.วางแผนจัด
กิจกรรมการ
เรียนรู้
๖. กาหนดสื่อ/
แหล่งการจัดการ
เรียนรู้
กาหนดสาระการเรียนรู้ ความรู้
ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ
จัดทาคาอธิบายรายวิชา
๗
หลักสูตรกลุ่มวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โครงสร้างหลักสูตรวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑
เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๒ รายวิชาประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย ๑
เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต
ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๒
เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๔ รายวิชาประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย ๒
เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓
เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๒ รายวิชาประวัติศาสตร์สุโขทัย
เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต
ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๓ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔
เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๔ รายวิชาประวัติศาสตร์อยุธยา
เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕
เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๒ รายวิชาประวัติศาสตร์ธนบุรี
เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต
ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๓ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖
เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๔ รายวิชาประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์
เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต
๘
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มวิชาพื้นฐาน
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม
หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารง
รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคม
โลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารง
รักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจาเป็น ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ
และธารงความเป็นไทย
๙
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อ
กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ
ค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
๑๐
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัด กลุ่มวิชาพื้นฐาน
สาระมาตรฐาน สาระศาสนา สาระหน้าที่
สาระ
เศรษฐศาสตร์
สาระภูมิศาสตร์
ชั้น / ภาคเรียน
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ มฐ.
๑.๑
มฐ.
๑.๒
มฐ.
๒.๑
มฐ.
๒.๒
- - - -
ภาคเรียนที่ ๑ ม.๑ ม.๑ ม.๑ ม.๑ - - - -
มัธยมศึกษาปี ที่ ๑
- - - -
มฐ.
๓.๑
มฐ.
๓.๒
มฐ.
๕.๑
มฐ๕.๒
ภาคเรียนที่ ๒ - - - - ม.๑ ม.๑ ม.๑ ม.๑
มัธยมศึกษาปี ที่๒ มฐ.
๑.๑
มฐ.
๑.๒
มฐ.
๒.๑
มฐ.
๒.๒
- - - -
ภาคเรียนที่ ๑ ม.๒ ม.๒ ม.๒ ม.๒ - - - -
มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
- - - -
มฐ.
๓.๑
มฐ.
๓.๒
มฐ.
๒.๑
มฐ.๒.๒
ภาคเรียนที่ ๒ - - - - ม.๒ ม.๒ ม.๒ ม.๒
มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ มฐ.
๑.๑
มฐ.
๑.๒
มฐ.
๒.๑
มฐ.
๒.๒
- - - -
ภาคเรียนที่ ๑ ม.๓ ม.๓ ม.๓ ม.๓ - - - -
มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
- -
มฐ.
๓.๑
มฐ.
๓.๒
มฐ.
๒.๑
มฐ.๒.๒
ภาคเรียนที่ ๒ - - ม.๓ ม.๓ ม.๓ ม.๓
๑๑
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัด กลุ่มวิชาพื้นฐาน
สาระ มาตรฐาน สาระประวัติศาสตร์
ชั้น / ภาคเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ส ๔.๑ ส ๔.๒ -
ภาคเรียนที่ ๑ ม.๑ ม.๑ -
มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ส ๔.๑ ส ๔.๒ -
ภาคเรียนที่ ๒ ม.๑ ม.๑ -
มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ - ส ๔.๒ ส ๔.๓
ภาคเรียนที่ ๑ - ม.๒ ม.๒
มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ - ส ๔.๒ ส ๔.๓
ภาคเรียนที่ ๒ - ม.๒ ม.๒
มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ - ส ๔.๒ ส ๔.๓
ภาคเรียนที่ ๑ - ม.๒ ม.๒
มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ - ส ๔.๒ ส ๔.๓
ภาคเรียนที่ ๒ - ม.๒ ม.๒
๑๒
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย
 การสังคายนา
 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่
ประเทศไทย
๒. วิเคราะห์ความสาคัญของ
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย
รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อ
สังคมไทยในฐานะเป็ น
 ศาสนาประจาชาติ
 สถาบันหลักของสังคมไทย
 สภาพแวดล้อมที่กว้างขวาง และ
ครอบคลุมสังคมไทย
 การพัฒนาตนและครอบครัว
๓. วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ
จนถึงบาเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติ
ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
 สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ
 ประสูติ
 เทวทูต ๔
 การแสวงหาความรู้
 การบาเพ็ญทุกรกิริยา
๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม
แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิก
ชนตัวอย่างตามที่กาหนด
 พุทธสาวก พุทธสาวิกา
 พระมหากัสสปะ
 พระอุบาลี
 อนาถบิณฑิกะ
 นางวิสาขา
 ชาดก
 อัมพชาดก
 ติตติรชาดก
๕. อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมสาคัญ
ในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็น
คุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของ
ตนเองและครอบครัว
 พระรัตนตรัย
 พุทธคุณ ๙
 อริยสัจ ๔
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
o ขันธ์ ๕
- ธาตุ ๔
๑๓
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
o หลักกรรม
- ความหมายและคุณค่า
o อบายมุข ๖
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
o สุข ๒ (กายิก, เจตสิก)
o คิหิสุข
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
o ไตรสิกขา
o กรรมฐาน ๒
o ปธาน ๔
o โกศล ๓
o มงคล ๓๘
-ไม่คบคนพาล
- คบบัณฑิต
- บูชาผู้ควรบูชา
 พุทธศาสนสุภาษิต
 ย เว เสวติ ตาทิโส
คบคนเช่นใดเป็นคนเช่นนั้น
 อตฺตนา โจทยตฺตาน
จงเตือนตน ด้วยตน
 นิสมฺม กรณ เสยฺโย
ใคร่ครวญก่อนทาจึงดี
 ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา
เรือนที่ครองไม่ดีนาทุกข์มาให้
๖. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการ
เรียนรู้และการดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิด
แบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบคุณค่า
แท้ – คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ –
โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจิต
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
 โยนิโสมนสิการ
 วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม
 วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก
๗. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ
เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
 สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
 วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหาร
จิตและเจริญปัญญา การฝึกบริหารจิต
และเจริญปัญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้น
๑๔
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
อานาปานสติ
 นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไป
ใช้ในชีวิตประจาวัน
๘. วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรม
ทางศาสนาที่ตนนับถือ ในการดารงชีวิต
แบบพอเพียง และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
เพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
 หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕)
๙. วิเคราะห์เหตุผลความจาเป็นที่ทุกคน
ต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ
 ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ มีการ
ประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการดาเนินชีวิต
แตกต่างกันตามหลักความเชื่อและคา
สอน ของศาสนาที่ตนนับถือ
๑๐. ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นใน
สถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
 การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชน
อื่นในสถานการณ์ต่างๆ
๑๑. วิเคราะห์การกระทาของบุคคลที่เป็น
แบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์ และ
นาเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอง
 ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสน
สัมพันธ์หรือมีผลงานด้านศาสนสัมพันธ์
ม.๒ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ
เพื่อนบ้าน
 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศ
เพื่อนบ้านและการนับถือพระพุทธ -
ศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน
๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ-
ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วย
เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศ
เพื่อนบ้าน
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วย
เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศ
เพื่อนบ้าน
๓. วิเคราะห์ความสาคัญของ
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ในฐานะที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรม
เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อ
สังคมไทยในฐานะเป็น
 รากฐานของวัฒนธรรม
 เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ
๔. อภิปรายความสาคัญของพระพุทธ -
ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือกับ
การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบ
สังคม
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับ
การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบ
สังคม
๕. วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติ
ศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
 สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ
 การผจญมาร
๑๕
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
กาหนด  การตรัสรู้
 การสั่งสอน
๖. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม
แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด
 พระสารีบุตร
 พระโมคคัลลานะ
 นางขุชชุตตรา
 พระเจ้าพิมพิสาร
 มิตตวินทุกชาดก
 ราโชวาทชาดก
๗. อธิบายโครงสร้าง และสาระสังเขป
ของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนา
ที่ตนนับถือ
 โครงสร้าง และสาระสังเขปของ
พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก
และพระอภิธรรมปิฎก
๘. อธิบายธรรมคุณ และข้อธรรมสาคัญ
ในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็น
คุณค่าและนาไปพัฒนา แก้ปัญหาของ
ชุมชนและสังคม
 พระรัตนตรัย
 ธรรมคุณ ๖
 อริยสัจ ๔
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
o ขันธ์ ๕
- อายตนะ
 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
o หลักกรรม
- สมบัติ ๔
- วิบัติ ๔
o อกุศลกรรมบถ ๑๐
o อบายมุข ๖
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
o สุข ๒ (สามิส, นิรามิส)
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
o บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา
o ดรุณธรรม ๖
o กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔
o กุศลกรรมบถ ๑๐
o สติปัฏฐาน ๔
o มงคล ๓๘
- ประพฤติธรรม
- เว้นจากความชั่ว
- เว้นจากการดื่มน้าเมา
๑๖
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 พุทธศาสนสุภาษิต
 กมฺมุนา วตฺตตี โลโก
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
 กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ
ปาปก ทาดีได้ดี ทาชั่ว ได้ชั่ว
 สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย การสั่งสม
บุญนาสุขมาให้
 ปูชโก ลภเต ปูช วนฺทโก ปฏิวนฺทน
ผู้บูชาเขา ย่อมได้รับการบูชา
ตอบ
ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ
๙. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการ
เรียนรู้และดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ
โยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอุบายปลุก
เร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรม
สัมพันธ์ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง
ของศาสนาที่ตนนับถือ
 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโส-
มนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบาย
ปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถ
ธรรมสัมพันธ์
๑๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ
เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
 สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
 รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม
หลักสติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ
 นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไป
ใช้ในชีวิตประจาวัน
๑๑.วิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรม
ทางศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดารงตน
อย่างเหมาะสมในกระแสความเปลี่ยนแปลง
ของโลก และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
 การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ
การเรียนรู้ ข้อ ๘.)
ม. ๓ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆ
ทั่วโลก
 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศ
ต่าง ๆ ทั่วโลก และการนับถือ
พระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านั้น
ในปัจจุบัน
๒. วิเคราะห์ความสาคัญของ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ
๑๗
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรม
และความสงบสุขแก่โลก
ที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบ
สุขให้แก่โลก
๓. อภิปรายความสาคัญของ
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
 สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืน (ที่สอดคล้องกับหลักธรรมในสาระ
การเรียนรู้ ข้อ ๖ )
๔. วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูป
ปางต่างๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง
ต่าง ๆ เช่น
o ปางมารวิชัย
o ปางปฐมเทศนา
o ปางลีลา
o ปางประจาวันเกิด
 สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ
 ปฐมเทศนา
 โอวาทปาฏิโมกข์
๕. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม
แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ
ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด
 พระอัญญาโกณฑัญญะ
 พระมหาปชาบดีเถรี
 พระเขมาเถรี
 พระเจ้าปเสนทิโกศล
 นันทิวิสาลชาดก
 สุวัณณหังสชาดก
๖. อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรมสาคัญใน
กรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
 พระรัตนตรัย
 สังฆคุณ ๙
 อริยสัจ ๔
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
o ขันธ์ ๕
-ไตรลักษณ์
 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
o หลักกรรม
-วัฏฏะ ๓
-ปปัญจธรรม ๓ (ตัณหา มานะ
ทิฎฐิ)
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
o อัตถะ ๓
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
๑๘
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
o มรรคมีองค์ ๘
o ปัญญา ๓
o สัปปุริสธรรม ๗
o บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
o อุบาสกธรรม ๗
o มงคล ๓๘
- มีศิลปวิทยา
- พบสมณะ
- ฟังธรรมตามกาล
- สนทนาธรรมตามกาล
 พุทธศาสนสุภาษิต
 อตฺตา หเว ชิต เสยฺโย
ชนะตนนั่นแลดีกว่า
 ธมฺมจารี สุข เสติ
ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข
 ปมาโท มจฺจุโน ปท
ความประมาทเป็นทางแห่งความ
ตาย
 สุสฺสูส ลภเต ปญฺญ
ผู้ฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา
 เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก : พุทธ
ปณิธาน ๔ ในมหาปรินิพพานสูตร
๗. เห็นคุณค่า และวิเคราะห์การปฏิบัติ
ตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตน
เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการทางาน
และการมีครอบครัว
 การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ
การเรียนรู้ ข้อ ๖.)
๘. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการ
เรียนรู้และดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ
โยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอริยสัจ
และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย หรือ
การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่
ตนนับถือ
 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบ
อริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
๑๙
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๙. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ
เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
 สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
 รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม
หลักสติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ
 นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา
ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
๑๐. วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับ
วิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนใน
ศาสนาอื่นๆ
 วิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนา
อื่นๆ
๒๐
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. บาเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของ
ศาสนาที่ตนนับถือ
 การบาเพ็ญประโยชน์ และ
การบารุงรักษาวัด
๒. อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็น
แบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และ
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ
ศาสนาที่ตนนับถือ
 วิถีชีวิตของพระภิกษุ
 บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่
พระพุทธศาสนา เช่น การแสดงธรรม
ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เป็น
แบบอย่าง
 การเข้าพบพระภิกษุ
 การแสดงความเคารพ การประนมมือ
การไหว้ การกราบ การเคารพ
พระรัตนตรัย การฟังเจริญ
พระพุทธมนต์ การฟังสวด
พระอภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา
๓. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล
ต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อเพื่อนตาม
หลักพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน
นับถือ
๔. จัดพิธีกรรม และปฏิบัติตนใน
ศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง
 การจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบ หมู่๔ หมู่ ๕
หมู่ ๗ หมู่๙
 การจุดธูปเทียน การจัดเครื่องประกอบ
โต๊ะหมู่บูชา
 คาอาราธนาต่างๆ
๕. อธิบายประวัติ ความสาคัญ และ
ปฏิบัติตนในวันสาคัญทางศาสนา
ที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด ได้ถูกต้อง
 ประวัติและความสาคัญของวันธรรม
สวนะ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา
วันเทโวโรหณะ
 ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติ
ตนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐ
มีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ
และเทศกาลสาคัญ
๒๑
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๒ ๑. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล
ต่าง ๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 การเป็นลูกที่ดี ตามหลักทิศเบื้องหน้า
ในทิศ ๖
๒. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี
ตามที่กาหนด
 การต้อนรับ (ปฏิสันถาร)
 มรรยาทของผู้เป็นแขก
 ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธี ปฏิบัติต่อ
พระภิกษุ การยืน การให้ที่นั่ง การ
เดินสวน การสนทนา การ
รับสิ่งของ
 การแต่งกายไปวัด การแต่งกายไปงาน
มงคล งานอวมงคล
๓. วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธี และ
ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
 การทาบุญตักบาตร
 การถวายภัตตาหารสิ่งของที่ควรถวาย
และสิ่งของต้องห้ามสาหรับพระภิกษุ
 การถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน
 การถวายผ้าอาบน้าฝน
 การจัดเครื่องไทยธรรม เครื่องไทยทาน
 การกรวดน้า
 การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า
๔. อธิบายคาสอนที่เกี่ยวเนื่องกับ
วันสาคัญทางศาสนา และปฏิบัติตน
ได้ถูกต้อง
 หลักธรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวเนื่องใน
วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา
วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา
 วันธรรมสวนะและเทศกาลสาคัญ
 ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน
ในวันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา
วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ
๕. อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี
พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนา
อื่น ๆ เพื่อนาไปสู่การยอมรับ และความ
เข้าใจซึ่งกันและกัน
 ศาสนพิธี/พิธีกรรม แนวปฏิบัติของ
ศาสนาอื่น ๆ
๒๒
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๓ ๑. วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวก
และปฏิบัติตนต่อสาวก ตามที่กาหนดได้
ถูกต้อง
 หน้าที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติ
ตามหลักพระธรรมวินัย และจริยวัตร
อย่างเหมาะสม
 การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุในงาน
ศาสนพิธีที่บ้าน การสนทนา การแต่ง
กาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตาม
ฐานะ
๒. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล
ต่าง ๆ ตามหลักศาสนา ตามที่กาหนด
 การเป็นศิษย์ที่ดี ตามหลักทิศเบื้องขวา
ในทิศ ๖ ของพระพุทธศาสนา
๓. ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี  การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามพุทธ
ปณิธาน ๔ ในมหาปรินิพพานสูตร
๔. ปฏิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรมได้
ถูกต้อง
 พิธีทาบุญ งานมงคล งานอวมงคล
 การนิมนต์พระภิกษุ การเตรียมที่ตั้ง
พระพุทธรูปและเครื่องบูชา การวงด้าย
สายสิญจน์ การปูลาดอาสนะ การเตรียม
เครื่องรับรอง การจุดธูปเทียน
 ข้อปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ การถวายข้าว
พระพุทธ การถวายไทยธรรม
การกรวดน้า
๕. อธิบายประวัติวันสาคัญทางศาสนา
ตามที่กาหนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
 ประวัติวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
ในประเทศไทย
 วันวิสาขบูชา (วันสาคัญสากล)
 วันธรรมสวนะและเทศกาลสาคัญ
 หลักปฏิบัติตน : การฟังพระธรรม
เทศนา การแต่งกายในการประกอบ
ศาสนพิธีที่วัด การงดเว้นอบายมุข
 การประพฤติปฏิบัติในวันธรรมสวนะ
และเทศกาลสาคัญ
๖. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือ
แสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา
ที่ตนนับถือ
 การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
 ขั้นเตรียมการ
 ขั้นพิธีการ
๒๓
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๓ ๗. นาเสนอแนวทางในการธารงรักษา
ศาสนาที่ตนนับถือ
 การศึกษาเรียนรู้เรื่ององค์ประกอบของ
พระพุทธศาสนา นาไปปฏิบัติและเผย
แผ่ตามโอกาส
 การศึกษาการรวมตัวขององค์กร
ชาวพุทธ
 การปลูกจิตสานึกในด้านการบารุงรักษา
วัดและพุทธสถานให้เกิดประโยชน์
๒๔
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. ปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครอง
สิทธิของบุคคล
 กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของ
บุคคล
- กฎหมายการคุ้มครองเด็ก
- กฎหมายการศึกษา
- กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค
- กฎหมายลิขสิทธิ์
 ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตาม
กฎหมายการคุ้มครองสิทธิของบุคคล
๒. ระบุความสามารถของตนเอง
ในการทาประโยชน์ต่อสังคมและ
ประเทศชาติ
 บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อ
สังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิต
สาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม
ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและ
รับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษา
สาธารณประโยชน์
๓. อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทาง
วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดีหรืออาจนาไปสู่ความ
เข้าใจผิดต่อกัน
 ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง
ระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของ
ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียง
ใต้
 วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจนาไปสู่ความ
เข้าใจผิดต่อกัน
๔. แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของ
ตนเองและผู้อื่น
 วิธีปฏิบัติตนในการเคารพในสิทธิของ
ตนเองและผู้อื่น
 ผลที่ได้จากการเคารพในสิทธิของ
ตนเองและผู้อื่น
๒๕
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๒ ๑. อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่
เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
และประเทศ
 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว เช่น
- กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของ
ผู้เยาว์
- กฎหมายบัตรประจาตัวประชาชน
- กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและ
มรดก เช่น การหมั้น การสมรส
การรับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม
และมรดก
 กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและประเทศ
- กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และ
กรอกแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา
- กฎหมายแรงงาน
๒. เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตาม
สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่
ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ
หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย
 แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็น
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
๓. วิเคราะห์บทบาท ความสาคัญ และ
ความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม
 บทบาท ความสาคัญและความสัมพันธ์
ของสถาบันทางสังคม เช่น สถาบัน
ครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบัน
ศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบัน
ทางการเมืองการปกครอง
๔.อธิบายความคล้ายคลึงและความ
แตกต่างของวัฒนธรรมไทย และ
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนาไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
 ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของ
วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของ
ประเทศในภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรม
เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างความเข้าใจ
อันดีระหว่างกัน
๒๖
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๓ ๑. อธิบายความแตกต่างของการกระทา
ความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง
 ลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา
และโทษ
 ลักษณะการกระทาความผิดทางแพ่ง
และโทษ
 ตัวอย่างการกระทาความผิดทางอาญา
เช่น ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
 ตัวอย่างการทาความผิดทางแพ่ง เช่น
การทาผิดสัญญา การทาละเมิด
๒. มีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครอง
ผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน
 ความหมาย และความสาคัญของสิทธิ
มนุษยชน
 การมีส่วนร่วมคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย
ตามวาระและโอกาสที่เหมาะสม
๓. อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับ
วัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม
 ความสาคัญของวัฒนธรรมไทย
ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมสากล
 การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและ
ภูมิปัญญาไทยที่เหมาะสม
 การเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม
๔. วิเคราะห์ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหา
ความขัดแย้งในประเทศ และเสนอ
แนวคิดในการลดความขัดแย้ง
 ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง เช่น
การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ
สังคม ความเชื่อ
 สาเหตุปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหา
สิ่งแวดล้อม ปัญหายาเสพติด ปัญหา
การทุจริต ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ
 แนวทางความร่วมมือในการลดความ
ขัดแย้งและการสร้างความสมานฉันท์
๕. เสนอแนวคิดในการดารงชีวิตอย่างมี
ความสุขในประเทศและสังคมโลก
 ปัจจัยที่ส่งเสริมการดารงชีวิตให้มี
ความสุข เช่น การอยู่ร่วมกันอย่างมี
ขันติธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เห็นคุณค่าในตนเอง รุ้จักมอง
โลกในแง่ดี สร้างทักษะทางอารมณ์
รู้จักบริโภคด้วยปัญญา เลือกรับ-
ปฏิเสธข่าวและวัตถุต่างๆ ปรับปรุง
ตนเองและสิ่งต่างๆให้ดีขึ้นอยู่เสมอ
๒๗
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธารงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. อธิบายหลักการ เจตนารมณ์
โครงสร้าง และสาระสาคัญของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ฉบับปัจจุบันโดยสังเขป
 หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ
สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน
๒. วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลของ
อานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน
 การแบ่งอานาจ และการถ่วงดุลอานาจ
อธิปไตยทั้ง ๓ ฝ่าย คือนิติบัญญัติ
บริหาร ตุลาการ ตามที่ระบุใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ
ปัจจุบัน
๓. ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ
ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
 การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ
ปัจจุบัน เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่
ม.๒ ๑. อธิบายกระบวนการในการตรา
กฎหมาย
 กระบวนการในการตรากฎหมาย
- ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย
- ขั้นตอนการตรากฎหมาย
- การมีส่วนร่วมของประชาชนใน
กระบวนการตรากฎหมาย
๒. วิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทางการเมือง
การปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทย
สมัยปัจจุบัน
 เหตุการณ์ และการเปลี่ยนแปลงสาคัญของ
ระบอบการปกครองของไทย
 หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสาร
ม.๓ ๑. อธิบายระบอบการปกครองแบบ
ต่างๆ ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน
 ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ที่ใช้ใน
ยุคปัจจุบัน เช่น การปกครองแบบ
 เผด็จการ การปกครองแบบประชาธิปไตย
 เกณฑ์การตัดสินใจ
๒. วิเคราะห์ เปรียบเทียบระบอบการ
ปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ ที่มี
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
 ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงของการ
ปกครองของไทย กับประเทศอื่นๆ ที่มี
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
๒๘
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓. วิเคราะห์รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันใน
มาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง
การมีส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้
อานาจรัฐ
 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในมาตรา
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง การมี
ส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้
อานาจรัฐ
 อานาจหน้าที่ของรัฐบาล
 บทบาทสาคัญของรัฐบาลในการบริหาร
ราชการแผ่นดิน
 ความจาเป็นในการมีรัฐบาลตามระบอบ
ประชาธิปไตย
๔. วิเคราะห์ประเด็น ปัญหาที่เป็น
อุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของ
ประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข
 ประเด็น ปัญหาและผลกระทบที่เป็น
อุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของ
ประเทศไทย
 แนวทางการแก้ไขปัญหา
๒๙
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากร ที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. อธิบายความหมายและความสาคัญ
ของเศรษฐศาสตร์
 ความหมายและความสาคัญของ
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 ความหมายของคาว่าทรัพยากรมีจากัดกับ
ความต้องการมีไม่จากัด ความขาดแคลน
การเลือกและค่าเสียโอกาส
๒. วิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการ
บริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อ
เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ
 ความหมายและความสาคัญของการบริโภค
อย่างมีประสิทธิภาพ
 หลักการในการบริโภคที่ดี
 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค
 ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภคของ
คนในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งผลดีและผลเสีย
ของพฤติกรรมดังกล่าว
๓. อธิบายความเป็นมาหลักการและ
ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงต่อสังคมไทย
 ความหมายและความเป็นมาของปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
 ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวรวมทั้งโครงการตาม
พระราชดาริ
 หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการดารงชีวิต
 ความสาคัญ คุณค่าและประโยชน์ของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย
ม.๒ ๑. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุน
และการออม
 ความหมายและความสาคัญของการลงทุน
และการออมต่อระบบเศรษฐกิจ
 การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุน
ภาคครัวเรือน
 ปัจจัยของการลงทุนและการออมคือ อัตรา
ดอกเบี้ย รวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ เช่น ค่าของ
๓๐
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต
 ปัญหาของการลงทุนและการออมใน
สังคมไทย
๒. อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและ
บริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
ผลิตสินค้าและบริการ
 ความหมาย ความสาคัญ และหลักการผลิต
สินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 สารวจการผลิตสินค้าในท้องถิ่น ว่ามีการผลิต
อะไรบ้าง ใช้วิธีการผลิตอย่างไร มีปัญหา
ด้านใดบ้าง
 มีการนาเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อ
การผลิตสินค้าและบริการ
 นาหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสินค้า
และบริการในท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม
๓. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตใน
ท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
 หลักการและเป้าหมายปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
 สารวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสินค้า
และบริการในท้องถิ่น
 ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
๔. อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิ
ของตนเองในฐานะผู้บริโภค
 การรักษาและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของ
ผู้บริโภค
 กฎหมายคุ้มครองสิทธิผุ้บริโภคและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 การดาเนินกิจกรรมพิทักษ์สิทธิและ
ผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผู้บริโภค
 แนวทางการปกป้องสิทธิของผู้บริโภค
ม.๓ ๑. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ  ความหมายและประเภทของตลาด
 ความหมายและตัวอย่างของอุปสงค์และอุปทาน
 ความหมายและความสาคัญของกลไกราคา
และการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
 หลักการปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า
และบริการ
๒. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ
พัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
 สารวจสภาพปัจจุบันปัญหาท้องถิ่นทั้ง
ทางด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
๓๑
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
พอเพียง  วิเคราะห์ปัญหาของท้องถิ่นโดยใช้ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
 แนวทางการแก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบ
สหกรณ์
 แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาใน
ระดับต่างๆ
 หลักการสาคัญของระบบสหกรณ์
 ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิ
พอเพียงกับหลักการและระบบของสหกรณ์
เพื่อประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม

More Related Content

What's hot

โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
rattasath
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
Itt Bandhudhara
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
kunkrooyim
 

What's hot (20)

โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 

Similar to หลักสูตรสังคม

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
Boonlert Aroonpiboon
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
teewara56
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
ssuser6a0d4f
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 

Similar to หลักสูตรสังคม (20)

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 

More from korakate

P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtkorakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญาkorakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลkorakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Datakorakate
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครูkorakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabuskorakate
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
korakate
 

More from korakate (20)

P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabus
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
 

หลักสูตรสังคม

  • 1. วิสัยทัศน์สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย ร่วมใจประกอบอาชีพสุจริตผูกมิตรยึดมั่นศรัทธาใน หลักธรรม จดจาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พิลาสวิถีความเป็นไทย สุขใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น ปฏิบัติ เป็นอาจิณคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม ชื่นชมเศรษฐกิจพอเพียง คู่เคียงชุมชนท้องถิ่นตน ทุกคน ดารงชีวิตในสังคมด้วยความสุข ปลูกจิตสานึกอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย สมรรถนะสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ๑. ด้านความมีวินัย สามารถควบคุมตนเองทางกาย วาจา ใจได้ เคารพในสิทธิและหน้าที่ ของกันและกัน และ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นตามเกณฑ์ของสังคม ๒. ด้านความมีน้าใจ การช่วยเหลือ การแสดงความเอื้ออาทร และการปลอบโยนหรือ ให้กาลังใจ, การไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น ๓. ด้านความสนใจใฝ่รู้และสร้างสรรค์ ความใฝ่ฝันและจินตนาการ ความกระตือรือร้น ความอยากรู้อยากเห็นและความชอบ ชื่นชมและการเห็นคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ความตั้งใจ การเอาใจใส่ทา ให้ดีกว่าเดิมอยู่เสมอ ๔. ด้านความเป็นไทย การปฏิบัติตนตามมารยาทไทย การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา ประยุกต์ ใช้ในชีวิต และการมีส่วนร่วมเผยแพร่และอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม การ ร่วมกิจกรรมที่สาคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ๑
  • 2. ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิตเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มี ความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบท สภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้ ๑. ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา ตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม ๒.หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็น พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้าน ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน สังคมไทยและสังคมโลก ๓. เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๔.ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจาก เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติ ไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก ๕. ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน
  • 3. ๓ คุณภาพผู้เรียน ๑. ได้เรียนรู้และศึกษาความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น ๒. ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้ ๓. ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่น ในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๔. ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มี จิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและ ประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม ๕. เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้ นาตนเองได้ และสามารถ แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต
  • 4. ๔ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารง รักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย
  • 5. ๕ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อ กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ ค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ๑. ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ๒. ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และ ภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ๓. ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ ในการดาเนินชีวิตและวางแผนการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม
  • 6. ๖ กระบวนการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ วิเคราะห์สาระและมาตรฐาน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี /ช่วง ชั้นและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กาหนดสาระสาคัญ กาหนดหน่วยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้และจัดทา แผนการจัดการเรียนรู้ จัดทาโครงการ สอน/โครงสร้าง รายวิชาและ ออกแบบ กิจกรรมการ เรียนรู้ตาม แนวคิด Backward Design ๑.ระบุมาตรฐาน การเรียนรู้และ ตัวชี้วัด ๒. กาหนด สาระสาคัญ ๓.สาระการเรียนรู้ - ความรู้ - ทักษะ/ กระบวนการ - คุณลักษณะ ๔. การประเมินผล ๕.วางแผนจัด กิจกรรมการ เรียนรู้ ๖. กาหนดสื่อ/ แหล่งการจัดการ เรียนรู้ กาหนดสาระการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ จัดทาคาอธิบายรายวิชา
  • 7. ๗ หลักสูตรกลุ่มวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โครงสร้างหลักสูตรวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๒ รายวิชาประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๔ รายวิชาประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๒ รายวิชาประวัติศาสตร์สุโขทัย เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๓ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๔ รายวิชาประวัติศาสตร์อยุธยา เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๒ รายวิชาประวัติศาสตร์ธนบุรี เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๓ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๔ รายวิชาประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ เวลา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต
  • 8. ๘ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มวิชาพื้นฐาน สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคม โลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารง รักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเป็น ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
  • 9. ๙ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อ กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ ค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
  • 10. ๑๐ ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัด กลุ่มวิชาพื้นฐาน สาระมาตรฐาน สาระศาสนา สาระหน้าที่ สาระ เศรษฐศาสตร์ สาระภูมิศาสตร์ ชั้น / ภาคเรียน มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ มฐ. ๑.๑ มฐ. ๑.๒ มฐ. ๒.๑ มฐ. ๒.๒ - - - - ภาคเรียนที่ ๑ ม.๑ ม.๑ ม.๑ ม.๑ - - - - มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ - - - - มฐ. ๓.๑ มฐ. ๓.๒ มฐ. ๕.๑ มฐ๕.๒ ภาคเรียนที่ ๒ - - - - ม.๑ ม.๑ ม.๑ ม.๑ มัธยมศึกษาปี ที่๒ มฐ. ๑.๑ มฐ. ๑.๒ มฐ. ๒.๑ มฐ. ๒.๒ - - - - ภาคเรียนที่ ๑ ม.๒ ม.๒ ม.๒ ม.๒ - - - - มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ - - - - มฐ. ๓.๑ มฐ. ๓.๒ มฐ. ๒.๑ มฐ.๒.๒ ภาคเรียนที่ ๒ - - - - ม.๒ ม.๒ ม.๒ ม.๒ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ มฐ. ๑.๑ มฐ. ๑.๒ มฐ. ๒.๑ มฐ. ๒.๒ - - - - ภาคเรียนที่ ๑ ม.๓ ม.๓ ม.๓ ม.๓ - - - - มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ - - มฐ. ๓.๑ มฐ. ๓.๒ มฐ. ๒.๑ มฐ.๒.๒ ภาคเรียนที่ ๒ - - ม.๓ ม.๓ ม.๓ ม.๓
  • 11. ๑๑ ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัด กลุ่มวิชาพื้นฐาน สาระ มาตรฐาน สาระประวัติศาสตร์ ชั้น / ภาคเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ส ๔.๑ ส ๔.๒ - ภาคเรียนที่ ๑ ม.๑ ม.๑ - มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ส ๔.๑ ส ๔.๒ - ภาคเรียนที่ ๒ ม.๑ ม.๑ - มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ - ส ๔.๒ ส ๔.๓ ภาคเรียนที่ ๑ - ม.๒ ม.๒ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ - ส ๔.๒ ส ๔.๓ ภาคเรียนที่ ๒ - ม.๒ ม.๒ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ - ส ๔.๒ ส ๔.๓ ภาคเรียนที่ ๑ - ม.๒ ม.๒ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ - ส ๔.๒ ส ๔.๓ ภาคเรียนที่ ๒ - ม.๒ ม.๒
