SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
บทที่ 2
                             เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง
                                             ั ่

ในการวิจยครั้งนี้ ผูวจยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง และนําเสนอใน
            ั        ้ิั                             ั
ประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ
การเรี ยนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การจัดการเรี ยนรู้แบบโยนิโสมนสิ การ การคิด
อย่างมีวจารณญาณ และงานวิจยที่เกี่ยวข้อง
         ิ                    ั


หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                ้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

 หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช                   2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551:
1-3) ได้กาหนดให้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็ นกลุ่มสาระการ
                ํ
เรี ยนรู ้ที่วาด้วยการอยูร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กน และมีความแตกต่างกันอย่าง
              ่          ่                                      ั
หลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริ บทสภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความ
รับผิดชอบ มีความรู ้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดไว้ดงนี้ํ     ั
             1. สาระการเรี ยนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                     1.1 ศาสนา ศีลธรมและจริ ยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม
จริ ยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ การนําหลักธรรมคําสอนไป
ปฏิบติในการพัฒนาตนเอง และการอยูร่วมกันอย่างสันติสุข เป็ นผูกระทําความดี มีค่านิยมที่ดีงาม
      ั                                   ่                          ้
พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ รวมทั้งบําเพ็ญประโยชน์ตอสังคมและส่ วนรวม
                                                  ่
                     1.2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวต ระบบการเมืองการปกครอง
                                                                       ิ
ในสังคมปัจจุบนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ลักษณะ
                   ั                                                     ์
และความสําคัญ การเป็ นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม
ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข สิ ทธิ หน้าที่
                                                                   ์
เสรี ภาพการดําเนินชีวตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
                           ิ
                     1.3 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย การบริ โภคสิ นค้าและบริ การ การ
                                   ่
บริ หารจัดการทรัพยากรที่มีอยูอย่างจํากัดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การดํารงชีพอย่างมีดุลยภาพ และ
การนําเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวตประจําวัน
                                        ิ
1.4 ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์
พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปั จจุบน ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ต่าง ๆ
                                         ั
ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์
                               ํ
ต่าง ๆ ในอดีต ความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญ    ํ
ของโลก
                  1.5 ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่ง
ทรัพยากร ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่ องมือทาง
                            ั
ภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กนของสิ่ งต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กบ   ั
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนําเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาที่ยงยืน
                                 ั่

         2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
                2.1 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม
  มาตรฐาน ส                           1.1 เข้าใจประวัติความสําคัญ หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ และสามารถนําหลักธรรมทางศาสนามาเป็ นหลักปฏิบติใน      ั
การอยูร่วมกัน
       ่
                       มาตรฐาน ส 1.2 ยึดมันในศีลธรรม การกระทําความดี มีค่านิยมที่ดีงาม
                                               ่
และศรัทธาในพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ
   มาตรฐาน ส                           1.3 ประพฤติปฏิบติตามหลักธรรม และศาสนพิธีของ
                                                         ั
พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการ
พัฒนาตน บําเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่ งแวดล้อม เพื่อการอยูร่วมกันอย่างสันติสุข
                                                           ่
                2.2 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวตในสังคม
                                                                         ิ
  มาตรฐาน ส                           2.1 ปฏิบติตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี ตามกฎหมาย
                                                 ั
ประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทยและสังคมลกอย่างสันติสุข
                                     ิ ่
                        มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบน      ั
ยึดมัน ศรัทธา และธํารงไว้ซ่ ึ งการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น
     ่                                                                             ์
พระประมุข
                2.3 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิต
                                      ่ํ
และการบริ โภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และคุมค่า รวมทั้งเศรษฐกิจ
                                                                       ้
พอเพียงในการดํารงชีวตอย่างมีดุลภาพ
                        ิ
                            มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ของระบบเศรษฐกิจและความจําเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
                  2.4 สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
    มาตรฐาน ส                          4.1 เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วธีการทางประวัติศาสตร์ บนพื้นฐานของความเป็ นเหตุเป็ นผลมา
                             ิ
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ
     มาตรฐาน ส                           4.2 เข้าใจพัฒนาการมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนใน
                                                                                        ั
แง่ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและ
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นได้
                            มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ไทยมีความภูมิใจ และธํารงความเป็ นไทย
                  2.5 สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
                            มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ ตระหนักถึง
ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งที่ปรากฏในระวางที่ซ่ ึ งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติใช้แผน
ที่ และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาข้อมูลภูมิสารสนเทศ ซึ่ งจะนําไปสู่ การใช้และการ
จัดการอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                                         ั
                           มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ
สิ่ งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยงยืน
                               ั่

3. การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระสั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

 การจัดการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ต้องจัดให้มีความ
เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนจัดการเรี ยนรู ้ของตนเอง พัฒนาและขยาย
ความคิดของตนเองจากความรู ้ที่ได้เรี ยน ผูเ้ รี ยนต้องได้เรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สงคมศึกษา
                                                                                     ั
ศาสนา และวัฒนธรรม ในทุกภาคเรี ยนและชั้นปี หลักการจัดการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพ
ดังนี้
3.1 จัดการเรี ยนการสอนที่มีความหมาย โดยเน้นที่ความคิดสําคัญ ๆ ที่ผเู้ รี ยนสามารถ
นํามาใช้ท้ งในและนอกโรงเรี ยนได้ เป็ นแนวคิด ความรู ้ ที่คงทนยังยืนมากกว่าที่จะศึกษาในสิ่ งที่
                 ั                                                     ่
เป็ นเนื้อหา หรื อข้อเท็จจริ งที่มากมาย กระจัดกระจายแต่ไม่เป็ นแก่นสารด้วยการจัดกิจกรรมที่มี
ความหมายต่อผูเ้ รี ยน และด้วยการประเมินผลที่ทาให้ผเู ้ รี ยนต้องใส่ ใจสิ่ งที่เรี ยนเพื่อแสดงให้เห็นว่า
                                                          ํ
ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้ และสามารถทําอะไรได้บาง     ้
               3.2 จัดการเรี ยนการสอนที่บูรณาการ การบูรณาการตั้งแต่หลักสู ตร หัวข้อที่จะโยงโดย
เชื่อมโยงเหตุการณ์พฒนาการต่าง ๆ ทั้งในอดีตและปั จจุบนที่เกิดขึ้นในโลกเข้าด้วยกันบูรณาการ
                            ั                                    ั
ความรู ้ทกษะ ค่านิยม จริ ยธรรม ลงสู่ การปฏิบติจริ งด้วยการใช้แหล่งความรู ้สื่อและเทคโนโลยีต่าง
               ั                                        ั
                       ั
ๆ และสัมพันธ์กบวิชาต่าง ๆ
               3.3 การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นการพัฒนาที่ค่านิยม จริ ยธรรม จัดหัวข้อหน่วยการ
เรี ยนที่สะท้อนค่านิยม จริ ยธรรม การนําไปใช้จริ งในการดําเนินชีวต ช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้คิดอย่างมี
                                                                         ิ
วิจารณญาณ ตัดสิ นแก้ปัญหาต่าง ๆ ยอมรับและเข้าใจในความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากตนและ
รับผิดชอบต่อบุคคลและส่ วนรวม
               3.4 จัดการเรี ยนการสอนที่ทาทาย คาดหวังให้ผเู ้ รี ยนบรรลุเป้ าหมายที่วางไว้ ทั้งในส่ วน
                                            ้
ตนและการเป็ นสมาชิกกลุ่ม ให้ผเู ้ รี ยนได้วธีสืบเสาะ จัดการกับการเรี ยนรู ้ของตนเองใส่ ใจและ
                                                    ิ
เคารพในความคิดของผูเ้ รี ยน
               3.5 จัดการเรี ยนการสอนที่เน้นปฏิบติให้ผเู้ รี ยนได้พฒนาการคิด ตัดสิ นใจสร้างสรรค์
                                                      ั            ั
ความรู ้ดวยตนเอง จัดการตัวเองได้ มีวนยในตนเองทั้งด้านการเรี ยน และการดําเนินชีวตเน้นการ
             ้                                ิ ั                                           ิ
จัดกิจกรรมที่เป็ นจริ ง เพื่อให้ผเู ้ รี ยนนําความรู ้ความสามารถไปใช้ในชีวตจริ ง
                                                                             ิ
 ครู ผสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ต้องมีความเชื่อว่า
         ู้
                              ่
ผูเ้ รี ยนทุกคนรู ้ได้ แม้วาอาจจะไม่ใช่เด็กทุกคนที่จะประสบความสําเร็ จในการเรี ยนในระดับที่
                          ิ                                                     ่
เท่ากัน ครู จะต้องมีวธีการสอนที่หลากหลายผสมผสานกัน เพราะเหตุท่ีวาไม่ใช่วธีสอนที่ดีท่ีสุดิ
การสอนที่ดีคือการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพ เหมาะสมกับสถานการณ์
 ในการวิจยครั้งนี้ได้ใช้สาระเศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
                   ั                                                           3 ซึ่ งประกอบด้วยเนื้อหา
ดังนี้
  เรื่ องที่                    1 กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
  เรื่ องที่                    2 การมีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
  เรื่ องที่                    3 ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์
  เรื่ องที่                    4 ปั ญหาเศรษฐกิจในระดับประเทศ
เรื่ องที่             5 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการกีดกันระหว่างประเทศ