  • 12. ๑๒ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย  การสังคายนา  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศไทย ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อ สังคมไทยในฐานะเป็ น  ศาสนาประจาชาติ  สถาบันหลักของสังคมไทย  สภาพแวดล้อมที่กว้างขวาง และ ครอบคลุมสังคมไทย  การพัฒนาตนและครอบครัว ๓. วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ จนถึงบาเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติ ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด  สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ  ประสูติ  เทวทูต ๔  การแสวงหาความรู้  การบาเพ็ญทุกรกิริยา ๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิก ชนตัวอย่างตามที่กาหนด  พุทธสาวก พุทธสาวิกา  พระมหากัสสปะ  พระอุบาลี  อนาถบิณฑิกะ  นางวิสาขา  ชาดก  อัมพชาดก  ติตติรชาดก ๕. อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมสาคัญ ในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็น คุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของ ตนเองและครอบครัว  พระรัตนตรัย  พุทธคุณ ๙  อริยสัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขันธ์ ๕ - ธาตุ ๔
  • 13. ๑๓ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม - ความหมายและคุณค่า o อบายมุข ๖  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สุข ๒ (กายิก, เจตสิก) o คิหิสุข  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o ไตรสิกขา o กรรมฐาน ๒ o ปธาน ๔ o โกศล ๓ o มงคล ๓๘ -ไม่คบคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผู้ควรบูชา  พุทธศาสนสุภาษิต  ย เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดเป็นคนเช่นนั้น  อตฺตนา โจทยตฺตาน จงเตือนตน ด้วยตน  นิสมฺม กรณ เสยฺโย ใคร่ครวญก่อนทาจึงดี  ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา เรือนที่ครองไม่ดีนาทุกข์มาให้ ๖. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการ เรียนรู้และการดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบคุณค่า แท้ – คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  โยนิโสมนสิการ  วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม  วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก ๗. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหาร จิตและเจริญปัญญา การฝึกบริหารจิต และเจริญปัญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้น
  • 14. ๑๔ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง อานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไป ใช้ในชีวิตประจาวัน ๘. วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรม ทางศาสนาที่ตนนับถือ ในการดารงชีวิต แบบพอเพียง และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข  หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕) ๙. วิเคราะห์เหตุผลความจาเป็นที่ทุกคน ต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ  ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ มีการ ประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการดาเนินชีวิต แตกต่างกันตามหลักความเชื่อและคา สอน ของศาสนาที่ตนนับถือ ๑๐. ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นใน สถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม  การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชน อื่นในสถานการณ์ต่างๆ ๑๑. วิเคราะห์การกระทาของบุคคลที่เป็น แบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์ และ นาเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอง  ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสน สัมพันธ์หรือมีผลงานด้านศาสนสัมพันธ์ ม.๒ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ เพื่อนบ้าน  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศ เพื่อนบ้านและการนับถือพระพุทธ - ศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ- ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วย เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศ เพื่อนบ้าน  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วย เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศ เพื่อนบ้าน ๓. วิเคราะห์ความสาคัญของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อ สังคมไทยในฐานะเป็น  รากฐานของวัฒนธรรม  เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ ๔. อภิปรายความสาคัญของพระพุทธ - ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือกับ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบ สังคม  ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบ สังคม ๕. วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติ ศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่  สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ  การผจญมาร
  • 15. ๑๕ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง กาหนด  การตรัสรู้  การสั่งสอน ๖. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด  พระสารีบุตร  พระโมคคัลลานะ  นางขุชชุตตรา  พระเจ้าพิมพิสาร  มิตตวินทุกชาดก  ราโชวาทชาดก ๗. อธิบายโครงสร้าง และสาระสังเขป ของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนา ที่ตนนับถือ  โครงสร้าง และสาระสังเขปของ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก ๘. อธิบายธรรมคุณ และข้อธรรมสาคัญ ในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็น คุณค่าและนาไปพัฒนา แก้ปัญหาของ ชุมชนและสังคม  พระรัตนตรัย  ธรรมคุณ ๖  อริยสัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขันธ์ ๕ - อายตนะ  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม - สมบัติ ๔ - วิบัติ ๔ o อกุศลกรรมบถ ๑๐ o อบายมุข ๖  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สุข ๒ (สามิส, นิรามิส)  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา o ดรุณธรรม ๖ o กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ o กุศลกรรมบถ ๑๐ o สติปัฏฐาน ๔ o มงคล ๓๘ - ประพฤติธรรม - เว้นจากความชั่ว - เว้นจากการดื่มน้าเมา
  • 16. ๑๖ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  พุทธศาสนสุภาษิต  กมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม  กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก ทาดีได้ดี ทาชั่ว ได้ชั่ว  สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย การสั่งสม บุญนาสุขมาให้  ปูชโก ลภเต ปูช วนฺทโก ปฏิวนฺทน ผู้บูชาเขา ย่อมได้รับการบูชา ตอบ ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ ๙. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการ เรียนรู้และดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอุบายปลุก เร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรม สัมพันธ์ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาที่ตนนับถือ  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโส- มนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถ ธรรมสัมพันธ์ ๑๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม หลักสติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไป ใช้ในชีวิตประจาวัน ๑๑.วิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรม ทางศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดารงตน อย่างเหมาะสมในกระแสความเปลี่ยนแปลง ของโลก และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข  การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ การเรียนรู้ ข้อ ๘.) ม. ๓ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก และการนับถือ พระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านั้น ในปัจจุบัน ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ
  • 17. ๑๗ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขแก่โลก ที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบ สุขให้แก่โลก ๓. อภิปรายความสาคัญของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาอย่างยั่งยืน  สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน (ที่สอดคล้องกับหลักธรรมในสาระ การเรียนรู้ ข้อ ๖ ) ๔. วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูป ปางต่างๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง ต่าง ๆ เช่น o ปางมารวิชัย o ปางปฐมเทศนา o ปางลีลา o ปางประจาวันเกิด  สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ  ปฐมเทศนา  โอวาทปาฏิโมกข์ ๕. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  พระอัญญาโกณฑัญญะ  พระมหาปชาบดีเถรี  พระเขมาเถรี  พระเจ้าปเสนทิโกศล  นันทิวิสาลชาดก  สุวัณณหังสชาดก ๖. อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรมสาคัญใน กรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด  พระรัตนตรัย  สังฆคุณ ๙  อริยสัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขันธ์ ๕ -ไตรลักษณ์  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม -วัฏฏะ ๓ -ปปัญจธรรม ๓ (ตัณหา มานะ ทิฎฐิ)  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o อัตถะ ๓  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