วิธีสอนแบบโยนิโสมนสิ การ
         1. ความหมายของโยนิโสมนสิ การ
                  สุ มน อมรวิวฒน์ (2542 : 36) ได้สรุ ปความหมายของโยนิโสมนสิ การว่า
                                      ั
หมายถึงการคิดแบบแยบคาย คิดถูกวิธี คิดเป็ น คิดตรงตามสภาวะของเหตุปัจจัย คิดอย่างมีเหตุผล
คิดสื บค้น และทํานายผลอย่างมีข้ นตอนเป็ นระบบ
                                        ั
 ทิศนา แขมมณี และคณะ                          (2544 : 87) กล่าวว่า โยนิโสมนสิ การคือ การคิดเป็ น
เป็ นความสามารถที่บุคคลรู ้จกมอง รู ้จกพิจารณาสิ่ งทั้งหลายตามสภาวะ โดยวิธีคิดหาเหตุปัจจัย
                                ั         ั
สื บค้นจากต้นเหตุตลอดทางจนถึงผลสุ ดท้ายที่เกิด แยกแยะเรื่ องออกให้เห็นตามสภาวะที่เป็ นจริ ง
คิดตามความสัมพันธ์ที่สืบทอดจากเหตุ โดยไม่เอาความรู ้สึกอุปาทานของตนเองเข้าไปจับ หรื อ
เคลือบคลุมบุคคลนั้นจะสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมด้วยวิธีการแห่งปั ญญา
 พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)                       (2546 : 615 – 671) ให้ความหมายของโยนิโส
มนสิ การว่า หมายถึง ความรู ้จกคิดหรื อคิดเป็ น คิดถูกวิธีของบุคคลนั้นเอง เป็ นการเริ่ มต้นจาก
                                    ั
ปั จจัยภายในว่าโดยรู ปศัพท์ โยนิโสมนสิ การประกอบด้วย โยนิโส กับ มนสิ การ โยนิโสมาจาก
โยนิ แปลว่า เหตุ ต้นเค้า แหล่งเกิด ปั ญญา อุบาย วิธี ทาง ส่ วนมนสิ การ แปลว่า การทําในใจ
การคิดคํานึง นึกถึง ใส่ ใจพิจารณา เมื่อรวมเข้าเป็ นโยนิโสมนสิ การ ท่านแปลสื บ ๆ กันมาว่า การ
ทําในใจโดยแยบคาย คัมภีร์ช้ นอรรถกถาและฏีการได้ไขความไว้โดยแสดงไวพจน์ให้เห็น
                                  ั
ความหมายแยกเป็ นแง่ ๆ ดังต่อไปนี้
                  1. อุบายมนสิ การ แปลว่า คิดหรื อพิจารณา โดยอุบาย คือ คิดอย่างมีวธี หรื อคิด
                                                                                           ิ
ถูกวิธี หมายถึง คิดถูกวิธีที่จะให้เข้าถึงความจริ ง สอดคล้องเข้าแนวกับสัจจะ ทําให้หยังรู ้สภาวะ
                                                                                         ่
ลักษณะและสามัญลักษณะของสิ่ งทั้งหลาย
                  2. ปถมนสิ การ แปลว่า คิดเป็ นทางหรื อคิดถูกทาง คือ คิดได้ต่อเนื่องเป็ นลําดับ
จัดลําดับได้หรื อมีลาดับ มีข้ นตอน แล่นไปเป็ นแถวเป็ นแนว หมายถึง ความคิดเป็ นระเบียบตาม
                     ํ        ั
                          ุ่
แนวเหตุผล เป็ นต้น ไม่ยงเหยิงสับสน ไม่ใช่ประเดี๋ยววกเวียนติดพันเรื่ องนี้ ที่น้ ี เดี๋ยวเตลิด
ออกไปเรื่ องนั้นที่โน้น หรื อกระโดดไปกระโดดมา ต่อเป็ นชิ้นเป็ นอันไม่ได้ ทั้งนี้รวมทั้ง
ความสามารถที่จะชักนําความนึกคิดเข้าสู่ แนวทางที่ถูกต้อง
                  3. การณมนสิ การ แปลว่า คิดตามเหตุ คิดค้นเหตุ คิดตามเหตุผล หรื อคิดอย่างมี
เหตุผล หมายถึง การคิดสื บค้นตามแนวความสัมพันธ์สืบทอดกันแห่งเหตุปัจจัย พิจารณาสื บสาว
หาสาเหตุ ให้เข้าถึงต้นเค้า หรื อแหล่งที่มาซึ่ งส่ งผลต่อเนื่องมาตามลําดับ
4. อุปปาทกมนสิ การ แปลว่า คิดให้เกิดผล คือใช้ความคิดให้เกิดผลที่พึง
ประสงค์เล็งถึงการคิดอย่างมีเป้ าหมาย หมายถึง การคิดการพิจารณาที่ทาให้เกิดกุศลกรรม เช่น
                                                                                 ํ
ปลุกเร้าให้เกิดความเพียร การคิดที่ทาให้หายหวาดกลัว ให้หายโกรธ การพิจารณาที่ทาให้มีสติ
                                            ํ                                                 ํ
หรื อทําให้จิตใจเข้มแข็ง มันคง     ่
 ไขความทั้ง                          4 ข้อนี้ เป็ นเพียงการแสดงลักษณะด้านต่าง ๆ ของความคิดที่เรี ยกว่า
โยนิโสมนสิ การ โยนิโสมนสิ การที่เกิดขึ้นครั้งหนึ่ง ๆ อาจมีลกษณะครบทีเดียวทั้ง 4 ข้อ หรื อ
                                                                       ั
เกือบครบทั้งหมด หากจะเขียนลักษณะทั้ง 4 ข้อนั้นสั้น ๆ คงได้ความว่า คิดถูกวิธี คิดมีระเบียบ
คิดมีเหตุผลและคิดเร้ากุศล แต่ถาจะสรุ ปเป็ นคําจํากัดความ ก็เห็นว่าทํายาก มักจับเอาไปได้บางแง่
                                       ้
บางด้าน ไม่ครอบคลุมทั้งหมด หรื อไม่ก็ตองเขียนบรรยายยืดยาว อย่างไรก็ตามีลกษณะเด่น
                                                    ้                                     ั
บางอย่างของความคิดแบบนี้ที่อาจถือเป็ นตัวแทนของลักษณะอื่น ๆ ได้ ดังที่เคยแปลโดยนัยว่า
ความคิดถูกวิธี ความรู้จกคิด การคิดเป็ น การคิดตรงตามสภาวะและเหตุปัจจัย การคิดสื บค้นถึง
                               ั
ต้นเค้า เป็ นต้น หรื อแปลสื บ ๆ กันมาว่า การทําในใจโดยแยบคายก็ได้
 วนิช สุ ธารัตน์                         (2547 : 122) กล่าวถึงโยนิโสมนสิ การว่า เป็ นกระบวนการคิดที่
อาศัยปั ญญา เพื่อทําให้ความคิดเป็ นความคิดที่บริ สุทธิ์ ไม่ตกอยูภายใต้อานาจของอารมณ์
                                                                         ่     ํ
ความรู ้สึก ความต้องการ หรื อความอยากในรู ปแบบต่างๆ ซึ่ งรู ้จกกันในชื่อของอวิชชา (ความโง่)
                                                                             ั
และตัณหา (ความอยาก) โดยปกติสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มีอานาจหรื ออิทธิ พลครอบงําความคิดของของ
                                                               ํ
ปุถุชนทัว ๆ ไป และมีอานาจชักจูงให้ความคิดของบุคคลคล้อยตาม ทําให้บุคคลตกอยูภายใต้
            ่                    ํ                                                              ่
อํานาจของความคิด หรื อทาสของความคิด โยนิโสมนสิ การ เป็ นกระบวนการคิดที่อาศัย
สติสัมปชัญญะเข้ามาร่ วมทํางานกับปั ญญา ทําให้บุคคลมีสติ สามารถรู ้ตวได้อย่างรวดเร็ ว และ
                                                                                   ั
ว่องไว รู ้เท่าทันอวิชชา และตัณหาที่เข้ามาครอบงําจิตใจของตนอยู่ ซึ่ งส่ งผลให้กระบวนการคิด
เกิดขึ้นด้วยความบริ สุทธิ์ สามารถพิจารณาสรรพสิ่ งตามสภาวะของเหตุปัจจัย ทําให้เข้าใจความจริ ง
                                                                 ั ่
หรื อเกิดกุศลธรรม ส่ งผลให้บุคคลวางท่าทีและการปฏิบติตอสิ่ งนั้นได้อย่างเหมาะสม
                                                       ่
 จากความหมายของโยนิโสมนสิ การสรุ ปได้วา โยนิโสมนสิ การ คือ การคิดในใจ
อย่างละเอียดถี่ถวน ลึกซึ้ ง มีระเบียน มีเหตุมีผล และสร้างสรรค์ ไม่ใช้อารมณ์เข้าใจโลกเข้าใจ
                       ้
ชีวต สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมเกิดประโยชน์ท้ งต่อตนเองและส่ วนรวม
    ิ                                                                      ั
              2. วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การ
 พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต)                              (2546 : 675 – 727) กล่าวว่า วิธีคิดแบบโยนิโส
มนสิ การมี 2 แบบ คือ โยนิโสมนสิ การที่มุ่งสกัดหรื อกําจัดอวิชชาโดยตรง และโยนิโสมนสิ การ
ที่มุ่งเพื่อสกัดหรื อบรรเทาตัณหา โยนิโสมนสิ การที่มุ่งกําจัดอวิชชาโดยตรง ตามปกติเป็ นแบบที่
ต้องใช้ในการปฏิบติธรรมจนถึงที่สุด เพราะทําให้เกิดความรู ้ความเข้าใจตามความเป็ นจริ ง ซึ่ งเป็ น
                           ั
สิ่ งจําเป็ นสําหรับการตรัสรู ้ ส่ วนโยนิโสมนสิ การแบบสกัดหรื อบรรเทาตัณหามักใช้เป็ นข้อปฏิบติ                      ั
ต้น ๆ ซึ่ งมุ่งเตรี ยมพื้นฐาน หรื อพัฒนาตนในด้านคุณธรรมให้เป็ นผูพร้อมสําหรับการปฏิบติข้ น
                                                                                   ้                            ั ั
สู งขึ้นไปพระธรรมปิ ฎก ได้ประมวลวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การได้ 10 แบบดังนี้
             1. วิธีคิดแบบสื บสาวเหตุปัจจัย คือ พิจารณาปรากฎการณ์ที่เป็ นผลให้รู้จกสภาวะที่เป็ น      ั
จริ ง หรื อพิจารณาปั ญหา หาหนทางแก้ไขด้วยการค้นหาสาเหตุและปั จจัยต่าง ๆ ที่สมพันธ์ส่งผล                     ั
สื บทอดกันมา อาจเรี ยกว่า วิธีคิดตามหลักอิทปปั จจยตา หรื อคิดตามหลักปฏิจจสมุปบาท จัดเป็ น
                                                          ั
วิธีโยนิโสมนสิ การแบบพื้นฐาน มีแนวปฏิบติดงนี้           ั ั
                       1.1 คิดแบบปั จจัยสัมพันธ์ สิ่ งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดขึ้น “เมื่อสิ่ งนี้มี สิ่ งนี้จึงมี
เพราะสิ่ งนี้เกิดขึ้น สิ่ งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่ งนี้ไม่มี สิ่ งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่ งนี้ดบ สิ่ งนี้จึงดับ”
                                                                                            ั
                       1.2 คิดแบบสอบสวนหรื อตั้งคําถาม เช่น อุปาทานมีเพราะอะไรเป็ นปั จจัย
อุปาทานมีเพราะตัณหาเป็ นปัจจัย ตัณหามีเพราะอะไรเป็ นปัจจัย ตัณหามีเพราะเวทนาเป็ นปัจจัย
เวทนามีเพราะอะไรเป็ นปัจจัย
             2. วิธีคิดแบบแยกแยะส่ วนประกอบหรื อกระจายเนื้อหา เป็ นการคิดที่มุ่งให้มองและให้
รู ้จกสิ่ งทั้งหลายตามสภาวะของมันเอง ในทางธรรมมักใช้พิจารณาเพื่อให้เห็นความไม่มีแก่นสาร
     ั
หรื อความไม่เป็ นตัวเป็ นตนที่แท้จริ งของสิ่ งทั้งหลายให้หายยึดติดถือมันในสมมติบญญัติ  ่                ั
โดยเฉพาะการพิจารณาเห็นสัตว์บุคคลเป็ นเพียงการประชุมกันเข้าขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เรี ยกว่า
ขันธ์ 5 การพิจารณาเช่นนี้ช่วยมองเห็นความเป็ นอนัตตา วิธีคิดแบบนี้มิใช่เพียงแต่จาแนกแจกแจง                 ํ
แยกแยะไปอย่างเดียวเท่านั้น แต่มีการจัดประเภทหมวดหมู่ไปพร้อมกัน จัดเป็ น “วิภชชวิธี” อย่าง                     ั
หนึ่ง เป็ นการจําแนกอย่างมีหลักเกณฑ์ ถ้าจะเรี ยกอย่างสมัยใหม่คงหมายถึง “วิธีคิดแบบวิเคราะห์”
วิธีคิดแบบนี้มีตวอย่างมากในพุทธธรรม และรู ปธรรม มาแยกแยะส่ วนประกอบ และจัดหมวดหมู่
                     ั
อย่างชัดเจน
             3. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ หรื อวิธีคิดแบบรู ้เท่าทันความเป็ นไปของธรรมชาติและความ
เป็ นปกติธรรมดาของสภาวะทั้งหลาย วิธีคิดแบบนี้จะกระทําได้ต่อเมื่อได้มีสาระความรู ้ในหลักการ
ของธรรมชาติ รู ้ความเป็ นไปของเหตุผลและปั จจัยต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ งจึงจะสามารถคิดสรุ ปความ
เป็ นไปของสภาวะเหล่านั้น (Generalization) ว่ามันมีเหตุให้เกิดขึ้นเปลี่ยนแปลง และสลายไป
ตระหนักถึงความจริ งที่เกิดขึ้นเป็ นธรรมดา วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์น้ ีเป็ น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่
หนึ่งเป็ นการคิดอย่างรู ้เท่าทันความเป็ นไปของธรรมชาติและความเป็ นปกติของธรรมดา วิธีคิด
แบบสามัญลักษณ์น้ ีเป็ น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่หนึ่งเป็ นการคิดอย่างรู ้เท่าทันและยอมรับความจริ ง
ขั้นที่สอง เป็ นการปฏิบติต่อสิ่ งทั้งหลายโดยสอดคล้องกับความเป็ นจริ งของธรรมชาติ เป็ นการ
                              ั
ปฏิบติดวยปั ญญา รู ้เท่าทันแก้ไขตรงเหตุและปั จจัยด้วยสติสัมปชัญญะ คือกําหนดรู ้ เมื่อคิดเช่นนี้
      ั ้
                                                  ่
ได้ บุคคลก็จะมีอิสระไม่ถูกบีบคั้นหลงจมอยูในความทุกข์
          4. วิธีคิดแบบอริ ยสัจหรื อคิดแบบแก้ปัญหา พระราชวรมุนีอธิ บายว่า เป็ นวิธีคิดที่สามารถ
ขยายให้ครอบคลุมวิธีคิดแบบอื่น ๆ ได้ท้ งหมด วิธีคิดแบบอริ ยสัจนี้มีลกษณะทัวไป 2 ประการ
                                              ั                          ั         ่
คือ
                    4.1 เป็ นวิธีคิดตามเหตุและผล หรื อเป็ นไปตามเหตุและผล สื บสาวจากผลไปหา
เหตุ แล้วแก้ไขและทําการที่ตนเหตุ จัดเป็ น 2 คู่ คู่ที่ 1 : ทุกข์เป็ นผล เป็ นตัวปัญหา เป็ น
                                   ้
สถานการณ์ที่ประสบซึ่ งไม่ตองการ : สมุทยเป็ นเหตุ เป็ นที่มาของปั ญหา เป็ นจุดที่ตองจํากัดหรื อ
                                 ้              ั                                       ้
แก้ไข จึงจะพ้นจากปั ญหาได้ คู่ที่ 2 : นิโรธเป็ นผล เป็ นภาวะสิ้ นปั ญหา เป็ นจุดหมาย ซึ่ งต้องการ
จะเข้าถึง : มรรคเป็ นเหตุ เป็ นวิธีการ เป็ นข้อปฏิบติที่ตองกระทําในการแก้ไขสาเหตุ เพื่อบรรลุ
                                                         ั ้
จุดหมาย คือ ภาวะสิ้ นปั ญหาอันได้แก่ ความดับทุกข์
                    4.2 เป็ นวิธีคิดที่ตรงจุด ตรงเรื่ อง ตรงไปตรงมา มุ่งตรงต่อสิ่ งที่จะต้องทํา ต้อง
ปฏิบติ ต้องเกี่ยวข้องกับชีวต ใช้แก้ปัญหา ไม่เกี่ยวกับการแก้ปัญหา
       ั                       ิ
          5. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ คือ การคิดพิจารณาให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
ธรรม (หลักการ) กับอรรถ (ความมุ่งหมาย) คําว่าธรรมนั้นคือหลักความจริ งหลักความดีงาม
หลักปฏิบติ หลักการนําไปใช้ปฏิบติและหลักคําสอน ส่ วนอรรถนั้นแปลว่า ความมุ่งหมายหรื อ
            ั                           ั
จุดหมายหรื อสาระที่พึงประสงค์ พระราชวรมุนีได้อธิ บายว่า ความรู ้ เข้าใจ ตระหนักในจุดหมาย
และขอบเขตแห่งคุณค่าของหลักธรรมต่าง ๆ เป็ นเครื่ องกําหนดความถูกต้อง พอเหมาะพอดีแห่ง
การปฏิบติหลักธรรมนั้น ๆ อันเป็ นธรรมมานุธรรมปฏิบติ การฝึ กหัดอบรมตนให้ปฏิบติในทางสาย
          ั                                                  ั                               ั
กลางก็ดี การบําเพ็ญศีล สมาธิ ปั ญญาก็ดี ย่อมอาศัยพื้นฐานการคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ และ
อาศัยการช่วยชี้แจงหลักการ จุดหมายโดยผูเ้ ป็ นกัลยาณมิตรด้วย