  • 18. ๑๘ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง o มรรคมีองค์ ๘ o ปัญญา ๓ o สัปปุริสธรรม ๗ o บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ o อุบาสกธรรม ๗ o มงคล ๓๘ - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟังธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล  พุทธศาสนสุภาษิต  อตฺตา หเว ชิต เสยฺโย ชนะตนนั่นแลดีกว่า  ธมฺมจารี สุข เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข  ปมาโท มจฺจุโน ปท ความประมาทเป็นทางแห่งความ ตาย  สุสฺสูส ลภเต ปญฺญ ผู้ฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา  เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก : พุทธ ปณิธาน ๔ ในมหาปรินิพพานสูตร ๗. เห็นคุณค่า และวิเคราะห์การปฏิบัติ ตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตน เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการทางาน และการมีครอบครัว  การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ การเรียนรู้ ข้อ ๖.) ๘. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการ เรียนรู้และดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย หรือ การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ ตนนับถือ  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบ อริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
  • 19. ๑๙ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๙. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม หลักสติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๑๐. วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับ วิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนใน ศาสนาอื่นๆ  วิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนา อื่นๆ
  • 20. ๒๐ สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. บาเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของ ศาสนาที่ตนนับถือ  การบาเพ็ญประโยชน์ และ การบารุงรักษาวัด ๒. อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็น แบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ ศาสนาที่ตนนับถือ  วิถีชีวิตของพระภิกษุ  บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา เช่น การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เป็น แบบอย่าง  การเข้าพบพระภิกษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ พระรัตนตรัย การฟังเจริญ พระพุทธมนต์ การฟังสวด พระอภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา ๓. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล ต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อเพื่อนตาม หลักพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถือ ๔. จัดพิธีกรรม และปฏิบัติตนใน ศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง  การจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบ หมู่๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่๙  การจุดธูปเทียน การจัดเครื่องประกอบ โต๊ะหมู่บูชา  คาอาราธนาต่างๆ ๕. อธิบายประวัติ ความสาคัญ และ ปฏิบัติตนในวันสาคัญทางศาสนา ที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด ได้ถูกต้อง  ประวัติและความสาคัญของวันธรรม สวนะ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ  ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติ ตนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐ มีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ และเทศกาลสาคัญ
  • 21. ๒๑ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล ต่าง ๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  การเป็นลูกที่ดี ตามหลักทิศเบื้องหน้า ในทิศ ๖ ๒. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี ตามที่กาหนด  การต้อนรับ (ปฏิสันถาร)  มรรยาทของผู้เป็นแขก  ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธี ปฏิบัติต่อ พระภิกษุ การยืน การให้ที่นั่ง การ เดินสวน การสนทนา การ รับสิ่งของ  การแต่งกายไปวัด การแต่งกายไปงาน มงคล งานอวมงคล ๓. วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธี และ ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง  การทาบุญตักบาตร  การถวายภัตตาหารสิ่งของที่ควรถวาย และสิ่งของต้องห้ามสาหรับพระภิกษุ  การถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน  การถวายผ้าอาบน้าฝน  การจัดเครื่องไทยธรรม เครื่องไทยทาน  การกรวดน้า  การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า ๔. อธิบายคาสอนที่เกี่ยวเนื่องกับ วันสาคัญทางศาสนา และปฏิบัติตน ได้ถูกต้อง  หลักธรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวเนื่องใน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา  วันธรรมสวนะและเทศกาลสาคัญ  ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน ในวันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ ๕. อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนา อื่น ๆ เพื่อนาไปสู่การยอมรับ และความ เข้าใจซึ่งกันและกัน  ศาสนพิธี/พิธีกรรม แนวปฏิบัติของ ศาสนาอื่น ๆ
  • 22. ๒๒ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวก และปฏิบัติตนต่อสาวก ตามที่กาหนดได้ ถูกต้อง  หน้าที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติ ตามหลักพระธรรมวินัย และจริยวัตร อย่างเหมาะสม  การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุในงาน ศาสนพิธีที่บ้าน การสนทนา การแต่ง กาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตาม ฐานะ ๒. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล ต่าง ๆ ตามหลักศาสนา ตามที่กาหนด  การเป็นศิษย์ที่ดี ตามหลักทิศเบื้องขวา ในทิศ ๖ ของพระพุทธศาสนา ๓. ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี  การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามพุทธ ปณิธาน ๔ ในมหาปรินิพพานสูตร ๔. ปฏิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรมได้ ถูกต้อง  พิธีทาบุญ งานมงคล งานอวมงคล  การนิมนต์พระภิกษุ การเตรียมที่ตั้ง พระพุทธรูปและเครื่องบูชา การวงด้าย สายสิญจน์ การปูลาดอาสนะ การเตรียม เครื่องรับรอง การจุดธูปเทียน  ข้อปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ การถวายข้าว พระพุทธ การถวายไทยธรรม การกรวดน้า ๕. อธิบายประวัติวันสาคัญทางศาสนา ตามที่กาหนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง  ประวัติวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ในประเทศไทย  วันวิสาขบูชา (วันสาคัญสากล)  วันธรรมสวนะและเทศกาลสาคัญ  หลักปฏิบัติตน : การฟังพระธรรม เทศนา การแต่งกายในการประกอบ ศาสนพิธีที่วัด การงดเว้นอบายมุข  การประพฤติปฏิบัติในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสาคัญ ๖. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือ แสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา ที่ตนนับถือ  การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ  ขั้นเตรียมการ  ขั้นพิธีการ
  • 23. ๒๓ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๗. นาเสนอแนวทางในการธารงรักษา ศาสนาที่ตนนับถือ  การศึกษาเรียนรู้เรื่ององค์ประกอบของ พระพุทธศาสนา นาไปปฏิบัติและเผย แผ่ตามโอกาส  การศึกษาการรวมตัวขององค์กร ชาวพุทธ  การปลูกจิตสานึกในด้านการบารุงรักษา วัดและพุทธสถานให้เกิดประโยชน์
  • 24. ๒๔ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. ปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครอง สิทธิของบุคคล  กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของ บุคคล - กฎหมายการคุ้มครองเด็ก - กฎหมายการศึกษา - กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค - กฎหมายลิขสิทธิ์  ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตาม กฎหมายการคุ้มครองสิทธิของบุคคล ๒. ระบุความสามารถของตนเอง ในการทาประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติ  บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อ สังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิต สาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและ รับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษา สาธารณประโยชน์ ๓. อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทาง วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีหรืออาจนาไปสู่ความ เข้าใจผิดต่อกัน  ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง ระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียง ใต้  วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจนาไปสู่ความ เข้าใจผิดต่อกัน ๔. แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของ ตนเองและผู้อื่น  วิธีปฏิบัติตนในการเคารพในสิทธิของ ตนเองและผู้อื่น  ผลที่ได้จากการเคารพในสิทธิของ ตนเองและผู้อื่น
  • 25. ๒๕ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว เช่น - กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของ ผู้เยาว์ - กฎหมายบัตรประจาตัวประชาชน - กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและ มรดก เช่น การหมั้น การสมรส การรับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม และมรดก  กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและประเทศ - กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และ กรอกแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา - กฎหมายแรงงาน ๒. เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตาม สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย  สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย  แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็น พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๓. วิเคราะห์บทบาท ความสาคัญ และ ความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม  บทบาท ความสาคัญและความสัมพันธ์ ของสถาบันทางสังคม เช่น สถาบัน ครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบัน ทางการเมืองการปกครอง ๔.อธิบายความคล้ายคลึงและความ แตกต่างของวัฒนธรรมไทย และ วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนาไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน  ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของ วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรม เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างความเข้าใจ อันดีระหว่างกัน