          6. วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก วิธีคิดแบบนี้เป็ นวิธีคิดที่ใช้เป็ นหลักในการแก้ปัญหา
และการปฏิบติได้อย่างดีวธีหนึ่ง การคิดแบบนี้ตองได้มีการมองสิ่ งทั้งหลายตามที่เป็ นจริ งทุกแง่ทุก
               ั             ิ                         ้
ด้าน คือมองในแง่เป็ นอัสสาทะ (ส่ วนดี น่าพึงพอใจ) อาทีนวะ (ส่ วนเสี ย โทษข้อบกพร่ อง) และ
นิสสรณะ (ทางออกภาวะหลุดรอดปลอดพ้น) พระราชวรมุนีเน้นว่า การคิดแบบนี้มีลกษณะที่พง            ั        ึ
ยํ้า 2 ประการ คือ
          6.1 การที่จะเชื่อว่ามองเห็นตามเป็ นจริ งนั้น จะต้องมองเห็นทั้งด้านดี ด้านเสี ย หรื อทั้งคุณ
แลโทษของสิ่ งนั้น
6.2 เมื่อจะแก้ปัญหาหรื อลงมือปฏิบติตองมองเห็นจุดหมาย และทางออก นอกเหนือจาก
                                                ั ้
การรู ้คุณโทษของสิ่ งนั้น ด้วยการคิดหาทางออกที่ดีที่สุดไปพร้อม ๆ กับการพิจารณาผลดี ผลเสี ย
จะทําให้บุคคลสามารถปฏิบติตนได้เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ และปั ญหาที่เกิดขึ้น
                                ั
            7. วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม เป็ นการคิดถึงคุณค่าหรื อประโยชน์ที่สนองความ
ต้องการของชีวตโดยตรงหรื อเป็ นเพียงประโยชน์ที่พอกเสริ ม โดยมีตณหาเป็ นเครื่ องวัด วิธีคิดนี้
                      ิ                                                    ั
เป็ นการพิจารณาอย่างใช้ปัญญาไตร่ ตรองให้มนุษย์รู้จกเลือกเสพคุณค่าที่เป็ นประโยชน์แก่ชีวตที่
                                                           ั                                ิ
แท้จริ ง และเกื้อกูลความเจริ ญในกุศลธรรม ซึ่ งต่างจากคุณค่าเทียมอันนําไปสู่ อกุศลธรรม ความ
โลภ มัวเมา ริ ษยา มานะ ทิฎฐิ เบียดเบียน แก่งแย่งกัน
            8. วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม อาจเรี ยกง่าย ๆ ว่า วิธีคิดแบบเร้ากุศล หรื อคิดแบบ
                                                                                    ่
กุศลภาวนา เป็ นวิธีคิดในแนวสกัดกั้นหรื อบรรเทา และขัดเกลาตัณหาจึงจัดได้วาเป็ นข้อปฏิบติ        ั
ระดับต้น ๆ สําหรับส่ งเสริ มความเจริ ญงอกงามแห่งกุศลธรรม สร้างเสริ มสัมมาทิฎฐิท่ีเป็ นโลกิยะ
                                       ่่
หลักการทัวไปของวิธีคิดแบบนี้มีอยูวา ประสบการณ์คือ สิ่ งที่ได้ประสบหรื อได้รับรู ้อย่างเดียวกัน
              ่
บุคคลผูประสบหรื อรับรู ้ต่างกัน อาจมองเห็นหรื อคิดนึกปรุ งแต่งไปคนละอย่างสุ ดแต่โครงสร้าง
          ้
แนวทางความเคยชินต่าง ๆ ที่เป็ นเครื่ องปรุ งของจิต คือ สังขารที่ผน้ นได้สงสมไว้ หรื อสุ ดแต่การ
                                                                    ู้ ั         ่ั
ทําใจในขณะนั้น ๆ และในแง่ที่ช่วยให้แก้ไขนิสัยความเคยชินร้าย ๆ ของจิตที่ได้ส่งสมมาแต่เดิมั
พร้อมกับสร้างนิสัยความเคยชินใหม่ ๆ ที่ดีงามให้แก่จิตไปในเวลาเดียวกัน ในทางตรงข้ามหาก
ปราศจากอุบายแก้ไขเช่นนี้ ความคิดและการกระทําของบุคคลที่จะถูกชักนําให้เดินไปตามแรงชัก
จูงของความเคยชินเก่า ๆ ที่ได้สั่งสมไว้เดิมเพียงอย่างเดียว และช่วยเสริ มความเคยชินอย่างนั้นให้มี
กําลังแรงมากยิงขึ้น ่
                                  ่
            9. วิธีคิดแบบเป็ นอยูในขณะปั จจุบน หรื อวิธีคิดแบบมีปัจจุบนธรรมเป็ นอารมณ์หมายถึง
                                              ั                              ั
                                                         ํ      ่
การใช้ความคิดและเนื้อหาของความคิดที่สติระลึกรู ้กาหนดอยูและการคิดในแนวทางของความรู ้
หรื อคิดด้วยอํานาจของปั ญญา สามารถฝึ กอบรมจิตให้เกี่ยวข้องรับรู ้ในภารกิจที่กาลังกระทําอยูใน
                                                                                      ํ            ่
ปั จจุบนแม้หากจิตเกิดหลุดลอยไปยังเรื่ องที่เกิดขึ้นและผ่านไปแล้ว (อดีต) หรื อฟุ้ งซ่านไปยังสิ่ งที่ยง
        ั                                                                                              ั
ไม่เกิด (อนาคต) ก็สามารถใช้สติเหนี่ยวรั้ง เพ่งและโยงสู่ ภาระหน้าที่ที่กาลังกระทําอยูในปั จจุบนได้
                                                                               ํ          ่          ั
            10. วิธีคิดแบบวิภชชวาท เป็ นวิธีคิดที่เชื่อโยงกับการพูด วิภชชวาท มาจากคําว่า วิภชช
                              ั                                          ั                       ั
(แยกแยะ จําแนก วิเคราะห์) วาท (การพูด การแสดงคําตอบ) ในพระพุทธศาสนานั้น วาทะเป็ น
ไวพจน์ของคําว่าทิฎฐิ (ความคิดเห็น) ด้วยลักษณะที่สาคัญของความคิด และการพูดแห่งนี้ คือ
                                                             ํ
การมอง และแสดงความจริ งโดยแยกแยะออกให้เห็นแต่ละแง่ แต่ละด้านครบทุกแง่ทุกด้าน พระ
ราชวรมุนีได้จาแนกแนววิธีคิดแบบวิภชชวาทในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
                  ํ                       ั
10.1 จําแนกโดยแง่ความจริ ง คือ จําแนก และอธิ บายตามความจริ งทีละแง่ทีละ
ด้าน ทั้งข้อดี และข้อเสี ยจนครบทุกแง่ ทุกด้านว่าดี และเสี ยอย่างไรตามความเป็ นจริ งแล้ว
ประมวลกันเข้า โดยครบถ้วนสามารถสรุ ปลักษณะ และองค์ประกอบได้
                    10.2 จําแนกโดยส่ วนประกอบ คือ คิดแยกแยะองค์ประกอบย่อย ๆ ของสิ่ งนั้น
                    10.3 จําแนกโดยลําดับขณะ คือ แยกแยะวิเคราะห์ปรากฏการณ์ตามลําดับความ
สื บทอดแห่งเหตุปัจจัยซอยออกไปเป็ นแต่ละขณะ ๆ ให้มองเห็นด้วยเหตุปัจจัยที่แท้จริ ง ไม่ถูกลวง
ไม่จบเหตุปัจจัยสับสน
       ั
                    10.4 จําแนกโดยความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย คือ สื บสาวสาเหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่
สัมพันธ์สืบทอดกันมาของสิ่ งหรื อปรากฎการณ์ต่าง ๆ วิธีคิดจําแนกในแง่น้ ีตรงกับวิธีคิดแบบที่ 1
                                                              ั
ทั้งนี้เพราะภาวะของสิ่ งทั้งหลายนั้นมีความสัมพันธ์กน ขึ้นต่อกันและสื บทอดกัน เนื่องด้วยปั จจัย
ย่อยต่าง ๆ ความมีหรื อไม่มีไม่ใช่ภาวะเด็ดขาดลอยตัว ภาวะที่เป็ นจริ งเป็ นเหมือนอยูกลางระหว่าง        ่
ความเห็นเอียงสุ ดทั้งสองนั้น ความคิดแบบจําแนกโดยความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยช่วยให้มองเห็น
ความจริ งนั้น และตามแนวคิดนี้พระพุทธเจ้าจึงทรงแสดงธรรมอย่างที่เรี ยกว่า เป็ นกลาง ๆ คือ ไม่
กล่าวว่าสิ่ งนี้มี หรื อว่าสิ่ งนี้ไม่มี แต่กล่าวว่าเพราะสิ่ งนี้มี สิ่ งนี้จึงมี เพราะสิ่ งนี้ไม่มีสิ่งนี้จึงไม่มีหรื อ
ว่านี้มีในเมื่อนั้นมี นี้ไม่มีเมื่อนั้นไม่มี
                    10.5 จําแนกโดยเงื่อนไข คือ มองหรื อแสดงความจริ งโดยพิจารณาเงื่อนไข
ประกอบด้วย เช่น ถ้ามีผถามว่า “บุคคลนี้ควรคบหรื อไม่” พระภิกษุจะตอบตามเงื่อนไขว่า “ถ้า
                                ู้
คบแล้วอกุศลธรรมเจริ ญ กุศลธรรมเสื่ อม ไม่ควรคบ แต่ถาคบแล้ว อกุศลธรรมเสื่ อม กุศลธรรม
                                                                      ้
เจริ ญควรคบ ควรเกี่ยวข้อง”
                    10.6 วิภชชวาทในฐานะวิธีตอบปั ญหาอย่างหนึ่ง เป็ นวิธีคิดตอบปั ญหาอย่างหนึ่ง
                                   ั
ใน 4 วิธีตอบปัญหาของพระพุทธเจ้าคือ
                                   10.6.1 เอกังสพยากรณ์ การตอบแง่เดียว คือตอบอย่างเดียวเด็ดขาด
                                   10.6.2 วิภชชพยากรณ์ การแยกแยกตอบ
                                             ั
                                   10.6.3 ปฎิปุจฉาพยากรณ์ การตอบโดยย้อนถาม
                                   10.6.4 ฐปนะ การยั้ง หรื อหยุด พับปั ญหาเสี ยไม่ตอบ
   วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การทั้ง                         10 วิธีน้ ี ถ้าตรวจดูข้ นตอนการทํางานแล้วจะเห็น
                                                                                    ั
การคิดเป็ นสองช่วง คือ คิดทั้งตอนรับรู ้อารมณ์ หรื อประสบการณ์จากภายนอก และคิดค้น
พิจารณาอารมณ์หรื อเรื่ องราวที่เก็บเข้ามาแล้วภายใน ซึ่ งวิธีคิดนี้ต่างก็อิงอาศัยกันและกัน สัมพันธ์
กัน วิธีการศึกษาเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหาของชีวตต้องบูรณาการความคิดเหล่านี้ รู ้จกเลือก
                                                                    ิ                                          ั
รู ปแบบวิธีคิดมาผสมกลมกลืนกัน เพื่อนําไปสู่ การสร้างแนวปฏิบติอย่างถูกต้อง ตรงกับความจริ ง
                                                                                ั
่
ในทางสายกลาง สรุ ปได้วา ถ้าพูดในเชิงวิชาการ และในแง่ของการทําหน้าที่ของวิธีโยนิโส
มนสิ การทั้งหมดสามารถสรุ ปได้ 2 ประเภท คือ
                          1. โยนิโสมนสิ การแบบปลุกปั ญญา มุ่งให้รู้แจ้งตามสภาวะ เน้นการที่ขจัด
อวิชชาเป็ นฝ่ ายวิปัสสนา มีลกษณะเป็ นหารส่ องสว่าง ทําลายความมืด หรื อชําระล้างสิ่ งสกปรก
                                         ั
ไปสู่ โลกุตรสัมมาทิฎฐิ
                          2. โยนิโสมนสิ การแบบสร้างเสริ มคุณภาพจิต มุ่งปลุกเร้ากุศลธรรมอื่น ๆ เน้นที่
การสกัดหรื อข่มตัณหา เป็ นฝ่ ายสัมถะ มีลกษณะเป็ นการเสริ มสร้างพลังหรื อปริ มาณฝ่ ายดีมากดข่ม
                                                     ั
ทับหรื อบังฝ่ ายชัวไว้่
 สรุ ปว่าวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การนั้นสามารถใช้เพื่อการสกัดกั้นตัณหาและ
อวิชชาซึ่งมีวธีคิดได้ถึง 10 วิธี สําหรับการศึกษาวิจยในครั้งนี้ผวจยเลือกใช้วธีคิดแบบคุณโทษและ
                ิ                                             ั        ู้ ิ ั       ิ
ทางออก และแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม
            3. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีสอนคิดแบบโยนิโสมนสิ การ
                          3.1 ทฤษฎีสติปัญญาสามศร (Triarchic Theory) ได้เสนอทฤษฎีสติปัญญา
สามศร เพื่อพัฒนาสติปัญญา โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแก้ปัญหาการสร้างความสําเร็ จในการ
ดํารงชีวตและดําเนิน การสร้างความสําเร็ จให้เกิดขึ้นได้บุคคลต้องเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
          ิ
ตนเองกับโลกภายนอกของบุคคล เพื่อเกิดความสําเร็ จในการดํารงชีวต ดังนั้น บุคคลจึงต้องจัด
                                                                                ิ
กระทําข้อมูลข่าวสารด้วยวิธีการหลากหลายเพื่อเกิดประสบการณ์อนสามารถสนองภารกิจต่าง ๆ
                                                                              ั
ในสถานการณ์จริ งของชีวตเขาอธิ บายว่า สติปัญญาของมนุษย์ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักที่มี
                                  ิ
การทํางานร่ วมอยู่ 3 องค์ประกอบย่อย ดังนี้
การคิดอย่างมีวจารณญาณ
                  ิ
 1. ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณ         ิ
 การคิดอย่างมีวจารณญาณ เป็ นรู ปแบบหนึ่งของการคิดในระดับสู งที่อยูบน
                    ิ                                                             ่
พื้นฐานของหลักการและเหตุผล มีการศึกษาข้อเท็จจริ ง ถือว่าเป็ นทักษะการคิดที่มีความสําคัญต่อ
การเรี ยนรู ้และการดําเนินชีวต ซึ่ งมีนกการศึกษาได้ให้ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                       ิ       ั                                         ิ
ดังนี้
 ไบเออร์ (                            Beyer. 1995 : unpaged) ให้ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณ คือ
                                                                                           ิ
ความสามารถที่จะตัดสิ นสิ่ งต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล ไม่ใช่การคาดเดา นับตั้งแต่เรื่ องเล็กน้อย เช่น
การปรุ งอาหารไปจนถึงเรื่ องใหญ่ข้ ึน เช่น การสรุ ปงานวิจยว่ามีคุณค่าหรื อไม่อย่างไร ผูท่ีใช้
                                                                  ั                          ้
ความคิดอย่างมีวจารณญาณจะสามารถประเมินข่าวสารหรื อข้อถกเถียงได้อย่างมีหลักฐาน
                        ิ
น่าเชื่อถือ
เคอร์แลนด์ (                      Kurland. 1995 : unpaged) ให้ความหมายของการคิดอย่างมี
วิจารณญาณว่า เกี่ยวข้องกับการใช้เหตุผล ใช้สติปัญญาและมีความคิดที่เปิ ดกว้าง ซึ่ งตรงขามกับการ
ใช้อารมณ์ไม่ยอมใช้สติปัญญา ดังนั้นการคิดอย่างมีวจารณญาณ จึงยึดหลักของเหตุผลมากกว่า
                                                        ิ
อารมณ์ มีความถูกต้องแม่นยํา พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ในแง่มุมต่าง ๆ ต้องการหาว่าอะไรคือ
ความจริ งมากกว่าอะไรคือความถูกต้อง และไม่ยอมใช้อคติส่วนตัวมาทําให้การตัดสิ นเบี่ยงเบนไป
 รักจิริโอ                    (Ruggierio. 1996 : unpaged) เสนอว่า การคิดอย่างมีวจารณญาณิ
หมายถึง การตรวจสอบความคิดของเราเอง การคิดตัดสิ นใจว่าวิธีแก้ปัญหาที่ดีท่ีสุดคืออะไร ความ
เชื่อแบบใดที่มีเหตุผลมากที่สุด จากนั้นต้องมีการประเมินข้อสรุ ปอีกครั้งหนึ่ง
 แมคโคเวน                          (Mckowen. 1970 : unpaged) ให้ความหมายของการคิดอย่างมี
วิจารณญาณว่า เป็ นความคิดที่แจ่มแจ้งผ่านการใคร่ ครวญมาแล้วอย่างรอบคอบ ใช้ทุกอย่างที่เรามี
อย่างดีที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ ผูคิดจะต้องไม่ใส่ ใจอารมณ์ของตัวเองเข้าไปด้วย โดยเฉพาะการคิด
                                 ้
เกี่ยวกับกฎหมายหรื อตรรกวิทยา แต่เนื่องจากคนเราคิดวยสมองทั้งหมด ไม่ใช่คิดด้วยสมองซี ก
                                                           ้
ซ้ายเท่านั้น เพราะฉะนั้นการคิดที่ไม่ใช้อารมณ์เลยจึงเป็ นไปไม่ได้ ดังนั้นหน้าที่ของการคิดอย่างมี
วิจารณญาณคือต้องคอยระมัดระวังไม่ให้เกิดความคิดที่เป็ นอคติหรื อลําเอียงขึ้น ผูท่ีมีความคิดอย่าง
                                                                                     ้
มีวจารณญาณจะมีความคิดไตร่ ตรองและมีความเชื่อที่มีเหตุผล ซึ่ งจะเป็ นตัวชี้นาเข้าไปตลอดชีวต
     ิ                                                                           ํ               ิ
การที่จะพัฒนาให้เกิดความเชื่อที่ถูกต้องจําเป็ นต้องระวังไม่ให้มีความลําเอียงเกิดขึ้นในใจ ต้อง
ตรวจสอบเหตุการณ์หนึ่ง ๆ จากหลายแง่หลายมุมจนกว่าจะหาเหตุผลที่หนักแน่นพอมารองรับ
ความเชื่อของตนได้
 ทิศนา แขมมณี และคณะ                            (2544 : 4) ได้สรุ ปความหมายของกระบวนการคิด
อย่างมีวจารณญาณว่า คือการเห็นปั ญหา สามารถวิเคราะห์ปัญหาได้ ต่อจากนั้นคือการพิจารณา
         ิ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และตัดสิ นใจเลือกทางเลือกต่าง ๆ อย่างถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับ มลิวลย์        ั
สมศักดิ์ (2540 : 15) พรเพ็ญ ศรี วรัตน์ (2546 : 13) และสุ วทย์ มูลคํา (2550 : 9) ได้ให้
                                       ิ                       ิ
ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณไว้ในทํานองเดียวกันว่า การคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                    ิ                                              ิ
หมายถึง การคิดที่มีเหตุผลโดยผ่านการพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ความรู ้ ความคิด
และประสบการณ์ มีหลักเกณฑ์ มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ เพื่อนําไปสู่ การสรุ ปและตัดสิ นใจที่มี
ประสิ ทธิ ภาพว่าสิ่ งใดถูกต้อง สิ่ งใดควรเชื่อ สิ่ งใดควรเลือก หรื อสิ่ งใดควรกระทํา ซึ่ งสอดคล้อง
กับ ปานชีวา นาคสิ ทธิ์ (2543 : 31) ที่ให้ความหมายในทํานองเดียวกันว่า การคิดอย่างมี
วิจารณญาณหมายถึง ความสามารถในการคิดพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับข้อมูล หรื อ
สถานการณ์ความสามารถในการสร้างความคิดรวบยอด ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์
และประเมินผลในข้อความหรื อเหตุการณ์ที่เป็ นปัญหาหรื อข้อโต้แย้ง โดยอาศัยความรู้ ความคิด
และประสบการณ์ของตน เพื่อนําไปสู่ การตัดสิ นใจ และเลือกปฏิบติในสิ่ งที่เหมาะสมด้วยหลักการ
                                                                              ั
และเหตุผล
                                            ่
 จากความหมายดังนี้กล่าว สรุ ปได้วา การคิดอย่างมีวจารณญาณจําเป็ นต้องใช้
                                                                ิ
ทักษะต่าง ๆ คือ การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การโยงความสัมพันธ์ และการประเมินค่าโดย
ใช้เหตุผลตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา โดยยึดหลักการคิดด้วยเหตุผลจากข้อมูลที่เป็ นจริ งมากกว่า
อารมณ์ และการคาดเดา พิจารณาความเป็ นไปได้ในแง่มุมต่าง ๆ ว่าอะไรคือความจริ ง อะไรคือ
ความถูกต้อง คิดด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ใช้สติปัญญาและทักษะการคิดไตร่ ตรองอย่างมี
วิจารณญาณมากกว่าการใช้อารมณ์ที่ทาให้เกิดความลําเอียง เกิดอคติซ่ ึ งมีผลเสี ยต่อการตัดสิ นใจ
                                              ํ
ดังนั้น การคิดอย่างมีวจารณญาณจึงเป็ นความคิดที่เปิ ดกว้างมีเป้ าหมายแน่นอน มีเหตุผล มี
                            ิ
ความถูกต้อง แม่นยําสามารถตรวจสอบความคิด และประเมินความคิดตนเองได้
                        2. ทฤษฎีและแนวคิดที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณิ
 ปั จจุบนเรื่ องการคิดอย่างมีวจารณญาณและการสอนคิดเป็ นเรื่ องที่สาคัญอย่างยิง
           ั                     ิ                                                ํ      ่
ในการจัดการศึกษาเพื่อให้ได้คุณภาพสู ง ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกหันมาศึกษาและเน้นในเรื่ องของ
                                                                     ่
การพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เติบโตขึ้นอย่างมีคุณภาพในทุก ๆ ด้าน มีนกคิด นักจิตวิทยา และนักวิชาการ
                                                                        ั
จากต่างประเทศจํานวนมากที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ และแนวคิดในเรื่ องนี้ท่ีสาคัญ ๆ                 ํ
ดังนี้
    เลวิน                             (Lewin. 1935 : 25) นักทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt) เชื่อว่า
ความคิดของบุคคลเกิดจากการรับรู ้สิ่งเร้า ซึ่ งบุคคลมักรับรู ้ในลักษณะภาพรวมหรื อส่ วนรวม
มากกว่าส่ วนย่อย
    บลูม                            (Bloom. 1981 : 20) ได้จาแนกการเรี ยนรู้ (Cognition) ออกเป็ น 5
                                                                   ํ
ขั้นได้แก่ การรู ้ข้ นความรู ้ การรู ้ข้ นเข้าใจ การรู ้ข้ นวิเคราะห์ การรู ้ข้ นสังเคราะห์ การรู ้ข้ นประเมิน
                      ั                  ั                 ั                    ั                     ั
    ทอเรนซ์                                (Torrence. 2000 : unpaged) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ที่ประกอบไปด้วย ความคล่องแคล่วในการคิด (Fluency)
              ่
ความยืดหยุนในการคิด ความคิดริ เริ่ มในการคิด (Originality)
     ออซูเบล                               (Ausubel. 1969 : unpaged) ได้อธิ บายว่า การเรี ยนรู ้อย่างมี
ความหมาย (Meaningful Verbal Learning) จะเกิดขึ้นได้ หากการเรี ยนรู ้น้ นสามารถเชื่อมโยงกับ
                                                                                       ั
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่มีมาก่อน ดังนั้น การให้กรอบความคิดแก่ผเู ้ รี ยนก่อนการสอนเนื้อหาสาระใด ๆ จะ
ช่วยเป็ นสะพานหรื อโครงสร้างที่ผเู ้ รี ยนสามารถนําเนื้อหา หรื อสิ่ งที่เรี ยนใหม่ไปเชื่อมโยงยึดเกาะ
ได้ทาให้การเรี ยนรู ้เป็ นไปอย่างมีความหมาย
       ํ
เพียเจต์                          (Piaget. 1964 : unpaged) ได้อธิ บายพัฒนาการสติปัญญาว่าเป็ น
ผลเนื่องมาจากการปะทะสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่ งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัวโดยใช้
กระบวนการดูดซึม (Assimilation) และกระบวนการปรับที่เหมาะ (Accommodation) โดยการ
                                                                             ่
พยายามปรับความรู ้ ความคิดเดิมกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ ซึ่ งทําให้บุคคลอยูในภาวะสมดุลสามารถ
ปรับตัวเข้ากับสิ่ งแวดล้อมได้ กระบวนการดังกล่าวเป็ นกระบวนการพัฒนาโครงสร้างทาง
สติปัญญาของบุคคล
   บรู เนอร์                          (Bruner. 1971 : 33) กล่าวว่า เด็กเริ่ มต้นเรี ยนรู ้จากการกระทํา
ต่อไปจึงสามารถจินตนาการ หรื อสร้างภาพในใจ หรื อในความคิดเกิดขึ้นได้ แล้วจึงดึงขั้นการคิด
และเข้าใจในสิ่ งที่เป็ นนามธรรม
   กานเย่                           (Gagne. 1977 : 34) ได้อธิ บายว่าผลการเรี ยนรู ้ของมนุษย์มี 5
ประเภทได้แก่
                            1. ทักษะทางปัญญา (Intellectual Skills) ซึ่ งประกอบด้วยทักษะย่อย 4
ระดับ คือ การจําแนกแยกแยะ การสร้างความคิดรวบยอด การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการ
หรื อกฎขั้นสู ง
                            2. สมรรถภาพทางภาษา (Verbal information) เป็ นสมรรถภาพที่แสดง
ออกมาทางภาษาพูด ภาษาเขียน การพิมพ์ ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการคิดที่ชดเจน เป็ นระบบ  ั
                            3. ทักษะการใช้ยทธศาสตร์การคิดหรื อยุทธศาสตร์ทางปัญญา
                                                ุ
(Cognitive Strategies) ซึ่ งช่วยให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างอิสระ เริ่ มจากการใส่ ใจ
                                                                ้
เลือกรับรู้การประมวลข้อมูล การจดจํา การค้นคิด เพื่อนํามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา และการ
ตีความหมายหรื อการทําความเข้าใจปั ญหา ถือว่าเป็ นยุทธศาสตร์ ท่ีมีความสําคัญมาก
                            4. ทักษะด้านการเคลื่อนไหว (Motor Skills) เป็ นทักษะในการใช้
อวัยวะกล้ามเนื้อให้ทางานอย่างคล่องแคล่วตามที่จิตใจปรารถนา ใช้สาหรับการเคลื่อนไหว การ
                        ํ                                                 ํ
ทํางานซึ่ งอาศัยการทํางานร่ วมกันระหว่างระบบประสาท ระบบอวัยวะ และจิตใจ
                            5. ทัศนะคติ (Attitude) ทัศนคติที่บุคคลมีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรื อเหตุการณ์
ใดเหตุการณ์หนึ่งอาจเกิดขึ้นในทางบวกหรื อลบก็ได้
   โรเบิร์ต เจ สเติร์นเบิร์ก                             (Sternberg) ได้เสนอทฤษฎีพฒนาการทาง
                                                                                       ั
ปั ญญาตามแนวสามศร ซึ่ งถือเป็ นกระบวนการคิดที่สาคัญ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ปัญหา การ
                                                            ํ
สร้างความสําเร็ จในการดํารงชีวต และการดําเนินชีวต สเติร์ตเบิร์ก อธิ บายว่า สติปัญญาของ
                                  ิ                       ิ
มนุษย์ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักที่มีการทํางานอยูร่วมกันอยู่ 3 องค์ประกอบย่อย
                                                              ่
(Subtheory) ดังนี้
1. องค์ประกอบด้านปัญญาวิเคราะห์ (Componential Subtheory) เป็ น
กระบวนการคิดแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคล ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข่าวสารการ
ปรับความรู ้เป็ นความคิดมุ่งสู่ การแก้ปัญหา การนําความคิดสู่ การปฏิบติ การเข้ารหัสเชื่อมโยง
                                                                               ั
เปรี ยบเทียบ การเลือกจัดกลุ่มหาความสอดคล้อง การจัดสาระสรุ ปประเด็นไว้เป็ นระบบ
                              2. องค์ประกอบด้านประสบการณ์ (Experiential Subtheory) เป็ น
วิธีการนําประสบการณ์มาแก้ปัญหาที่แปลกใหม่ ใช้ขอมูลอย่างคล่องแคล่ว สามารถที่จะเผชิญ
                                                           ้
ปั ญหาสถานการณ์ใหม่ ๆ และประมวลความรู ้ขอมูลมาแก้สถานการณ์ได้อย่างคล่องแคล่วและ
                                                      ้
รวดเร็ วองค์ประกอบด้านบริ บทของสังคม (Contextual Subtheory) ได้แก่ปัจจัยภายนอก เป็ น
ความสามารถทางสติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับบริ บททางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล ประกอบด้วย
ความสามารถในการปรับตัว การเลือกใช้บริ บทของสังคมและการสร้างรู ปแบบวิธีการที่สอดคล้อง
กับบริ บทเพื่อแก้ปัญหาให้เกิดความสําเร็ จ
  สรุ ปเกี่ยวกับทฤษฎี และแนวคิดจากต่างประเทศได้วา เด็กเรี ยนรู ้จากการกระทํา
                                                             ่
ต่อไปจึงสามารถจินตนาการ หรื อสร้างภาพในใจหรื อในความคิดขึ้นได้ แล้วจึงเกิดการคิดและ
เข้าใจสิ่ งที่เป็ นนามธรรม ความคิดของบุคคลเกิดจากการรับรู ้สิ่งเร้า ซึ่ งบุคคลมักรับรู ้ในลักษณะ
ภาพรวมหรื อส่ วนรวมมากกว่าส่ วนย่อย ซึ่ งมีความเกี่ยวข้องกับความสามารถทางสติปัญญาการ
เรี ยนรู ้ซ่ ึ งเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในบุคคล บุคคลเป็ นผูสร้าง ความรู ้จากความสัมพันธ์สิ่งที่
                                                                    ้
พบเห็นและสามารถเชื่อมโยงกับความรู ้ความเข้าใจที่มีอยูเ่ ดิม เกิดเป็ นโครงสร้างทางปั ญญา เกิด
การเรี ยนรู ้ซ่ ึ งการศึกษาแบ่งการเรี ยนรู ้ออกเป็ น 5 ขั้น ได้แก่ การรู ้ข้ นความรู ้ การรู ้ข้ นเข้าใจ การรู ้
                                                                             ั                   ั
ขั้นวิเคราะห์ การรู ้ข้ นสังเคราะห์ และการรู ้ข้ นประเมิน ความสามารถทางสมองของมนุษย์
                          ั                         ั
ประกอบด้วยมิติสามมิติคือ มิติดานเนื้อหา มิติดานปฏิบติการ มิติดานผลผลิต การคิดเป็ น
                                      ้                 ้      ั           ้
ความสามารถของสมองมีลกษณะการทํางานเหมือนคอมพิวเตอร์ คือ มีขอมูลเข้าไป ผ่านการ
                               ั                                                 ้
ปฏิบติการแล้วจึงส่ งผลออกมาซึ่ งมีลกษณะคล้ายแนวความคิดของไทย คือ การคิดอย่างมี
       ั                                  ั
วิจารณญาณ เป็ นกระบวนการคิดพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบ คิดอย่างมีเหตุผล จากข้อมูล
หรื อสถานการณ์ โดยอาศัยความรู ้ ประสบการณ์ มีหลักฐานเชื่อถือได้ นําไปสู่ ทางเลือกในการ
ตัดสิ นใจ สามารถสร้างความคิดรวบยอด คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และประเมินในข้อความ
หรื อเหตุการณ์ และตัดสิ นเลือกทางเลือกได้
  พระธรรมปิ ฎก ได้นาเสนอแนวคิดในการจัดการศึกษาและการสอนตามหลักพุทธ
                            ํ
ธรรมซึ่งครอบคลุมในเรื่ องการพัฒนาปัญญา และการคิดไว้จานวนมาก และได้มีนกการศึกษาไทย
                                                                  ํ                        ั
นําแนวคิดเหล่านี้มาประยุกต์ใช้เป็ นรู ปแบบกระบวนการ และเทคนิคในการสอน ทฤษฎีหลักการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ

More Related Content

What's hot

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52juriporn chuchanakij
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปpatthanan18
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 

What's hot (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
หลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัยหลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัย
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 

Viewers also liked

093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการniralai
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556Jaturapad Pratoom
 
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebookบทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebookNarudol Pechsook
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (9)

093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
 
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebookบทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 

Similar to บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 

Similar to บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ (20)

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 

บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง ั ่ ในการวิจยครั้งนี้ ผูวจยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง และนําเสนอใน ั ้ิั ั ประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรี ยนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การจัดการเรี ยนรู้แบบโยนิโสมนสิ การ การคิด อย่างมีวจารณญาณ และงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ิ ั หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 1-3) ได้กาหนดให้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็ นกลุ่มสาระการ ํ เรี ยนรู ้ที่วาด้วยการอยูร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กน และมีความแตกต่างกันอย่าง ่ ่ ั หลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริ บทสภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความ รับผิดชอบ มีความรู ้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดไว้ดงนี้ํ ั 1. สาระการเรี ยนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.1 ศาสนา ศีลธรมและจริ ยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ การนําหลักธรรมคําสอนไป ปฏิบติในการพัฒนาตนเอง และการอยูร่วมกันอย่างสันติสุข เป็ นผูกระทําความดี มีค่านิยมที่ดีงาม ั ่ ้ พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ รวมทั้งบําเพ็ญประโยชน์ตอสังคมและส่ วนรวม ่ 1.2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวต ระบบการเมืองการปกครอง ิ ในสังคมปัจจุบนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ลักษณะ ั ์ และความสําคัญ การเป็ นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข สิ ทธิ หน้าที่ ์ เสรี ภาพการดําเนินชีวตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก ิ 1.3 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย การบริ โภคสิ นค้าและบริ การ การ ่ บริ หารจัดการทรัพยากรที่มีอยูอย่างจํากัดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การดํารงชีพอย่างมีดุลยภาพ และ การนําเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวตประจําวัน ิ
  • 2. 1.4 ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปั จจุบน ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ต่าง ๆ ั ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ ํ ต่าง ๆ ในอดีต ความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญ ํ ของโลก 1.5 ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่ง ทรัพยากร ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่ องมือทาง ั ภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กนของสิ่ งต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กบ ั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนําเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาที่ยงยืน ั่ 2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 2.1 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 เข้าใจประวัติความสําคัญ หลักธรรมของ พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ และสามารถนําหลักธรรมทางศาสนามาเป็ นหลักปฏิบติใน ั การอยูร่วมกัน ่ มาตรฐาน ส 1.2 ยึดมันในศีลธรรม การกระทําความดี มีค่านิยมที่ดีงาม ่ และศรัทธาในพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ มาตรฐาน ส 1.3 ประพฤติปฏิบติตามหลักธรรม และศาสนพิธีของ ั พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาตน บําเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่ งแวดล้อม เพื่อการอยูร่วมกันอย่างสันติสุข ่ 2.2 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวตในสังคม ิ มาตรฐาน ส 2.1 ปฏิบติตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี ตามกฎหมาย ั ประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทยและสังคมลกอย่างสันติสุข ิ ่ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบน ั ยึดมัน ศรัทธา และธํารงไว้ซ่ ึ งการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น ่ ์ พระประมุข 2.3 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
  • 3. มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิต ่ํ และการบริ โภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และคุมค่า รวมทั้งเศรษฐกิจ ้ พอเพียงในการดํารงชีวตอย่างมีดุลภาพ ิ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ของระบบเศรษฐกิจและความจําเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก 2.4 สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วธีการทางประวัติศาสตร์ บนพื้นฐานของความเป็ นเหตุเป็ นผลมา ิ วิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนใน ั แง่ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นได้ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ไทยมีความภูมิใจ และธํารงความเป็ นไทย 2.5 สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ ตระหนักถึง ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งที่ปรากฏในระวางที่ซ่ ึ งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติใช้แผน ที่ และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาข้อมูลภูมิสารสนเทศ ซึ่ งจะนําไปสู่ การใช้และการ จัดการอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ั มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทาง กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่ งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยงยืน ั่ 3. การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระสั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การจัดการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ต้องจัดให้มีความ เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนจัดการเรี ยนรู ้ของตนเอง พัฒนาและขยาย ความคิดของตนเองจากความรู ้ที่ได้เรี ยน ผูเ้ รี ยนต้องได้เรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สงคมศึกษา ั ศาสนา และวัฒนธรรม ในทุกภาคเรี ยนและชั้นปี หลักการจัดการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพ ดังนี้
  • 4. 3.1 จัดการเรี ยนการสอนที่มีความหมาย โดยเน้นที่ความคิดสําคัญ ๆ ที่ผเู้ รี ยนสามารถ นํามาใช้ท้ งในและนอกโรงเรี ยนได้ เป็ นแนวคิด ความรู ้ ที่คงทนยังยืนมากกว่าที่จะศึกษาในสิ่ งที่ ั ่ เป็ นเนื้อหา หรื อข้อเท็จจริ งที่มากมาย กระจัดกระจายแต่ไม่เป็ นแก่นสารด้วยการจัดกิจกรรมที่มี ความหมายต่อผูเ้ รี ยน และด้วยการประเมินผลที่ทาให้ผเู ้ รี ยนต้องใส่ ใจสิ่ งที่เรี ยนเพื่อแสดงให้เห็นว่า ํ ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้ และสามารถทําอะไรได้บาง ้ 3.2 จัดการเรี ยนการสอนที่บูรณาการ การบูรณาการตั้งแต่หลักสู ตร หัวข้อที่จะโยงโดย เชื่อมโยงเหตุการณ์พฒนาการต่าง ๆ ทั้งในอดีตและปั จจุบนที่เกิดขึ้นในโลกเข้าด้วยกันบูรณาการ ั ั ความรู ้ทกษะ ค่านิยม จริ ยธรรม ลงสู่ การปฏิบติจริ งด้วยการใช้แหล่งความรู ้สื่อและเทคโนโลยีต่าง ั ั ั ๆ และสัมพันธ์กบวิชาต่าง ๆ 3.3 การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นการพัฒนาที่ค่านิยม จริ ยธรรม จัดหัวข้อหน่วยการ เรี ยนที่สะท้อนค่านิยม จริ ยธรรม การนําไปใช้จริ งในการดําเนินชีวต ช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้คิดอย่างมี ิ วิจารณญาณ ตัดสิ นแก้ปัญหาต่าง ๆ ยอมรับและเข้าใจในความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากตนและ รับผิดชอบต่อบุคคลและส่ วนรวม 3.4 จัดการเรี ยนการสอนที่ทาทาย คาดหวังให้ผเู ้ รี ยนบรรลุเป้ าหมายที่วางไว้ ทั้งในส่ วน ้ ตนและการเป็ นสมาชิกกลุ่ม ให้ผเู ้ รี ยนได้วธีสืบเสาะ จัดการกับการเรี ยนรู ้ของตนเองใส่ ใจและ ิ เคารพในความคิดของผูเ้ รี ยน 3.5 จัดการเรี ยนการสอนที่เน้นปฏิบติให้ผเู้ รี ยนได้พฒนาการคิด ตัดสิ นใจสร้างสรรค์ ั ั ความรู ้ดวยตนเอง จัดการตัวเองได้ มีวนยในตนเองทั้งด้านการเรี ยน และการดําเนินชีวตเน้นการ ้ ิ ั ิ จัดกิจกรรมที่เป็ นจริ ง เพื่อให้ผเู ้ รี ยนนําความรู ้ความสามารถไปใช้ในชีวตจริ ง ิ ครู ผสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ต้องมีความเชื่อว่า ู้ ่ ผูเ้ รี ยนทุกคนรู ้ได้ แม้วาอาจจะไม่ใช่เด็กทุกคนที่จะประสบความสําเร็ จในการเรี ยนในระดับที่ ิ ่ เท่ากัน ครู จะต้องมีวธีการสอนที่หลากหลายผสมผสานกัน เพราะเหตุท่ีวาไม่ใช่วธีสอนที่ดีท่ีสุดิ การสอนที่ดีคือการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพ เหมาะสมกับสถานการณ์ ในการวิจยครั้งนี้ได้ใช้สาระเศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ั 3 ซึ่ งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้ เรื่ องที่ 1 กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ เรื่ องที่ 2 การมีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เรื่ องที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ เรื่ องที่ 4 ปั ญหาเศรษฐกิจในระดับประเทศ
  • 5. เรื่ องที่ 5 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการกีดกันระหว่างประเทศ วิธีสอนแบบโยนิโสมนสิ การ 1. ความหมายของโยนิโสมนสิ การ สุ มน อมรวิวฒน์ (2542 : 36) ได้สรุ ปความหมายของโยนิโสมนสิ การว่า ั หมายถึงการคิดแบบแยบคาย คิดถูกวิธี คิดเป็ น คิดตรงตามสภาวะของเหตุปัจจัย คิดอย่างมีเหตุผล คิดสื บค้น และทํานายผลอย่างมีข้ นตอนเป็ นระบบ ั ทิศนา แขมมณี และคณะ (2544 : 87) กล่าวว่า โยนิโสมนสิ การคือ การคิดเป็ น เป็ นความสามารถที่บุคคลรู ้จกมอง รู ้จกพิจารณาสิ่ งทั้งหลายตามสภาวะ โดยวิธีคิดหาเหตุปัจจัย ั ั สื บค้นจากต้นเหตุตลอดทางจนถึงผลสุ ดท้ายที่เกิด แยกแยะเรื่ องออกให้เห็นตามสภาวะที่เป็ นจริ ง คิดตามความสัมพันธ์ที่สืบทอดจากเหตุ โดยไม่เอาความรู ้สึกอุปาทานของตนเองเข้าไปจับ หรื อ เคลือบคลุมบุคคลนั้นจะสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมด้วยวิธีการแห่งปั ญญา พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) (2546 : 615 – 671) ให้ความหมายของโยนิโส มนสิ การว่า หมายถึง ความรู ้จกคิดหรื อคิดเป็ น คิดถูกวิธีของบุคคลนั้นเอง เป็ นการเริ่ มต้นจาก ั ปั จจัยภายในว่าโดยรู ปศัพท์ โยนิโสมนสิ การประกอบด้วย โยนิโส กับ มนสิ การ โยนิโสมาจาก โยนิ แปลว่า เหตุ ต้นเค้า แหล่งเกิด ปั ญญา อุบาย วิธี ทาง ส่ วนมนสิ การ แปลว่า การทําในใจ การคิดคํานึง นึกถึง ใส่ ใจพิจารณา เมื่อรวมเข้าเป็ นโยนิโสมนสิ การ ท่านแปลสื บ ๆ กันมาว่า การ ทําในใจโดยแยบคาย คัมภีร์ช้ นอรรถกถาและฏีการได้ไขความไว้โดยแสดงไวพจน์ให้เห็น ั ความหมายแยกเป็ นแง่ ๆ ดังต่อไปนี้ 1. อุบายมนสิ การ แปลว่า คิดหรื อพิจารณา โดยอุบาย คือ คิดอย่างมีวธี หรื อคิด ิ ถูกวิธี หมายถึง คิดถูกวิธีที่จะให้เข้าถึงความจริ ง สอดคล้องเข้าแนวกับสัจจะ ทําให้หยังรู ้สภาวะ ่ ลักษณะและสามัญลักษณะของสิ่ งทั้งหลาย 2. ปถมนสิ การ แปลว่า คิดเป็ นทางหรื อคิดถูกทาง คือ คิดได้ต่อเนื่องเป็ นลําดับ จัดลําดับได้หรื อมีลาดับ มีข้ นตอน แล่นไปเป็ นแถวเป็ นแนว หมายถึง ความคิดเป็ นระเบียบตาม ํ ั ุ่ แนวเหตุผล เป็ นต้น ไม่ยงเหยิงสับสน ไม่ใช่ประเดี๋ยววกเวียนติดพันเรื่ องนี้ ที่น้ ี เดี๋ยวเตลิด ออกไปเรื่ องนั้นที่โน้น หรื อกระโดดไปกระโดดมา ต่อเป็ นชิ้นเป็ นอันไม่ได้ ทั้งนี้รวมทั้ง ความสามารถที่จะชักนําความนึกคิดเข้าสู่ แนวทางที่ถูกต้อง 3. การณมนสิ การ แปลว่า คิดตามเหตุ คิดค้นเหตุ คิดตามเหตุผล หรื อคิดอย่างมี เหตุผล หมายถึง การคิดสื บค้นตามแนวความสัมพันธ์สืบทอดกันแห่งเหตุปัจจัย พิจารณาสื บสาว หาสาเหตุ ให้เข้าถึงต้นเค้า หรื อแหล่งที่มาซึ่ งส่ งผลต่อเนื่องมาตามลําดับ
  • 6. 4. อุปปาทกมนสิ การ แปลว่า คิดให้เกิดผล คือใช้ความคิดให้เกิดผลที่พึง ประสงค์เล็งถึงการคิดอย่างมีเป้ าหมาย หมายถึง การคิดการพิจารณาที่ทาให้เกิดกุศลกรรม เช่น ํ ปลุกเร้าให้เกิดความเพียร การคิดที่ทาให้หายหวาดกลัว ให้หายโกรธ การพิจารณาที่ทาให้มีสติ ํ ํ หรื อทําให้จิตใจเข้มแข็ง มันคง ่ ไขความทั้ง 4 ข้อนี้ เป็ นเพียงการแสดงลักษณะด้านต่าง ๆ ของความคิดที่เรี ยกว่า โยนิโสมนสิ การ โยนิโสมนสิ การที่เกิดขึ้นครั้งหนึ่ง ๆ อาจมีลกษณะครบทีเดียวทั้ง 4 ข้อ หรื อ ั เกือบครบทั้งหมด หากจะเขียนลักษณะทั้ง 4 ข้อนั้นสั้น ๆ คงได้ความว่า คิดถูกวิธี คิดมีระเบียบ คิดมีเหตุผลและคิดเร้ากุศล แต่ถาจะสรุ ปเป็ นคําจํากัดความ ก็เห็นว่าทํายาก มักจับเอาไปได้บางแง่ ้ บางด้าน ไม่ครอบคลุมทั้งหมด หรื อไม่ก็ตองเขียนบรรยายยืดยาว อย่างไรก็ตามีลกษณะเด่น ้ ั บางอย่างของความคิดแบบนี้ที่อาจถือเป็ นตัวแทนของลักษณะอื่น ๆ ได้ ดังที่เคยแปลโดยนัยว่า ความคิดถูกวิธี ความรู้จกคิด การคิดเป็ น การคิดตรงตามสภาวะและเหตุปัจจัย การคิดสื บค้นถึง ั ต้นเค้า เป็ นต้น หรื อแปลสื บ ๆ กันมาว่า การทําในใจโดยแยบคายก็ได้ วนิช สุ ธารัตน์ (2547 : 122) กล่าวถึงโยนิโสมนสิ การว่า เป็ นกระบวนการคิดที่ อาศัยปั ญญา เพื่อทําให้ความคิดเป็ นความคิดที่บริ สุทธิ์ ไม่ตกอยูภายใต้อานาจของอารมณ์ ่ ํ ความรู ้สึก ความต้องการ หรื อความอยากในรู ปแบบต่างๆ ซึ่ งรู ้จกกันในชื่อของอวิชชา (ความโง่) ั และตัณหา (ความอยาก) โดยปกติสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มีอานาจหรื ออิทธิ พลครอบงําความคิดของของ ํ ปุถุชนทัว ๆ ไป และมีอานาจชักจูงให้ความคิดของบุคคลคล้อยตาม ทําให้บุคคลตกอยูภายใต้ ่ ํ ่ อํานาจของความคิด หรื อทาสของความคิด โยนิโสมนสิ การ เป็ นกระบวนการคิดที่อาศัย สติสัมปชัญญะเข้ามาร่ วมทํางานกับปั ญญา ทําให้บุคคลมีสติ สามารถรู ้ตวได้อย่างรวดเร็ ว และ ั ว่องไว รู ้เท่าทันอวิชชา และตัณหาที่เข้ามาครอบงําจิตใจของตนอยู่ ซึ่ งส่ งผลให้กระบวนการคิด เกิดขึ้นด้วยความบริ สุทธิ์ สามารถพิจารณาสรรพสิ่ งตามสภาวะของเหตุปัจจัย ทําให้เข้าใจความจริ ง ั ่ หรื อเกิดกุศลธรรม ส่ งผลให้บุคคลวางท่าทีและการปฏิบติตอสิ่ งนั้นได้อย่างเหมาะสม ่ จากความหมายของโยนิโสมนสิ การสรุ ปได้วา โยนิโสมนสิ การ คือ การคิดในใจ อย่างละเอียดถี่ถวน ลึกซึ้ ง มีระเบียน มีเหตุมีผล และสร้างสรรค์ ไม่ใช้อารมณ์เข้าใจโลกเข้าใจ ้ ชีวต สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมเกิดประโยชน์ท้ งต่อตนเองและส่ วนรวม ิ ั 2. วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การ พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) (2546 : 675 – 727) กล่าวว่า วิธีคิดแบบโยนิโส มนสิ การมี 2 แบบ คือ โยนิโสมนสิ การที่มุ่งสกัดหรื อกําจัดอวิชชาโดยตรง และโยนิโสมนสิ การ ที่มุ่งเพื่อสกัดหรื อบรรเทาตัณหา โยนิโสมนสิ การที่มุ่งกําจัดอวิชชาโดยตรง ตามปกติเป็ นแบบที่ ต้องใช้ในการปฏิบติธรรมจนถึงที่สุด เพราะทําให้เกิดความรู ้ความเข้าใจตามความเป็ นจริ ง ซึ่ งเป็ น ั
  • 7. สิ่ งจําเป็ นสําหรับการตรัสรู ้ ส่ วนโยนิโสมนสิ การแบบสกัดหรื อบรรเทาตัณหามักใช้เป็ นข้อปฏิบติ ั ต้น ๆ ซึ่ งมุ่งเตรี ยมพื้นฐาน หรื อพัฒนาตนในด้านคุณธรรมให้เป็ นผูพร้อมสําหรับการปฏิบติข้ น ้ ั ั สู งขึ้นไปพระธรรมปิ ฎก ได้ประมวลวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การได้ 10 แบบดังนี้ 1. วิธีคิดแบบสื บสาวเหตุปัจจัย คือ พิจารณาปรากฎการณ์ที่เป็ นผลให้รู้จกสภาวะที่เป็ น ั จริ ง หรื อพิจารณาปั ญหา หาหนทางแก้ไขด้วยการค้นหาสาเหตุและปั จจัยต่าง ๆ ที่สมพันธ์ส่งผล ั สื บทอดกันมา อาจเรี ยกว่า วิธีคิดตามหลักอิทปปั จจยตา หรื อคิดตามหลักปฏิจจสมุปบาท จัดเป็ น ั วิธีโยนิโสมนสิ การแบบพื้นฐาน มีแนวปฏิบติดงนี้ ั ั 1.1 คิดแบบปั จจัยสัมพันธ์ สิ่ งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดขึ้น “เมื่อสิ่ งนี้มี สิ่ งนี้จึงมี เพราะสิ่ งนี้เกิดขึ้น สิ่ งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่ งนี้ไม่มี สิ่ งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่ งนี้ดบ สิ่ งนี้จึงดับ” ั 1.2 คิดแบบสอบสวนหรื อตั้งคําถาม เช่น อุปาทานมีเพราะอะไรเป็ นปั จจัย อุปาทานมีเพราะตัณหาเป็ นปัจจัย ตัณหามีเพราะอะไรเป็ นปัจจัย ตัณหามีเพราะเวทนาเป็ นปัจจัย เวทนามีเพราะอะไรเป็ นปัจจัย 2. วิธีคิดแบบแยกแยะส่ วนประกอบหรื อกระจายเนื้อหา เป็ นการคิดที่มุ่งให้มองและให้ รู ้จกสิ่ งทั้งหลายตามสภาวะของมันเอง ในทางธรรมมักใช้พิจารณาเพื่อให้เห็นความไม่มีแก่นสาร ั หรื อความไม่เป็ นตัวเป็ นตนที่แท้จริ งของสิ่ งทั้งหลายให้หายยึดติดถือมันในสมมติบญญัติ ่ ั โดยเฉพาะการพิจารณาเห็นสัตว์บุคคลเป็ นเพียงการประชุมกันเข้าขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เรี ยกว่า ขันธ์ 5 การพิจารณาเช่นนี้ช่วยมองเห็นความเป็ นอนัตตา วิธีคิดแบบนี้มิใช่เพียงแต่จาแนกแจกแจง ํ แยกแยะไปอย่างเดียวเท่านั้น แต่มีการจัดประเภทหมวดหมู่ไปพร้อมกัน จัดเป็ น “วิภชชวิธี” อย่าง ั หนึ่ง เป็ นการจําแนกอย่างมีหลักเกณฑ์ ถ้าจะเรี ยกอย่างสมัยใหม่คงหมายถึง “วิธีคิดแบบวิเคราะห์” วิธีคิดแบบนี้มีตวอย่างมากในพุทธธรรม และรู ปธรรม มาแยกแยะส่ วนประกอบ และจัดหมวดหมู่ ั อย่างชัดเจน 3. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ หรื อวิธีคิดแบบรู ้เท่าทันความเป็ นไปของธรรมชาติและความ เป็ นปกติธรรมดาของสภาวะทั้งหลาย วิธีคิดแบบนี้จะกระทําได้ต่อเมื่อได้มีสาระความรู ้ในหลักการ ของธรรมชาติ รู ้ความเป็ นไปของเหตุผลและปั จจัยต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ งจึงจะสามารถคิดสรุ ปความ เป็ นไปของสภาวะเหล่านั้น (Generalization) ว่ามันมีเหตุให้เกิดขึ้นเปลี่ยนแปลง และสลายไป ตระหนักถึงความจริ งที่เกิดขึ้นเป็ นธรรมดา วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์น้ ีเป็ น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ หนึ่งเป็ นการคิดอย่างรู ้เท่าทันความเป็ นไปของธรรมชาติและความเป็ นปกติของธรรมดา วิธีคิด แบบสามัญลักษณ์น้ ีเป็ น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่หนึ่งเป็ นการคิดอย่างรู ้เท่าทันและยอมรับความจริ ง ขั้นที่สอง เป็ นการปฏิบติต่อสิ่ งทั้งหลายโดยสอดคล้องกับความเป็ นจริ งของธรรมชาติ เป็ นการ ั
  • 8. ปฏิบติดวยปั ญญา รู ้เท่าทันแก้ไขตรงเหตุและปั จจัยด้วยสติสัมปชัญญะ คือกําหนดรู ้ เมื่อคิดเช่นนี้ ั ้ ่ ได้ บุคคลก็จะมีอิสระไม่ถูกบีบคั้นหลงจมอยูในความทุกข์ 4. วิธีคิดแบบอริ ยสัจหรื อคิดแบบแก้ปัญหา พระราชวรมุนีอธิ บายว่า เป็ นวิธีคิดที่สามารถ ขยายให้ครอบคลุมวิธีคิดแบบอื่น ๆ ได้ท้ งหมด วิธีคิดแบบอริ ยสัจนี้มีลกษณะทัวไป 2 ประการ ั ั ่ คือ 4.1 เป็ นวิธีคิดตามเหตุและผล หรื อเป็ นไปตามเหตุและผล สื บสาวจากผลไปหา เหตุ แล้วแก้ไขและทําการที่ตนเหตุ จัดเป็ น 2 คู่ คู่ที่ 1 : ทุกข์เป็ นผล เป็ นตัวปัญหา เป็ น ้ สถานการณ์ที่ประสบซึ่ งไม่ตองการ : สมุทยเป็ นเหตุ เป็ นที่มาของปั ญหา เป็ นจุดที่ตองจํากัดหรื อ ้ ั ้ แก้ไข จึงจะพ้นจากปั ญหาได้ คู่ที่ 2 : นิโรธเป็ นผล เป็ นภาวะสิ้ นปั ญหา เป็ นจุดหมาย ซึ่ งต้องการ จะเข้าถึง : มรรคเป็ นเหตุ เป็ นวิธีการ เป็ นข้อปฏิบติที่ตองกระทําในการแก้ไขสาเหตุ เพื่อบรรลุ ั ้ จุดหมาย คือ ภาวะสิ้ นปั ญหาอันได้แก่ ความดับทุกข์ 4.2 เป็ นวิธีคิดที่ตรงจุด ตรงเรื่ อง ตรงไปตรงมา มุ่งตรงต่อสิ่ งที่จะต้องทํา ต้อง ปฏิบติ ต้องเกี่ยวข้องกับชีวต ใช้แก้ปัญหา ไม่เกี่ยวกับการแก้ปัญหา ั ิ 5. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ คือ การคิดพิจารณาให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ธรรม (หลักการ) กับอรรถ (ความมุ่งหมาย) คําว่าธรรมนั้นคือหลักความจริ งหลักความดีงาม หลักปฏิบติ หลักการนําไปใช้ปฏิบติและหลักคําสอน ส่ วนอรรถนั้นแปลว่า ความมุ่งหมายหรื อ ั ั จุดหมายหรื อสาระที่พึงประสงค์ พระราชวรมุนีได้อธิ บายว่า ความรู ้ เข้าใจ ตระหนักในจุดหมาย และขอบเขตแห่งคุณค่าของหลักธรรมต่าง ๆ เป็ นเครื่ องกําหนดความถูกต้อง พอเหมาะพอดีแห่ง การปฏิบติหลักธรรมนั้น ๆ อันเป็ นธรรมมานุธรรมปฏิบติ การฝึ กหัดอบรมตนให้ปฏิบติในทางสาย ั ั ั กลางก็ดี การบําเพ็ญศีล สมาธิ ปั ญญาก็ดี ย่อมอาศัยพื้นฐานการคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ และ อาศัยการช่วยชี้แจงหลักการ จุดหมายโดยผูเ้ ป็ นกัลยาณมิตรด้วย 6. วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก วิธีคิดแบบนี้เป็ นวิธีคิดที่ใช้เป็ นหลักในการแก้ปัญหา และการปฏิบติได้อย่างดีวธีหนึ่ง การคิดแบบนี้ตองได้มีการมองสิ่ งทั้งหลายตามที่เป็ นจริ งทุกแง่ทุก ั ิ ้ ด้าน คือมองในแง่เป็ นอัสสาทะ (ส่ วนดี น่าพึงพอใจ) อาทีนวะ (ส่ วนเสี ย โทษข้อบกพร่ อง) และ นิสสรณะ (ทางออกภาวะหลุดรอดปลอดพ้น) พระราชวรมุนีเน้นว่า การคิดแบบนี้มีลกษณะที่พง ั ึ ยํ้า 2 ประการ คือ 6.1 การที่จะเชื่อว่ามองเห็นตามเป็ นจริ งนั้น จะต้องมองเห็นทั้งด้านดี ด้านเสี ย หรื อทั้งคุณ แลโทษของสิ่ งนั้น
  • 9. 6.2 เมื่อจะแก้ปัญหาหรื อลงมือปฏิบติตองมองเห็นจุดหมาย และทางออก นอกเหนือจาก ั ้ การรู ้คุณโทษของสิ่ งนั้น ด้วยการคิดหาทางออกที่ดีที่สุดไปพร้อม ๆ กับการพิจารณาผลดี ผลเสี ย จะทําให้บุคคลสามารถปฏิบติตนได้เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ และปั ญหาที่เกิดขึ้น ั 7. วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม เป็ นการคิดถึงคุณค่าหรื อประโยชน์ที่สนองความ ต้องการของชีวตโดยตรงหรื อเป็ นเพียงประโยชน์ที่พอกเสริ ม โดยมีตณหาเป็ นเครื่ องวัด วิธีคิดนี้ ิ ั เป็ นการพิจารณาอย่างใช้ปัญญาไตร่ ตรองให้มนุษย์รู้จกเลือกเสพคุณค่าที่เป็ นประโยชน์แก่ชีวตที่ ั ิ แท้จริ ง และเกื้อกูลความเจริ ญในกุศลธรรม ซึ่ งต่างจากคุณค่าเทียมอันนําไปสู่ อกุศลธรรม ความ โลภ มัวเมา ริ ษยา มานะ ทิฎฐิ เบียดเบียน แก่งแย่งกัน 8. วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม อาจเรี ยกง่าย ๆ ว่า วิธีคิดแบบเร้ากุศล หรื อคิดแบบ ่ กุศลภาวนา เป็ นวิธีคิดในแนวสกัดกั้นหรื อบรรเทา และขัดเกลาตัณหาจึงจัดได้วาเป็ นข้อปฏิบติ ั ระดับต้น ๆ สําหรับส่ งเสริ มความเจริ ญงอกงามแห่งกุศลธรรม สร้างเสริ มสัมมาทิฎฐิท่ีเป็ นโลกิยะ ่่ หลักการทัวไปของวิธีคิดแบบนี้มีอยูวา ประสบการณ์คือ สิ่ งที่ได้ประสบหรื อได้รับรู ้อย่างเดียวกัน ่ บุคคลผูประสบหรื อรับรู ้ต่างกัน อาจมองเห็นหรื อคิดนึกปรุ งแต่งไปคนละอย่างสุ ดแต่โครงสร้าง ้ แนวทางความเคยชินต่าง ๆ ที่เป็ นเครื่ องปรุ งของจิต คือ สังขารที่ผน้ นได้สงสมไว้ หรื อสุ ดแต่การ ู้ ั ่ั ทําใจในขณะนั้น ๆ และในแง่ที่ช่วยให้แก้ไขนิสัยความเคยชินร้าย ๆ ของจิตที่ได้ส่งสมมาแต่เดิมั พร้อมกับสร้างนิสัยความเคยชินใหม่ ๆ ที่ดีงามให้แก่จิตไปในเวลาเดียวกัน ในทางตรงข้ามหาก ปราศจากอุบายแก้ไขเช่นนี้ ความคิดและการกระทําของบุคคลที่จะถูกชักนําให้เดินไปตามแรงชัก จูงของความเคยชินเก่า ๆ ที่ได้สั่งสมไว้เดิมเพียงอย่างเดียว และช่วยเสริ มความเคยชินอย่างนั้นให้มี กําลังแรงมากยิงขึ้น ่ ่ 9. วิธีคิดแบบเป็ นอยูในขณะปั จจุบน หรื อวิธีคิดแบบมีปัจจุบนธรรมเป็ นอารมณ์หมายถึง ั ั ํ ่ การใช้ความคิดและเนื้อหาของความคิดที่สติระลึกรู ้กาหนดอยูและการคิดในแนวทางของความรู ้ หรื อคิดด้วยอํานาจของปั ญญา สามารถฝึ กอบรมจิตให้เกี่ยวข้องรับรู ้ในภารกิจที่กาลังกระทําอยูใน ํ ่ ปั จจุบนแม้หากจิตเกิดหลุดลอยไปยังเรื่ องที่เกิดขึ้นและผ่านไปแล้ว (อดีต) หรื อฟุ้ งซ่านไปยังสิ่ งที่ยง ั ั ไม่เกิด (อนาคต) ก็สามารถใช้สติเหนี่ยวรั้ง เพ่งและโยงสู่ ภาระหน้าที่ที่กาลังกระทําอยูในปั จจุบนได้ ํ ่ ั 10. วิธีคิดแบบวิภชชวาท เป็ นวิธีคิดที่เชื่อโยงกับการพูด วิภชชวาท มาจากคําว่า วิภชช ั ั ั (แยกแยะ จําแนก วิเคราะห์) วาท (การพูด การแสดงคําตอบ) ในพระพุทธศาสนานั้น วาทะเป็ น ไวพจน์ของคําว่าทิฎฐิ (ความคิดเห็น) ด้วยลักษณะที่สาคัญของความคิด และการพูดแห่งนี้ คือ ํ การมอง และแสดงความจริ งโดยแยกแยะออกให้เห็นแต่ละแง่ แต่ละด้านครบทุกแง่ทุกด้าน พระ ราชวรมุนีได้จาแนกแนววิธีคิดแบบวิภชชวาทในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ ํ ั
  • 10. 10.1 จําแนกโดยแง่ความจริ ง คือ จําแนก และอธิ บายตามความจริ งทีละแง่ทีละ ด้าน ทั้งข้อดี และข้อเสี ยจนครบทุกแง่ ทุกด้านว่าดี และเสี ยอย่างไรตามความเป็ นจริ งแล้ว ประมวลกันเข้า โดยครบถ้วนสามารถสรุ ปลักษณะ และองค์ประกอบได้ 10.2 จําแนกโดยส่ วนประกอบ คือ คิดแยกแยะองค์ประกอบย่อย ๆ ของสิ่ งนั้น 10.3 จําแนกโดยลําดับขณะ คือ แยกแยะวิเคราะห์ปรากฏการณ์ตามลําดับความ สื บทอดแห่งเหตุปัจจัยซอยออกไปเป็ นแต่ละขณะ ๆ ให้มองเห็นด้วยเหตุปัจจัยที่แท้จริ ง ไม่ถูกลวง ไม่จบเหตุปัจจัยสับสน ั 10.4 จําแนกโดยความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย คือ สื บสาวสาเหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่ สัมพันธ์สืบทอดกันมาของสิ่ งหรื อปรากฎการณ์ต่าง ๆ วิธีคิดจําแนกในแง่น้ ีตรงกับวิธีคิดแบบที่ 1 ั ทั้งนี้เพราะภาวะของสิ่ งทั้งหลายนั้นมีความสัมพันธ์กน ขึ้นต่อกันและสื บทอดกัน เนื่องด้วยปั จจัย ย่อยต่าง ๆ ความมีหรื อไม่มีไม่ใช่ภาวะเด็ดขาดลอยตัว ภาวะที่เป็ นจริ งเป็ นเหมือนอยูกลางระหว่าง ่ ความเห็นเอียงสุ ดทั้งสองนั้น ความคิดแบบจําแนกโดยความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยช่วยให้มองเห็น ความจริ งนั้น และตามแนวคิดนี้พระพุทธเจ้าจึงทรงแสดงธรรมอย่างที่เรี ยกว่า เป็ นกลาง ๆ คือ ไม่ กล่าวว่าสิ่ งนี้มี หรื อว่าสิ่ งนี้ไม่มี แต่กล่าวว่าเพราะสิ่ งนี้มี สิ่ งนี้จึงมี เพราะสิ่ งนี้ไม่มีสิ่งนี้จึงไม่มีหรื อ ว่านี้มีในเมื่อนั้นมี นี้ไม่มีเมื่อนั้นไม่มี 10.5 จําแนกโดยเงื่อนไข คือ มองหรื อแสดงความจริ งโดยพิจารณาเงื่อนไข ประกอบด้วย เช่น ถ้ามีผถามว่า “บุคคลนี้ควรคบหรื อไม่” พระภิกษุจะตอบตามเงื่อนไขว่า “ถ้า ู้ คบแล้วอกุศลธรรมเจริ ญ กุศลธรรมเสื่ อม ไม่ควรคบ แต่ถาคบแล้ว อกุศลธรรมเสื่ อม กุศลธรรม ้ เจริ ญควรคบ ควรเกี่ยวข้อง” 10.6 วิภชชวาทในฐานะวิธีตอบปั ญหาอย่างหนึ่ง เป็ นวิธีคิดตอบปั ญหาอย่างหนึ่ง ั ใน 4 วิธีตอบปัญหาของพระพุทธเจ้าคือ 10.6.1 เอกังสพยากรณ์ การตอบแง่เดียว คือตอบอย่างเดียวเด็ดขาด 10.6.2 วิภชชพยากรณ์ การแยกแยกตอบ ั 10.6.3 ปฎิปุจฉาพยากรณ์ การตอบโดยย้อนถาม 10.6.4 ฐปนะ การยั้ง หรื อหยุด พับปั ญหาเสี ยไม่ตอบ วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การทั้ง 10 วิธีน้ ี ถ้าตรวจดูข้ นตอนการทํางานแล้วจะเห็น ั การคิดเป็ นสองช่วง คือ คิดทั้งตอนรับรู ้อารมณ์ หรื อประสบการณ์จากภายนอก และคิดค้น พิจารณาอารมณ์หรื อเรื่ องราวที่เก็บเข้ามาแล้วภายใน ซึ่ งวิธีคิดนี้ต่างก็อิงอาศัยกันและกัน สัมพันธ์ กัน วิธีการศึกษาเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหาของชีวตต้องบูรณาการความคิดเหล่านี้ รู ้จกเลือก ิ ั รู ปแบบวิธีคิดมาผสมกลมกลืนกัน เพื่อนําไปสู่ การสร้างแนวปฏิบติอย่างถูกต้อง ตรงกับความจริ ง ั
  • 11. ่ ในทางสายกลาง สรุ ปได้วา ถ้าพูดในเชิงวิชาการ และในแง่ของการทําหน้าที่ของวิธีโยนิโส มนสิ การทั้งหมดสามารถสรุ ปได้ 2 ประเภท คือ 1. โยนิโสมนสิ การแบบปลุกปั ญญา มุ่งให้รู้แจ้งตามสภาวะ เน้นการที่ขจัด อวิชชาเป็ นฝ่ ายวิปัสสนา มีลกษณะเป็ นหารส่ องสว่าง ทําลายความมืด หรื อชําระล้างสิ่ งสกปรก ั ไปสู่ โลกุตรสัมมาทิฎฐิ 2. โยนิโสมนสิ การแบบสร้างเสริ มคุณภาพจิต มุ่งปลุกเร้ากุศลธรรมอื่น ๆ เน้นที่ การสกัดหรื อข่มตัณหา เป็ นฝ่ ายสัมถะ มีลกษณะเป็ นการเสริ มสร้างพลังหรื อปริ มาณฝ่ ายดีมากดข่ม ั ทับหรื อบังฝ่ ายชัวไว้่ สรุ ปว่าวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การนั้นสามารถใช้เพื่อการสกัดกั้นตัณหาและ อวิชชาซึ่งมีวธีคิดได้ถึง 10 วิธี สําหรับการศึกษาวิจยในครั้งนี้ผวจยเลือกใช้วธีคิดแบบคุณโทษและ ิ ั ู้ ิ ั ิ ทางออก และแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม 3. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีสอนคิดแบบโยนิโสมนสิ การ 3.1 ทฤษฎีสติปัญญาสามศร (Triarchic Theory) ได้เสนอทฤษฎีสติปัญญา สามศร เพื่อพัฒนาสติปัญญา โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแก้ปัญหาการสร้างความสําเร็ จในการ ดํารงชีวตและดําเนิน การสร้างความสําเร็ จให้เกิดขึ้นได้บุคคลต้องเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ิ ตนเองกับโลกภายนอกของบุคคล เพื่อเกิดความสําเร็ จในการดํารงชีวต ดังนั้น บุคคลจึงต้องจัด ิ กระทําข้อมูลข่าวสารด้วยวิธีการหลากหลายเพื่อเกิดประสบการณ์อนสามารถสนองภารกิจต่าง ๆ ั ในสถานการณ์จริ งของชีวตเขาอธิ บายว่า สติปัญญาของมนุษย์ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักที่มี ิ การทํางานร่ วมอยู่ 3 องค์ประกอบย่อย ดังนี้ การคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ 1. ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ การคิดอย่างมีวจารณญาณ เป็ นรู ปแบบหนึ่งของการคิดในระดับสู งที่อยูบน ิ ่ พื้นฐานของหลักการและเหตุผล มีการศึกษาข้อเท็จจริ ง ถือว่าเป็ นทักษะการคิดที่มีความสําคัญต่อ การเรี ยนรู ้และการดําเนินชีวต ซึ่ งมีนกการศึกษาได้ให้ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ั ิ ดังนี้ ไบเออร์ ( Beyer. 1995 : unpaged) ให้ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณ คือ ิ ความสามารถที่จะตัดสิ นสิ่ งต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล ไม่ใช่การคาดเดา นับตั้งแต่เรื่ องเล็กน้อย เช่น การปรุ งอาหารไปจนถึงเรื่ องใหญ่ข้ ึน เช่น การสรุ ปงานวิจยว่ามีคุณค่าหรื อไม่อย่างไร ผูท่ีใช้ ั ้ ความคิดอย่างมีวจารณญาณจะสามารถประเมินข่าวสารหรื อข้อถกเถียงได้อย่างมีหลักฐาน ิ น่าเชื่อถือ
  • 12. เคอร์แลนด์ ( Kurland. 1995 : unpaged) ให้ความหมายของการคิดอย่างมี วิจารณญาณว่า เกี่ยวข้องกับการใช้เหตุผล ใช้สติปัญญาและมีความคิดที่เปิ ดกว้าง ซึ่ งตรงขามกับการ ใช้อารมณ์ไม่ยอมใช้สติปัญญา ดังนั้นการคิดอย่างมีวจารณญาณ จึงยึดหลักของเหตุผลมากกว่า ิ อารมณ์ มีความถูกต้องแม่นยํา พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ในแง่มุมต่าง ๆ ต้องการหาว่าอะไรคือ ความจริ งมากกว่าอะไรคือความถูกต้อง และไม่ยอมใช้อคติส่วนตัวมาทําให้การตัดสิ นเบี่ยงเบนไป รักจิริโอ (Ruggierio. 1996 : unpaged) เสนอว่า การคิดอย่างมีวจารณญาณิ หมายถึง การตรวจสอบความคิดของเราเอง การคิดตัดสิ นใจว่าวิธีแก้ปัญหาที่ดีท่ีสุดคืออะไร ความ เชื่อแบบใดที่มีเหตุผลมากที่สุด จากนั้นต้องมีการประเมินข้อสรุ ปอีกครั้งหนึ่ง แมคโคเวน (Mckowen. 1970 : unpaged) ให้ความหมายของการคิดอย่างมี วิจารณญาณว่า เป็ นความคิดที่แจ่มแจ้งผ่านการใคร่ ครวญมาแล้วอย่างรอบคอบ ใช้ทุกอย่างที่เรามี อย่างดีที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ ผูคิดจะต้องไม่ใส่ ใจอารมณ์ของตัวเองเข้าไปด้วย โดยเฉพาะการคิด ้ เกี่ยวกับกฎหมายหรื อตรรกวิทยา แต่เนื่องจากคนเราคิดวยสมองทั้งหมด ไม่ใช่คิดด้วยสมองซี ก ้ ซ้ายเท่านั้น เพราะฉะนั้นการคิดที่ไม่ใช้อารมณ์เลยจึงเป็ นไปไม่ได้ ดังนั้นหน้าที่ของการคิดอย่างมี วิจารณญาณคือต้องคอยระมัดระวังไม่ให้เกิดความคิดที่เป็ นอคติหรื อลําเอียงขึ้น ผูท่ีมีความคิดอย่าง ้ มีวจารณญาณจะมีความคิดไตร่ ตรองและมีความเชื่อที่มีเหตุผล ซึ่ งจะเป็ นตัวชี้นาเข้าไปตลอดชีวต ิ ํ ิ การที่จะพัฒนาให้เกิดความเชื่อที่ถูกต้องจําเป็ นต้องระวังไม่ให้มีความลําเอียงเกิดขึ้นในใจ ต้อง ตรวจสอบเหตุการณ์หนึ่ง ๆ จากหลายแง่หลายมุมจนกว่าจะหาเหตุผลที่หนักแน่นพอมารองรับ ความเชื่อของตนได้ ทิศนา แขมมณี และคณะ (2544 : 4) ได้สรุ ปความหมายของกระบวนการคิด อย่างมีวจารณญาณว่า คือการเห็นปั ญหา สามารถวิเคราะห์ปัญหาได้ ต่อจากนั้นคือการพิจารณา ิ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และตัดสิ นใจเลือกทางเลือกต่าง ๆ อย่างถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับ มลิวลย์ ั สมศักดิ์ (2540 : 15) พรเพ็ญ ศรี วรัตน์ (2546 : 13) และสุ วทย์ มูลคํา (2550 : 9) ได้ให้ ิ ิ ความหมายของการคิดอย่างมีวจารณญาณไว้ในทํานองเดียวกันว่า การคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ิ หมายถึง การคิดที่มีเหตุผลโดยผ่านการพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ความรู ้ ความคิด และประสบการณ์ มีหลักเกณฑ์ มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ เพื่อนําไปสู่ การสรุ ปและตัดสิ นใจที่มี ประสิ ทธิ ภาพว่าสิ่ งใดถูกต้อง สิ่ งใดควรเชื่อ สิ่ งใดควรเลือก หรื อสิ่ งใดควรกระทํา ซึ่ งสอดคล้อง กับ ปานชีวา นาคสิ ทธิ์ (2543 : 31) ที่ให้ความหมายในทํานองเดียวกันว่า การคิดอย่างมี วิจารณญาณหมายถึง ความสามารถในการคิดพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับข้อมูล หรื อ สถานการณ์ความสามารถในการสร้างความคิดรวบยอด ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลในข้อความหรื อเหตุการณ์ที่เป็ นปัญหาหรื อข้อโต้แย้ง โดยอาศัยความรู้ ความคิด
  • 13. และประสบการณ์ของตน เพื่อนําไปสู่ การตัดสิ นใจ และเลือกปฏิบติในสิ่ งที่เหมาะสมด้วยหลักการ ั และเหตุผล ่ จากความหมายดังนี้กล่าว สรุ ปได้วา การคิดอย่างมีวจารณญาณจําเป็ นต้องใช้ ิ ทักษะต่าง ๆ คือ การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การโยงความสัมพันธ์ และการประเมินค่าโดย ใช้เหตุผลตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา โดยยึดหลักการคิดด้วยเหตุผลจากข้อมูลที่เป็ นจริ งมากกว่า อารมณ์ และการคาดเดา พิจารณาความเป็ นไปได้ในแง่มุมต่าง ๆ ว่าอะไรคือความจริ ง อะไรคือ ความถูกต้อง คิดด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ใช้สติปัญญาและทักษะการคิดไตร่ ตรองอย่างมี วิจารณญาณมากกว่าการใช้อารมณ์ที่ทาให้เกิดความลําเอียง เกิดอคติซ่ ึ งมีผลเสี ยต่อการตัดสิ นใจ ํ ดังนั้น การคิดอย่างมีวจารณญาณจึงเป็ นความคิดที่เปิ ดกว้างมีเป้ าหมายแน่นอน มีเหตุผล มี ิ ความถูกต้อง แม่นยําสามารถตรวจสอบความคิด และประเมินความคิดตนเองได้ 2. ทฤษฎีและแนวคิดที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณิ ปั จจุบนเรื่ องการคิดอย่างมีวจารณญาณและการสอนคิดเป็ นเรื่ องที่สาคัญอย่างยิง ั ิ ํ ่ ในการจัดการศึกษาเพื่อให้ได้คุณภาพสู ง ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกหันมาศึกษาและเน้นในเรื่ องของ ่ การพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เติบโตขึ้นอย่างมีคุณภาพในทุก ๆ ด้าน มีนกคิด นักจิตวิทยา และนักวิชาการ ั จากต่างประเทศจํานวนมากที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ และแนวคิดในเรื่ องนี้ท่ีสาคัญ ๆ ํ ดังนี้ เลวิน (Lewin. 1935 : 25) นักทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt) เชื่อว่า ความคิดของบุคคลเกิดจากการรับรู ้สิ่งเร้า ซึ่ งบุคคลมักรับรู ้ในลักษณะภาพรวมหรื อส่ วนรวม มากกว่าส่ วนย่อย บลูม (Bloom. 1981 : 20) ได้จาแนกการเรี ยนรู้ (Cognition) ออกเป็ น 5 ํ ขั้นได้แก่ การรู ้ข้ นความรู ้ การรู ้ข้ นเข้าใจ การรู ้ข้ นวิเคราะห์ การรู ้ข้ นสังเคราะห์ การรู ้ข้ นประเมิน ั ั ั ั ั ทอเรนซ์ (Torrence. 2000 : unpaged) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ที่ประกอบไปด้วย ความคล่องแคล่วในการคิด (Fluency) ่ ความยืดหยุนในการคิด ความคิดริ เริ่ มในการคิด (Originality) ออซูเบล (Ausubel. 1969 : unpaged) ได้อธิ บายว่า การเรี ยนรู ้อย่างมี ความหมาย (Meaningful Verbal Learning) จะเกิดขึ้นได้ หากการเรี ยนรู ้น้ นสามารถเชื่อมโยงกับ ั สิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่มีมาก่อน ดังนั้น การให้กรอบความคิดแก่ผเู ้ รี ยนก่อนการสอนเนื้อหาสาระใด ๆ จะ ช่วยเป็ นสะพานหรื อโครงสร้างที่ผเู ้ รี ยนสามารถนําเนื้อหา หรื อสิ่ งที่เรี ยนใหม่ไปเชื่อมโยงยึดเกาะ ได้ทาให้การเรี ยนรู ้เป็ นไปอย่างมีความหมาย ํ
  • 14. เพียเจต์ (Piaget. 1964 : unpaged) ได้อธิ บายพัฒนาการสติปัญญาว่าเป็ น ผลเนื่องมาจากการปะทะสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่ งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัวโดยใช้ กระบวนการดูดซึม (Assimilation) และกระบวนการปรับที่เหมาะ (Accommodation) โดยการ ่ พยายามปรับความรู ้ ความคิดเดิมกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ ซึ่ งทําให้บุคคลอยูในภาวะสมดุลสามารถ ปรับตัวเข้ากับสิ่ งแวดล้อมได้ กระบวนการดังกล่าวเป็ นกระบวนการพัฒนาโครงสร้างทาง สติปัญญาของบุคคล บรู เนอร์ (Bruner. 1971 : 33) กล่าวว่า เด็กเริ่ มต้นเรี ยนรู ้จากการกระทํา ต่อไปจึงสามารถจินตนาการ หรื อสร้างภาพในใจ หรื อในความคิดเกิดขึ้นได้ แล้วจึงดึงขั้นการคิด และเข้าใจในสิ่ งที่เป็ นนามธรรม กานเย่ (Gagne. 1977 : 34) ได้อธิ บายว่าผลการเรี ยนรู ้ของมนุษย์มี 5 ประเภทได้แก่ 1. ทักษะทางปัญญา (Intellectual Skills) ซึ่ งประกอบด้วยทักษะย่อย 4 ระดับ คือ การจําแนกแยกแยะ การสร้างความคิดรวบยอด การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการ หรื อกฎขั้นสู ง 2. สมรรถภาพทางภาษา (Verbal information) เป็ นสมรรถภาพที่แสดง ออกมาทางภาษาพูด ภาษาเขียน การพิมพ์ ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการคิดที่ชดเจน เป็ นระบบ ั 3. ทักษะการใช้ยทธศาสตร์การคิดหรื อยุทธศาสตร์ทางปัญญา ุ (Cognitive Strategies) ซึ่ งช่วยให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างอิสระ เริ่ มจากการใส่ ใจ ้ เลือกรับรู้การประมวลข้อมูล การจดจํา การค้นคิด เพื่อนํามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา และการ ตีความหมายหรื อการทําความเข้าใจปั ญหา ถือว่าเป็ นยุทธศาสตร์ ท่ีมีความสําคัญมาก 4. ทักษะด้านการเคลื่อนไหว (Motor Skills) เป็ นทักษะในการใช้ อวัยวะกล้ามเนื้อให้ทางานอย่างคล่องแคล่วตามที่จิตใจปรารถนา ใช้สาหรับการเคลื่อนไหว การ ํ ํ ทํางานซึ่ งอาศัยการทํางานร่ วมกันระหว่างระบบประสาท ระบบอวัยวะ และจิตใจ 5. ทัศนะคติ (Attitude) ทัศนคติที่บุคคลมีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรื อเหตุการณ์ ใดเหตุการณ์หนึ่งอาจเกิดขึ้นในทางบวกหรื อลบก็ได้ โรเบิร์ต เจ สเติร์นเบิร์ก (Sternberg) ได้เสนอทฤษฎีพฒนาการทาง ั ปั ญญาตามแนวสามศร ซึ่ งถือเป็ นกระบวนการคิดที่สาคัญ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ปัญหา การ ํ สร้างความสําเร็ จในการดํารงชีวต และการดําเนินชีวต สเติร์ตเบิร์ก อธิ บายว่า สติปัญญาของ ิ ิ มนุษย์ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักที่มีการทํางานอยูร่วมกันอยู่ 3 องค์ประกอบย่อย ่ (Subtheory) ดังนี้
  • 15. 1. องค์ประกอบด้านปัญญาวิเคราะห์ (Componential Subtheory) เป็ น กระบวนการคิดแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคล ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข่าวสารการ ปรับความรู ้เป็ นความคิดมุ่งสู่ การแก้ปัญหา การนําความคิดสู่ การปฏิบติ การเข้ารหัสเชื่อมโยง ั เปรี ยบเทียบ การเลือกจัดกลุ่มหาความสอดคล้อง การจัดสาระสรุ ปประเด็นไว้เป็ นระบบ 2. องค์ประกอบด้านประสบการณ์ (Experiential Subtheory) เป็ น วิธีการนําประสบการณ์มาแก้ปัญหาที่แปลกใหม่ ใช้ขอมูลอย่างคล่องแคล่ว สามารถที่จะเผชิญ ้ ปั ญหาสถานการณ์ใหม่ ๆ และประมวลความรู ้ขอมูลมาแก้สถานการณ์ได้อย่างคล่องแคล่วและ ้ รวดเร็ วองค์ประกอบด้านบริ บทของสังคม (Contextual Subtheory) ได้แก่ปัจจัยภายนอก เป็ น ความสามารถทางสติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับบริ บททางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล ประกอบด้วย ความสามารถในการปรับตัว การเลือกใช้บริ บทของสังคมและการสร้างรู ปแบบวิธีการที่สอดคล้อง กับบริ บทเพื่อแก้ปัญหาให้เกิดความสําเร็ จ สรุ ปเกี่ยวกับทฤษฎี และแนวคิดจากต่างประเทศได้วา เด็กเรี ยนรู ้จากการกระทํา ่ ต่อไปจึงสามารถจินตนาการ หรื อสร้างภาพในใจหรื อในความคิดขึ้นได้ แล้วจึงเกิดการคิดและ เข้าใจสิ่ งที่เป็ นนามธรรม ความคิดของบุคคลเกิดจากการรับรู ้สิ่งเร้า ซึ่ งบุคคลมักรับรู ้ในลักษณะ ภาพรวมหรื อส่ วนรวมมากกว่าส่ วนย่อย ซึ่ งมีความเกี่ยวข้องกับความสามารถทางสติปัญญาการ เรี ยนรู ้ซ่ ึ งเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในบุคคล บุคคลเป็ นผูสร้าง ความรู ้จากความสัมพันธ์สิ่งที่ ้ พบเห็นและสามารถเชื่อมโยงกับความรู ้ความเข้าใจที่มีอยูเ่ ดิม เกิดเป็ นโครงสร้างทางปั ญญา เกิด การเรี ยนรู ้ซ่ ึ งการศึกษาแบ่งการเรี ยนรู ้ออกเป็ น 5 ขั้น ได้แก่ การรู ้ข้ นความรู ้ การรู ้ข้ นเข้าใจ การรู ้ ั ั ขั้นวิเคราะห์ การรู ้ข้ นสังเคราะห์ และการรู ้ข้ นประเมิน ความสามารถทางสมองของมนุษย์ ั ั ประกอบด้วยมิติสามมิติคือ มิติดานเนื้อหา มิติดานปฏิบติการ มิติดานผลผลิต การคิดเป็ น ้ ้ ั ้ ความสามารถของสมองมีลกษณะการทํางานเหมือนคอมพิวเตอร์ คือ มีขอมูลเข้าไป ผ่านการ ั ้ ปฏิบติการแล้วจึงส่ งผลออกมาซึ่ งมีลกษณะคล้ายแนวความคิดของไทย คือ การคิดอย่างมี ั ั วิจารณญาณ เป็ นกระบวนการคิดพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบ คิดอย่างมีเหตุผล จากข้อมูล หรื อสถานการณ์ โดยอาศัยความรู ้ ประสบการณ์ มีหลักฐานเชื่อถือได้ นําไปสู่ ทางเลือกในการ ตัดสิ นใจ สามารถสร้างความคิดรวบยอด คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และประเมินในข้อความ หรื อเหตุการณ์ และตัดสิ นเลือกทางเลือกได้ พระธรรมปิ ฎก ได้นาเสนอแนวคิดในการจัดการศึกษาและการสอนตามหลักพุทธ ํ ธรรมซึ่งครอบคลุมในเรื่ องการพัฒนาปัญญา และการคิดไว้จานวนมาก และได้มีนกการศึกษาไทย ํ ั นําแนวคิดเหล่านี้มาประยุกต์ใช้เป็ นรู ปแบบกระบวนการ และเทคนิคในการสอน ทฤษฎีหลักการ