  • 26. ๒๖ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. อธิบายความแตกต่างของการกระทา ความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง  ลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา และโทษ  ลักษณะการกระทาความผิดทางแพ่ง และโทษ  ตัวอย่างการกระทาความผิดทางอาญา เช่น ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์  ตัวอย่างการทาความผิดทางแพ่ง เช่น การทาผิดสัญญา การทาละเมิด ๒. มีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครอง ผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน  ความหมาย และความสาคัญของสิทธิ มนุษยชน  การมีส่วนร่วมคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ตามวาระและโอกาสที่เหมาะสม ๓. อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับ วัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม  ความสาคัญของวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมสากล  การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและ ภูมิปัญญาไทยที่เหมาะสม  การเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหา ความขัดแย้งในประเทศ และเสนอ แนวคิดในการลดความขัดแย้ง  ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง เช่น การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความเชื่อ  สาเหตุปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหา สิ่งแวดล้อม ปัญหายาเสพติด ปัญหา การทุจริต ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ  แนวทางความร่วมมือในการลดความ ขัดแย้งและการสร้างความสมานฉันท์ ๕. เสนอแนวคิดในการดารงชีวิตอย่างมี ความสุขในประเทศและสังคมโลก  ปัจจัยที่ส่งเสริมการดารงชีวิตให้มี ความสุข เช่น การอยู่ร่วมกันอย่างมี ขันติธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เห็นคุณค่าในตนเอง รุ้จักมอง โลกในแง่ดี สร้างทักษะทางอารมณ์ รู้จักบริโภคด้วยปัญญา เลือกรับ- ปฏิเสธข่าวและวัตถุต่างๆ ปรับปรุง ตนเองและสิ่งต่างๆให้ดีขึ้นอยู่เสมอ
  • 27. ๒๗ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธารงรักษา ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสาคัญของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบันโดยสังเขป  หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน ๒. วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลของ อานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน  การแบ่งอานาจ และการถ่วงดุลอานาจ อธิปไตยทั้ง ๓ ฝ่าย คือนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ตามที่ระบุใน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ ปัจจุบัน ๓. ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับตนเอง  การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ ปัจจุบัน เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ ม.๒ ๑. อธิบายกระบวนการในการตรา กฎหมาย  กระบวนการในการตรากฎหมาย - ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย - ขั้นตอนการตรากฎหมาย - การมีส่วนร่วมของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย ๒. วิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทางการเมือง การปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทย สมัยปัจจุบัน  เหตุการณ์ และการเปลี่ยนแปลงสาคัญของ ระบอบการปกครองของไทย  หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสาร ม.๓ ๑. อธิบายระบอบการปกครองแบบ ต่างๆ ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน  ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ที่ใช้ใน ยุคปัจจุบัน เช่น การปกครองแบบ  เผด็จการ การปกครองแบบประชาธิปไตย  เกณฑ์การตัดสินใจ ๒. วิเคราะห์ เปรียบเทียบระบอบการ ปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ ที่มี การปกครองระบอบประชาธิปไตย  ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงของการ ปกครองของไทย กับประเทศอื่นๆ ที่มี การปกครองระบอบประชาธิปไตย
  • 28. ๒๘ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. วิเคราะห์รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันใน มาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ  บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในมาตรา ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง การมี ส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ  อานาจหน้าที่ของรัฐบาล  บทบาทสาคัญของรัฐบาลในการบริหาร ราชการแผ่นดิน  ความจาเป็นในการมีรัฐบาลตามระบอบ ประชาธิปไตย ๔. วิเคราะห์ประเด็น ปัญหาที่เป็น อุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของ ประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข  ประเด็น ปัญหาและผลกระทบที่เป็น อุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของ ประเทศไทย  แนวทางการแก้ไขปัญหา
  • 29. ๒๙ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากร ที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายความหมายและความสาคัญ ของเศรษฐศาสตร์  ความหมายและความสาคัญของ เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น  ความหมายของคาว่าทรัพยากรมีจากัดกับ ความต้องการมีไม่จากัด ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส ๒. วิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการ บริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อ เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ  ความหมายและความสาคัญของการบริโภค อย่างมีประสิทธิภาพ  หลักการในการบริโภคที่ดี  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค  ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภคของ คนในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งผลดีและผลเสีย ของพฤติกรรมดังกล่าว ๓. อธิบายความเป็นมาหลักการและ ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงต่อสังคมไทย  ความหมายและความเป็นมาของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง  ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรวมทั้งโครงการตาม พระราชดาริ  หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง  การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดารงชีวิต  ความสาคัญ คุณค่าและประโยชน์ของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย ม.๒ ๑. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุน และการออม  ความหมายและความสาคัญของการลงทุน และการออมต่อระบบเศรษฐกิจ  การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุน ภาคครัวเรือน  ปัจจัยของการลงทุนและการออมคือ อัตรา ดอกเบี้ย รวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ เช่น ค่าของ
  • 30. ๓๐ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต  ปัญหาของการลงทุนและการออมใน สังคมไทย ๒. อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและ บริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ผลิตสินค้าและบริการ  ความหมาย ความสาคัญ และหลักการผลิต สินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ  สารวจการผลิตสินค้าในท้องถิ่น ว่ามีการผลิต อะไรบ้าง ใช้วิธีการผลิตอย่างไร มีปัญหา ด้านใดบ้าง  มีการนาเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อ การผลิตสินค้าและบริการ  นาหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ๓. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตใน ท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง  หลักการและเป้าหมายปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง  สารวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่น  ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น ๔. อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิ ของตนเองในฐานะผู้บริโภค  การรักษาและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของ ผู้บริโภค  กฎหมายคุ้มครองสิทธิผุ้บริโภคและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  การดาเนินกิจกรรมพิทักษ์สิทธิและ ผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผู้บริโภค  แนวทางการปกป้องสิทธิของผู้บริโภค ม.๓ ๑. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ  ความหมายและประเภทของตลาด  ความหมายและตัวอย่างของอุปสงค์และอุปทาน  ความหมายและความสาคัญของกลไกราคา และการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ  หลักการปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า และบริการ ๒. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ พัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ  สารวจสภาพปัจจุบันปัญหาท้องถิ่นทั้ง ทางด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
  • 31. ๓๑ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง พอเพียง  วิเคราะห์ปัญหาของท้องถิ่นโดยใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง  แนวทางการแก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบ สหกรณ์  แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาใน ระดับต่างๆ  หลักการสาคัญของระบบสหกรณ์  ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิ พอเพียงกับหลักการและระบบของสหกรณ์ เพื่อประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน