SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
กล่มสาระการเรียนรู้ สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
     ุ                                                                                                                     ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที๒         ่
หน่วยการเรียนร้ ู ที่ ๒ พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา                                                                          เวลา ๓ ชั่ วโมง
เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
ชื่ อผู้สอน นางศุภรัตน์ ปุงข้ อ          ้
..........................................................................................................................................................................
๑.สาระสํ าคัญ
               การศึกษาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ทําให้ทราบถึงความเป็ นมาและอิทธิ พล
ของภูมิปัญญาสมัยอยุธยาที่มีผลต่อการพัฒนาชาติไทยในอดีตจนถึงปั จจุบน เราจึงควรภูมิใจในความเป็ น                        ั
ไทย ที่บรรพบุรุษไดสั่งสมจนเป็นมรดกตกทอดถึงปัจจุบน
                                  ้                                                         ั
๒.มาตรฐานการเรียนร้ ู
          ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารง
ความเป็ นไทย
๓.ตัวชี้วด/ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
             ั                             ี่
          ๓.๑ ตัวชี้วด     ั
                  ส ๔.๓ ม.๒/๓ ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิ พลของ
                                                   ภูมิปัญญาดังกล่าว ต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา
               ๓.๒ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง       ี่
                             -อธิ บายลักษณะภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาได้
                             -วิเคราะห์อิทธิ พลของภูมิปัญญาสมัยอยุธยาต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมาได้
                             -ตระหนกและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทย
                                              ั
๔.สาระการเรียนร้ ู
          ๔.๑สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
                 ๑) ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกําลังคนและศิลปวัฒนธรรม
          ๔.๒ สาระการเรียนร้ ูท้องถิ่น
                                  -
๕.สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
           ๕.๑ ความสามารถในการสื่ อสาร
          ๕.๒ ความสามารถในการคิด
                     ๑) ทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ                       ิ
                             - ทักษะการรวบรวมข้อมูล
                     ๒) ทักษะการสังเคราะห์
๓) ทักษะการสร้างความรู ้
        ๕.๓ ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต           ั   ิ
                       ๑) กระบวนการทํางานกลุ่ม
                       ๒) กระบวนการสื บค้น
๖.คุณลกษณะอนพงประสงค์
         ั               ั ึ
        ๑. ใฝ่ เรี ยนรู้
        ๒. มุ่งมนในการทํางาน
                          ่ั
        ๓. รักความเป็ นไทย
๗.กระบวนการจัดการเรียนร้ ู
        (วธีสอนโดยเนนกระบวนการ : กระบวนการสืบคน, กระบวนการกลุ่ม)
               ิ                         ้                   ้
        ๑.ขั้นตั้งจุดมุ่งหมายของการจัดการเรี ยนรู ้
        ๒.ขั้นการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้
        ๓.ข้ นประเมินผล
                 ั
๘.กจกรรมการจัดการเรียนร้ ู
      ิ
(ชั่ วโมงที่ ๑-๒)
        ข้นที่ ๑ ข้ ันต้ ังจุดมุงหมายของการจัดการเรียนรียนรู้
           ั
        ๑. ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันยกตัวอย่างภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่เป็ นเป็ นเอกลักษณ์ของไทย โดยครู
                                 ั
                   เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ เช่น
                                           ั
                   - ภูมิปัญญาในดานการใชสมุนไพร เช่น ดานบาบัดและรักษาโรค ด้านการปรุ งอาหาร
                                             ้       ้         ้ ํ
                         ด้านความสวยความงาม
        วัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ของไทย เช่น การไหว้ การให้ความเคารพผูอาวุโส การเคร่ งครัดใน
                                                                                     ้
        ขนบประเพณี และวัฒนธรรมไทย
        ข้นที่ ๒ การจัดประสบการณ์การเรียนร้ ู
             ั
        ๒. ครู นาภาพตัวอย่างที่แสดงให้เห็ นภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยา มาให้นกเรี ยนดู
                             ํ                                                                    ั
                   แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันบอกว่า เป็ นภาพอะไร และมีความสําคัญอย่างไร
                                       ั
        ๓. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื่ อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา จากหนังสื อเรี ยน
                                   ั
        ๔. ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-6 คน ตามความสมัครใจ ให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู้เรื่ อง
                               ั
                                                                     ํ
                   ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ในประเด็นที่กาหนด ดงน้ ี    ั
                   - การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา
                   - การสร้างสรรควฒนธรรมไทยสมยอยธยา
                                               ์ั        ั ุ
                   โดยให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและอภิปรายความรู ้ หากมีขอสงสัยให้สอบถามครู ผสอน
                                     ั                                             ้                 ู้
                   จนมีความเข้าใจกระจ่างชด แลวเตรียมนาเสนอผลการศึกษาในชวโมงเรียนต่อไป
                                                  ั ้      ํ                  ั่
(ชั่ วโมงที่ ๓)
        ๕. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลการศึกษาที่หน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยอธิ บายเพิ่มเติม เพื่อให้
             นักเรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจมากยิงขึ้น
                                                 ่
        ๖. ครู มอบหมายให้นักเรี ยนแต่ล ะกลุ่ม ร่ วมกันสรุ ปความรู้ ท้ ง หมดที่ ได้ศึกษา แล้วให้แต่ละกลุ่ ม
                                                                         ั
             ร่ วมกันวางแผนการจัดนิทรรศการในหัวข้อ ย้อนรอยกรุ งศรี อยุธยา โดยให้ครอบคลุมประเด็น
                 ํ
             ที่กาหนด ดงน้ ี ั
             ๑) พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา
             ๒) ปั จจัยที่ส่งผลต่อความมันคงและความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักรอยุธยา
                                           ่
             ๓) ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
             ๔) ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาที่ส่งผลต่อการพัฒนาชาติไทย
        ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการทํางานที่ได้รับมอบหมาย และเปิ ดโอกาสให้
             นักเรี ย นสอบถามข้อสงสัย ทั้ง นี้ ค รู ควรให้ค าแนะนํา หรื อเป็ นที่ ปรึ กษาแก่นัก เรี ยนตามความ
                                                             ํ
             เหมาะสม
ข้นประเมินผลการเรียนร้ ู
  ั
        ๘. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา และทํา
             แบบทดสอบ
     ๙.สื่อ/แหล่งการเรียนร้ ู
        ๙.๑ สื่ อการเรียนรู้
             ๑) หนังสื อเรี ยน ประวัติศาสตร์ ม.2
             ๒) ตัวอย่างสื่ อประกอบการสอน
        ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้
             ๑) หองสมุด
                     ้
             ๒) แหล่งขอมูลสารสนเทศ
                               ้
                       http://www.dopa.go.th/history/ayud.htm
                       http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=3721.0
                       http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k3/0016/.../_3.html
๑๐.การวัดประเมินผล
        ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ          วธีวด/ประเมินผล
                                         ิ ั                                     เครื่องมือ
๑.คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม         สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม          แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน
                   ่
รับผิดชอบ ความสามัคคี
ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐
ด้านคุณภาพร้อยละ ๘๐
๒)ด้านความรู ้                   ตรวจใบงาน                             แบบประเมินใบงาน
๒.๑)อธิ บายลักษณะภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
๒.๒)วิเคราะห์อิทธิ พลของภูมิ
ปัญญาสมยอยธยาต่อการพฒนา
           ั ุ                 ั
ชาติไทยในยุคต่อมา
๒.๓)ตระหนกและเห็นคุณค่าของ
               ั
ภูมิปัญญาไทย
ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐
ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕
๓)ด้านทักษะ                      สังเกตการนําเสนอ                      แบบประเมินผลการนําเสนอ
๓.๑)การนําเสนอหน้าชั้นเรี ยน                                           ผลงานหนาช้ นเรียน
                                                                              ้ ั
ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐
ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕



                                                      ลงชื่อ.......................................................
                                                       (............................................................)
                                                               ครู โรงเรียนวดพวงนิมิตั
๑๑.ข้อเสนอแนะของผ้ ูบริหาร
      ..............................................................................................................................................
      ..............................................................................................................................................
      ..............................................................................................................................................
      ..............................................................................................................................................

                                                                                          ลงชื่อ..................................................
                                                                                                  (นายสมยศ เพ็ชรวงษา)
                                                                                            ผอานวยการโรงเรียนวดพวงนิมิต
                                                                                             ู้ ํ                             ั

   ๑๒.บันทึกผลการเรียนรู้
      ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ                         ผลกการประเมินผ่านเกณฑ์                                       จํานวนนักเรียน
                                                          คิดเป็ นร้ อยละ                                              (คน)
๑.คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
                                                                                                      ตวบ่งช้ ี
                                                                                                         ั       ่
                                                                                                                ผาน                          ่
                                                                                                                                         ไม่ผาน
๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน
                ่                               ด้านปริ มาณ......................%                    รับผิดชอบ
รับผิดชอบ ความสามัคคี                                                                                 มุ่งมน ั่
ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐                          ด้านคุณภาพ.......................%                    สามคคี
                                                                                                           ั
ด้สนคุณภาพร้อยละ ๘๐                                                                                       ่
                                                                                                      ตรงตอเวลา


๒)ด้านความรู ้
๒.๑)อธิ บายลักษณะภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
๒.๒)วิเคราะห์อิทธิ พลของภูมิ ด้านปริ มาณ......................%
ปัญญาสมยอยธยาต่อการพฒนา
         ั ุ             ั                                                                                    ผ่าน                   ไม่ผาน
                                                                                                                                         ่
ชาติไทยในยุคต่อมา            ด้านคุณภาพ.......................%
๒.๓)ตระหนกและเห็นคุณค่าของ
            ั
ภูมิปัญญาไทย
ดานปริ มาณร้อยละ ๑๐๐
  ้
ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕ดาน ้
๓)ด้านทักษะ
๓.๑)การนําเสนอหน้าชั้นเรี ยน                          ด้านปริ มาณ......................%                                   ผ่าน                    ไม่ผาน
                                                                                                                                                       ่
ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐                                 ด้านคุณภาพ.......................%
ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕

  บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ เพิมเติม             ่
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  นักเรียนทีมีความสามารถพิเศษ
                  ่
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  ผลทเี่ กดกบผ้ ูเรียน
             ิ ั
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  ปัญหาหรือสิ่ งทีต้องการพัฒนา
                           ่
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  ข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงในการสอนคร้ ังต่อไป
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................
  .....................................................................................................................................................................

                                                                                           ลงชื่อ...........................................ครู ผสอน
                                                                                                                                                 ู้
                                                                                                  (นางสาวศุภรัตน์ สโมสร)
                                                                                                               ครู ผช่วย
                                                                                                                      ู้
แบบประเมินการนําเสนอผลงาน
                         แบบประเมินการนําเสนอผลงาน


ลาดบ
 ํ ั                                                                                คุณภาพการปฏิบติ
                                                                                                 ั
                           รายการประเมิน
  ที่
                                                                           4             3              2             1

  1     นาเสนอเน้ื อหาในผลงานไดถูกตอง
         ํ                     ้ ้
  2     การนําเสนอมีความน่าสนใจ
  3     ความเหมาะสมกับเวลา
  4     ความกล้าแสดงออก
  5     บุคลิกภาพ นํ้าเสี ยงเหมาะสม
                            รวม

                                                    ลงชื่ อ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                ้
                                                           ............../.................../...............

      เกณฑ์การให้คะแนน
         ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน
                                   ั                     ให้    ๔ คะแนน
         ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องบางส่วน
                                 ้                       ให้    ๓ คะแนน
         ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องเป็นส่วนใหญ่
                               ้                          ให้   ๒ คะแนน
         ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องมาก
                             ้                            ให้   ๑ คะแนน
เกณฑ์การตดสินคุณภาพ
         ั
           ช่ วงคะแนน     ระดับคุณภาพ
               ๑๘ – ๒๐        ดีมาก
               ๑๔ -๑๗           ดี
                ๑๐ -๑๓       พอใช้
                ํ ่
              ต่ากวา ๑๐     ปรับปรุ ง
แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม
                                                                                                                                                          รวม
                                                                  การแสดงความ           การรับฟังความ                                 การร่ วมปรับปรุง
                     ชื่อ – สกล
                              ุ            ความร่ วมมือ                                                         การตั้งใจทํางาน                           ๒๐
ลาดบที่
 ํ ั                                                                 คิดเห็น               คิดเห็น                                      ผลงานกล่ ุม
                 ของผู้รับการประเมิน                                                                                                                     คะแนน
                                       ๔    ๓    ๒        ๑   ๔     ๓   ๒       ๑   ๔      ๓    ๒       ๑   ๔      ๓     ๒        ๑   ๔   ๓    ๒     ๑

 ๑.       เด็กชายอาทิตย์ ภูมิภูเขียว
 ๒.       เด็ชายบัณดิษฐ์ ทพธานี
                          ั
 ๓.       เด็กชายอโนทัย สุ พนธ์
                            ั
 ๔.                         ้ ํ
          เด็กหญิงจารุ กร แกวคา
 ๕.       เด็กหญิงรัชนก พะยหะ
                           ุ
 ๖.       เดกหญิงศิริภสสร ขอประสงค์
            ็         ั
 ๗.       เด็กชายประธาน โสมาสี
 ๘.       เด็กชายภานุพงษ์ รักเช้ือ
 ๙.       เด็กหญิงวาสนา สวสดี
                          ั
๑๐.       เดกหญิงสุพรรษา หนูเข็ม
            ็
๑๑.       เด็กชายศรายุธ หสดง
                         ั
๑๒. เด็กหญิงปาริ ชาติ ตะเคียน
๑๓.       เด็กชายศักริ นทร์ ดียง
                               ิ่
๑๔.       เดกชายเกียรติพงษ์ หสสาลีมล
            ็                ั     ู
๑๕.       เด็กหญิงรัตนาพร สายสังข์
๑๖.       เด็กหญิงสายธาร ช่างต่อ
๑๗.       เด็กหญิงชนาพร ยมนัตถ์
๑๘.       เด็กชายศรัญ�ู วงษไกล
                           ์
๑๙.       เด็กหญิงพิมพ์วภา อนุนิวฒน์
                        ิ        ั
๒๐. เด็กหญิงอรพรรณ ขนโท
                    ั
๒๑. เด็กชายจักรพันธ์ คาพิพจน์
                      ํ
๒๒. เด็กชายปริ ญญา สบายใจ
๒๓. เด็กชายชุติพงษ์ เมฆเปรียญ
๒๔. เด็กหญิงวิลยพร ไพเราะ
               ั
๒๕. เด็กหญิงกุลจิรา ยอดมณี
๒๖. เด็กชายอรรถชัย เพ็งบํารุ ง

             เกณฑ์การให้คะแนน                                           ลงชื่อ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                    ้
                                             เกณฑ์การตดสินคุณภาพ
                                                         ั
             ดีมาก           =         ๔
                                               ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ           ............../.................../................
             ดี              =         ๓
                                                  ๑๗ – ๒๐      ดีมาก
             พอใช้           =         ๒
                                                   ๑๓ – ๑๖       ดี
             ปรับปรุง        =         ๑
                                                   ๙ – ๑๒      พอใช้
                                                    ๕–๘       ปรับปรุ ง
แบบสังเกตพฤติกรรม ระหว่างเรียน
                            เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
         คําชี้แจง ให้ลงคะแนนในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นกเรี ยนปฏิบติ
                                                             ั        ั
                                                                                                                      รายการ                                                                          สรุ ปผล

                                                                             คุณธรรม                                                  ความรู้                    ทักษะ




                                                                                                                                                                                            รวมระดบคะแนน
เลขที่            ชื่ อ – สกุล




                                                                                                                                                                                                                ผ่าน/ไม่ผ่าน
                                                                                                                                    อธิบายภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
                                         รับผดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย




                                                                                             มีความสามัคคีในหมู่คณะ




                                                                                                                                                                 การนําเสนอหน้ าชั้นเรียน




                                                                                                                                                                                                  ั
                                                                       ม่ งมั่นในการทํางาน




                                                                                                                                           ไทยสมัยอยุธยา
                                                                                                                      ตรงต่ อเวลา
                                                                          ุ
                                             ิ




 1       ด.ช.ราเชษฐ์ เดชชัยภูมิ
 2       ด.ญ.นีระบล รักสงคราม
 3       ด.ญ.พิมพ์วิภา สี จนทร์   ั
 4       ด.ช.ทวีศกดิ์ คณาญาติ
                   ั
 5       ด.ช.อินทโชติ ขอประสงค์
 6       ด.ช.จตุพล สังระมาตร์
 7       ด.ช.ณัฐพงศ์ สุ จริ ตจันทร์
 8       ด.ช.ปิ ยะ ชาญประเสริฐ
 9       ด.ช.สุวิท รอดสันเทียะ
 10      ด.ช.ธงไชย พันสาย
 11      ด.ญ.วรรณพร แม่นปืน
 12      ด.ญ.สกาวรัตน์ คาสวรรค์
                              ํ
 13      ด.ญ.เพ็ชรธิ ดา ผาเผย
 14      ด.ญ.พรรทิพย ์ แผวฉิมพลี่
 15      ด.ช.จิตรเทพ บุญยืด
 16      ด.ช.นที เขียวงาม
 17      ด.ช.กิตติศกดิ์ บุญชัยมิ่ง
                       ั
 18             ั
         ด.ญ.กญญารัตน์ เฉลิมแสน
 19      ด.ช.อภินนท์ ศิลป์ ชัย
                     ั
 20      ด.ญ.นิ ชาดา ประทุม
 21      ด.ช.ชัยณรงค์ ดีสาโรง
                            ํ
 22      ด.ช.พุฒิพงษ์ ห่อทรัพย ์
 23      ด.ช.สิ ทธิ นนท์ เกษมสถิตยวงศ์
                                    ์
 24      ด.ช.ทัศนัย สุ ขเกษม
 25      ด.ช.กิตติศกดิ์ มูลประโมค
                         ั
 26      ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญมา
27   ด.ช.ธีรพล มิศิริ
28   ด.ช.พรพิพฒน์ เทพสี
                ั
29   ด.ช.ภูมิทตย์ เชื่ อมรัมย์
              ั
30   ด.ช.วรวุฒิ บํารุ งจิต
31   ด.ช.สุทิน ภู่อาษา
32   ด.ช.สุมงคล แม่งมี
33   ด.ช.อธิ พงษ์ วงศ์ขจร
34   ด.ช.ชัชชัย เทพจนทรดา
                        ั
35   ด.ช.บุญฤทธิ์ นริ นทร์ ทอง
36   ด.ช.นันธวัฒน์ บัวแก้ว
37   ด.ช.บุญญลกษณ์ โสภา
                  ั

           รวมปริมาณ

          รวมคุณภาพ




                                        ลงชื่อ.......................................................ผูสอน/ผูสังเกต
                                                                                                       ้     ้

     เกณฑ์การประเมินผล
            ร้อยละ ๘๐ ข้ ึนไป    ระดับ ดี
            ร้อยละ ๕๐ - ๗๙       ระดับ พอใช้
            ร้อยละ ๕๐            ระดับ ควรปรับปรุ ง
แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน
คําชี้แจง ใหกา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็ นคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
            ้                                                          ้

    1. ข้อใด ไม่ ถือเป็ นปั จจัยทางภูมิศาสตร์ ที่สาคัญ ซึ่ งมีผลต่อพัฒนาการสมัยอยุธยา
                                                   ํ
                         ่
       ก. ตั้งอยูในชัยภูมิที่ดี
       ข. มีทาเลที่ต้ งเหมาะแก่การเพาะปลูก
                   ํ             ั
       ค. เป็ นเมืองที่สาคัญทางการค้ากับต่างประเทศ
                                     ํ
       ง. พระมหากษัตริ ยทรงส่ งเสริ มให้ราษฎรประกอบอาชีพได้อย่างเสรี
                                           ์
    2. อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวกันระหว่างแคว้นสําคัญ 2 แคว้น คือข้อใด
       ก. แคว้นละโว้ กับ แคว้นสุ พรรณภูมิ
       ข. แควนละโว ้ กบ แควนไทรบุรี
                       ้                 ั   ้
       ค. แคว้นสุ พรรณภูมิ กับ แคว้นไทรบุรี
       ง. แคว้นสุ พรรณภูมิ กับ แคว้นสุ โขทัย
    3. หวเมืองระดบใดในการปกครองส่ วนภูมิภาคที่เจ้าเมืองมีอานาจปกครองตนเอง แต่จะต้องส่ ง
         ั                 ั                                        ํ
       เครื่ องราชบรรณาการมาถวายพระมหากษัตริ ยตามเวลาที่กาหนด
                                                       ์              ํ
       ก. เมืองลูกหลวง
       ข. หวเมืองช้ นใน
               ั             ั
       ค. หวเมืองช้ นนอก
                 ั             ั
       ง. หัวเมืองประเทศราช
    4. สาเหตุสาคัญที่ทาให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างฝ่ ายทหารกับฝ่ าย
                     ํ             ํ
       พลเรือนออกจากกน คือขอใด         ั       ้
       ก. เพื่อให้หน้าที่ของทั้งสองฝ่ ายชัดเจนขึ้น
       ข. เพื่อป้ องกันเหตุกระทบกระทังกันระหว่างสองฝ่ าย
                                                 ่
       ค. เพื่อป้ องกันไม่ให้ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอานาจมากจนเกินไป
                                                     ํ
       ง. เพื่อให้ราษฎรจดจําหน้าที่ของทั้งสองฝ่ ายได้ง่ายและถูกต้อง
    5. กรุ งศรี อยุธยาใช้การค้ารู ปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน
       ก. การค้าแบบบรรณาการ
       ข. การค้าแบบต่างตอบแทน
       ค. การค้าแบบใช้ทองคําเป็ นสื่ อกลาง
       ง. การค้าแบบแลกเปลี่ยนสิ นค้าระหว่างกัน
6. หน่วยงานสําคัญที่ทาหน้าที่ในการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ คือหน่วยงานใด
                             ํ
    ก. กรมพาณิ ชย์                                ข. พระคลังสิ นค้า
    ค. กองสําเภาหลวง                              ง. พระคลังมหาสมบัติ
7. ข้อใดคือชนชั้นพิเศษที่ได้รับความเคารพจากทุกชนชั้นในสมัยอยุธยา
    ก. พระสงฆ์                                    ข. ขนนาง
                                                        ุ
    ค. พระมหากษัตริ ย ์                           ง. พระบรมวงศานุวงศ์
                                          ํ
8. “โกษาธิ บดี” ถือเป็นสิ่งใดที่กาหนดไวในพระราชกาหนดศกดินา
                                                ้             ํ ั
    ก. ยศ                                         ข. ตาแหน่งํ
    ค. บรรดาศกด์ ิ ั                              ง. ราชทินนาม
9. ขอใดกล่าวไดถูกตองเกี่ยวกบวฒนธรรมในสมยอยธยา
      ้              ้ ้               ั ั           ั ุ
    ก. อาชีพหลักในสมัยอยุธยาคือเกษตรกรรม ประเพณี ส่วนใหญ่จึงเกี่ยวข้องกับการเกษตร
    ข. วฒนธรรมส่วนใหญ่ในสมยอยธยามกเกี่ยวของกบชนช้ นสูงเป็นหลก
          ั                                 ั ุ ั      ้ ั        ั       ั
    ค. วัฒนธรรมจากต่างชาติไม่ได้รับการยอมรับจากคนในกรุ งศรี อยุธยา
    ง. ชาวอยุธยานิยมความสนุกสนานจึงมักสร้างสรรค์ประเพณี ที่รื่นเริ ง
10. ยุคใดที่ถือเป็ นยุครุ่ งเรื องที่สุดของวรรณกรรมสมัยอยุธยา
    ก. รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
    ข. รัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
    ค. รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
    ง. รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ   ่ ั
11. ข้อใดเป็ นความสัมพันธ์ที่เห็นได้ชดเจนที่สุดระหว่างกรุ งศรี อยุธยากับเขมร
                                              ั
    ก. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ                    ข. ความสัมพันธ์ทางการเมือง
    ค. ความสัมพันธ์ทางวฒนธรรม     ั               ง. ความสัมพันธ์ทางการปกครอง
12. กรุ งศรี อยุธยาทําสงครามครั้งแรกกับพม่าในกรณี ที่สืบเนื่องมาจากเมืองใด
    ก. ญวน                                        ข. มอญ
    ค. มลายู                                      ง. ล้านช้าง
13. การสร้างพระธาตุศรี สองรัก ถือเป็ นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความสัมพันธ์อนดีระหว่างกรุ งศรี อยุธยา
                                                                            ั
    กับอาณาจักรใด
    ก. พม่า                                       ข. ญวน
    ค. ล้านช้าง                                   ง. ลานนา้
ั
   14. ความสัมพันธ์กบต่างประเทศโดยเฉพาะชาติตะวันตกมีความเจริ ญสู งสุ ดในสมัยใด
       ก. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
       ข. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
       ค. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
                            ่ ั
       ง. สมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ
   15. ศิลปกรรมของไทยสมัยอยุธยาที่ตกทอดมาจนถึงปั จจุบนได้แก่อะไร
                                                     ั
       ก. การทอผ้าไหม
       ข. ภาพวาดสี น้ ามัน
                         ํ
       ค. เครื่ องถ้วยชามสังคโลก
       ง. เครื่ องถ้วยชามเบญจรงค์



เฉลย
          1. ง            2. ก              3. ง          4. ค                5. ก
          6. ข            7. ก              8. ง          9. ก               10. ง
         11. ค           12. ข             13. ค         14. ข               15. ง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
Decha Sirigulwiriya
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
SophinyaDara
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
worapanthewaha
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
ssuser6a0d4f
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
parinya poungchan
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
Nattayaporn Dokbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓ กล่มสาระการเรียนรู้ สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ุ ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที๒ ่ หน่วยการเรียนร้ ู ที่ ๒ พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา เวลา ๓ ชั่ วโมง เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ชื่ อผู้สอน นางศุภรัตน์ ปุงข้ อ ้ .......................................................................................................................................................................... ๑.สาระสํ าคัญ การศึกษาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ทําให้ทราบถึงความเป็ นมาและอิทธิ พล ของภูมิปัญญาสมัยอยุธยาที่มีผลต่อการพัฒนาชาติไทยในอดีตจนถึงปั จจุบน เราจึงควรภูมิใจในความเป็ น ั ไทย ที่บรรพบุรุษไดสั่งสมจนเป็นมรดกตกทอดถึงปัจจุบน ้ ั ๒.มาตรฐานการเรียนร้ ู ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารง ความเป็ นไทย ๓.ตัวชี้วด/ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ั ี่ ๓.๑ ตัวชี้วด ั ส ๔.๓ ม.๒/๓ ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิ พลของ ภูมิปัญญาดังกล่าว ต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา ๓.๒ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ี่ -อธิ บายลักษณะภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาได้ -วิเคราะห์อิทธิ พลของภูมิปัญญาสมัยอยุธยาต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมาได้ -ตระหนกและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทย ั ๔.สาระการเรียนร้ ู ๔.๑สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ๑) ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกําลังคนและศิลปวัฒนธรรม ๔.๒ สาระการเรียนร้ ูท้องถิ่น - ๕.สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่ อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๑) ทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการรวบรวมข้อมูล ๒) ทักษะการสังเคราะห์
  • 2. ๓) ทักษะการสร้างความรู ้ ๕.๓ ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ๑) กระบวนการทํางานกลุ่ม ๒) กระบวนการสื บค้น ๖.คุณลกษณะอนพงประสงค์ ั ั ึ ๑. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๒. มุ่งมนในการทํางาน ่ั ๓. รักความเป็ นไทย ๗.กระบวนการจัดการเรียนร้ ู (วธีสอนโดยเนนกระบวนการ : กระบวนการสืบคน, กระบวนการกลุ่ม) ิ ้ ้ ๑.ขั้นตั้งจุดมุ่งหมายของการจัดการเรี ยนรู ้ ๒.ขั้นการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ๓.ข้ นประเมินผล ั ๘.กจกรรมการจัดการเรียนร้ ู ิ (ชั่ วโมงที่ ๑-๒) ข้นที่ ๑ ข้ ันต้ ังจุดมุงหมายของการจัดการเรียนรียนรู้ ั ๑. ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันยกตัวอย่างภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่เป็ นเป็ นเอกลักษณ์ของไทย โดยครู ั เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ เช่น ั - ภูมิปัญญาในดานการใชสมุนไพร เช่น ดานบาบัดและรักษาโรค ด้านการปรุ งอาหาร ้ ้ ้ ํ ด้านความสวยความงาม วัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ของไทย เช่น การไหว้ การให้ความเคารพผูอาวุโส การเคร่ งครัดใน ้ ขนบประเพณี และวัฒนธรรมไทย ข้นที่ ๒ การจัดประสบการณ์การเรียนร้ ู ั ๒. ครู นาภาพตัวอย่างที่แสดงให้เห็ นภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยา มาให้นกเรี ยนดู ํ ั แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันบอกว่า เป็ นภาพอะไร และมีความสําคัญอย่างไร ั ๓. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื่ อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา จากหนังสื อเรี ยน ั ๔. ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-6 คน ตามความสมัครใจ ให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู้เรื่ อง ั ํ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ในประเด็นที่กาหนด ดงน้ ี ั - การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา - การสร้างสรรควฒนธรรมไทยสมยอยธยา ์ั ั ุ โดยให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและอภิปรายความรู ้ หากมีขอสงสัยให้สอบถามครู ผสอน ั ้ ู้ จนมีความเข้าใจกระจ่างชด แลวเตรียมนาเสนอผลการศึกษาในชวโมงเรียนต่อไป ั ้ ํ ั่
  • 3. (ชั่ วโมงที่ ๓) ๕. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลการศึกษาที่หน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยอธิ บายเพิ่มเติม เพื่อให้ นักเรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจมากยิงขึ้น ่ ๖. ครู มอบหมายให้นักเรี ยนแต่ล ะกลุ่ม ร่ วมกันสรุ ปความรู้ ท้ ง หมดที่ ได้ศึกษา แล้วให้แต่ละกลุ่ ม ั ร่ วมกันวางแผนการจัดนิทรรศการในหัวข้อ ย้อนรอยกรุ งศรี อยุธยา โดยให้ครอบคลุมประเด็น ํ ที่กาหนด ดงน้ ี ั ๑) พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ๒) ปั จจัยที่ส่งผลต่อความมันคงและความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักรอยุธยา ่ ๓) ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ๔) ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาที่ส่งผลต่อการพัฒนาชาติไทย ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการทํางานที่ได้รับมอบหมาย และเปิ ดโอกาสให้ นักเรี ย นสอบถามข้อสงสัย ทั้ง นี้ ค รู ควรให้ค าแนะนํา หรื อเป็ นที่ ปรึ กษาแก่นัก เรี ยนตามความ ํ เหมาะสม ข้นประเมินผลการเรียนร้ ู ั ๘. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา และทํา แบบทดสอบ ๙.สื่อ/แหล่งการเรียนร้ ู ๙.๑ สื่ อการเรียนรู้ ๑) หนังสื อเรี ยน ประวัติศาสตร์ ม.2 ๒) ตัวอย่างสื่ อประกอบการสอน ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๑) หองสมุด ้ ๒) แหล่งขอมูลสารสนเทศ ้ http://www.dopa.go.th/history/ayud.htm http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=3721.0 http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k3/0016/.../_3.html
  • 4. ๑๐.การวัดประเมินผล ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ วธีวด/ประเมินผล ิ ั เครื่องมือ ๑.คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม ๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน ่ รับผิดชอบ ความสามัคคี ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพร้อยละ ๘๐ ๒)ด้านความรู ้ ตรวจใบงาน แบบประเมินใบงาน ๒.๑)อธิ บายลักษณะภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ๒.๒)วิเคราะห์อิทธิ พลของภูมิ ปัญญาสมยอยธยาต่อการพฒนา ั ุ ั ชาติไทยในยุคต่อมา ๒.๓)ตระหนกและเห็นคุณค่าของ ั ภูมิปัญญาไทย ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕ ๓)ด้านทักษะ สังเกตการนําเสนอ แบบประเมินผลการนําเสนอ ๓.๑)การนําเสนอหน้าชั้นเรี ยน ผลงานหนาช้ นเรียน ้ ั ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕ ลงชื่อ....................................................... (............................................................) ครู โรงเรียนวดพวงนิมิตั
  • 5. ๑๑.ข้อเสนอแนะของผ้ ูบริหาร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................. (นายสมยศ เพ็ชรวงษา) ผอานวยการโรงเรียนวดพวงนิมิต ู้ ํ ั ๑๒.บันทึกผลการเรียนรู้ ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ ผลกการประเมินผ่านเกณฑ์ จํานวนนักเรียน คิดเป็ นร้ อยละ (คน) ๑.คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม ตวบ่งช้ ี ั ่ ผาน ่ ไม่ผาน ๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน ่ ด้านปริ มาณ......................% รับผิดชอบ รับผิดชอบ ความสามัคคี มุ่งมน ั่ ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพ.......................% สามคคี ั ด้สนคุณภาพร้อยละ ๘๐ ่ ตรงตอเวลา ๒)ด้านความรู ้ ๒.๑)อธิ บายลักษณะภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ๒.๒)วิเคราะห์อิทธิ พลของภูมิ ด้านปริ มาณ......................% ปัญญาสมยอยธยาต่อการพฒนา ั ุ ั ผ่าน ไม่ผาน ่ ชาติไทยในยุคต่อมา ด้านคุณภาพ.......................% ๒.๓)ตระหนกและเห็นคุณค่าของ ั ภูมิปัญญาไทย ดานปริ มาณร้อยละ ๑๐๐ ้ ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕ดาน ้
  • 6. ๓)ด้านทักษะ ๓.๑)การนําเสนอหน้าชั้นเรี ยน ด้านปริ มาณ......................% ผ่าน ไม่ผาน ่ ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพ.......................% ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕ บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ เพิมเติม ่ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... นักเรียนทีมีความสามารถพิเศษ ่ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ผลทเี่ กดกบผ้ ูเรียน ิ ั ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ปัญหาหรือสิ่ งทีต้องการพัฒนา ่ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงในการสอนคร้ ังต่อไป ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ลงชื่อ...........................................ครู ผสอน ู้ (นางสาวศุภรัตน์ สโมสร) ครู ผช่วย ู้
  • 7. แบบประเมินการนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ลาดบ ํ ั คุณภาพการปฏิบติ ั รายการประเมิน ที่ 4 3 2 1 1 นาเสนอเน้ื อหาในผลงานไดถูกตอง ํ ้ ้ 2 การนําเสนอมีความน่าสนใจ 3 ความเหมาะสมกับเวลา 4 ความกล้าแสดงออก 5 บุคลิกภาพ นํ้าเสี ยงเหมาะสม รวม ลงชื่ อ...................................................ผูประเมิน ้ ............../.................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน ั ให้ ๔ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องบางส่วน ้ ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ้ ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องมาก ้ ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การตดสินคุณภาพ ั ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๘ – ๒๐ ดีมาก ๑๔ -๑๗ ดี ๑๐ -๑๓ พอใช้ ํ ่ ต่ากวา ๑๐ ปรับปรุ ง
  • 8. แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม รวม การแสดงความ การรับฟังความ การร่ วมปรับปรุง ชื่อ – สกล ุ ความร่ วมมือ การตั้งใจทํางาน ๒๐ ลาดบที่ ํ ั คิดเห็น คิดเห็น ผลงานกล่ ุม ของผู้รับการประเมิน คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. เด็กชายอาทิตย์ ภูมิภูเขียว ๒. เด็ชายบัณดิษฐ์ ทพธานี ั ๓. เด็กชายอโนทัย สุ พนธ์ ั ๔. ้ ํ เด็กหญิงจารุ กร แกวคา ๕. เด็กหญิงรัชนก พะยหะ ุ ๖. เดกหญิงศิริภสสร ขอประสงค์ ็ ั ๗. เด็กชายประธาน โสมาสี ๘. เด็กชายภานุพงษ์ รักเช้ือ ๙. เด็กหญิงวาสนา สวสดี ั ๑๐. เดกหญิงสุพรรษา หนูเข็ม ็ ๑๑. เด็กชายศรายุธ หสดง ั ๑๒. เด็กหญิงปาริ ชาติ ตะเคียน ๑๓. เด็กชายศักริ นทร์ ดียง ิ่ ๑๔. เดกชายเกียรติพงษ์ หสสาลีมล ็ ั ู ๑๕. เด็กหญิงรัตนาพร สายสังข์ ๑๖. เด็กหญิงสายธาร ช่างต่อ ๑๗. เด็กหญิงชนาพร ยมนัตถ์ ๑๘. เด็กชายศรัญ�ู วงษไกล ์ ๑๙. เด็กหญิงพิมพ์วภา อนุนิวฒน์ ิ ั ๒๐. เด็กหญิงอรพรรณ ขนโท ั ๒๑. เด็กชายจักรพันธ์ คาพิพจน์ ํ ๒๒. เด็กชายปริ ญญา สบายใจ ๒๓. เด็กชายชุติพงษ์ เมฆเปรียญ ๒๔. เด็กหญิงวิลยพร ไพเราะ ั ๒๕. เด็กหญิงกุลจิรา ยอดมณี ๒๖. เด็กชายอรรถชัย เพ็งบํารุ ง เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผูประเมิน ้ เกณฑ์การตดสินคุณภาพ ั ดีมาก = ๔ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ............../.................../................ ดี = ๓ ๑๗ – ๒๐ ดีมาก พอใช้ = ๒ ๑๓ – ๑๖ ดี ปรับปรุง = ๑ ๙ – ๑๒ พอใช้ ๕–๘ ปรับปรุ ง
  • 9. แบบสังเกตพฤติกรรม ระหว่างเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา คําชี้แจง ให้ลงคะแนนในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นกเรี ยนปฏิบติ ั ั รายการ สรุ ปผล คุณธรรม ความรู้ ทักษะ รวมระดบคะแนน เลขที่ ชื่ อ – สกุล ผ่าน/ไม่ผ่าน อธิบายภูมิปัญญาและวัฒนธรรม รับผดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย มีความสามัคคีในหมู่คณะ การนําเสนอหน้ าชั้นเรียน ั ม่ งมั่นในการทํางาน ไทยสมัยอยุธยา ตรงต่ อเวลา ุ ิ 1 ด.ช.ราเชษฐ์ เดชชัยภูมิ 2 ด.ญ.นีระบล รักสงคราม 3 ด.ญ.พิมพ์วิภา สี จนทร์ ั 4 ด.ช.ทวีศกดิ์ คณาญาติ ั 5 ด.ช.อินทโชติ ขอประสงค์ 6 ด.ช.จตุพล สังระมาตร์ 7 ด.ช.ณัฐพงศ์ สุ จริ ตจันทร์ 8 ด.ช.ปิ ยะ ชาญประเสริฐ 9 ด.ช.สุวิท รอดสันเทียะ 10 ด.ช.ธงไชย พันสาย 11 ด.ญ.วรรณพร แม่นปืน 12 ด.ญ.สกาวรัตน์ คาสวรรค์ ํ 13 ด.ญ.เพ็ชรธิ ดา ผาเผย 14 ด.ญ.พรรทิพย ์ แผวฉิมพลี่ 15 ด.ช.จิตรเทพ บุญยืด 16 ด.ช.นที เขียวงาม 17 ด.ช.กิตติศกดิ์ บุญชัยมิ่ง ั 18 ั ด.ญ.กญญารัตน์ เฉลิมแสน 19 ด.ช.อภินนท์ ศิลป์ ชัย ั 20 ด.ญ.นิ ชาดา ประทุม 21 ด.ช.ชัยณรงค์ ดีสาโรง ํ 22 ด.ช.พุฒิพงษ์ ห่อทรัพย ์ 23 ด.ช.สิ ทธิ นนท์ เกษมสถิตยวงศ์ ์ 24 ด.ช.ทัศนัย สุ ขเกษม 25 ด.ช.กิตติศกดิ์ มูลประโมค ั 26 ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญมา
  • 10. 27 ด.ช.ธีรพล มิศิริ 28 ด.ช.พรพิพฒน์ เทพสี ั 29 ด.ช.ภูมิทตย์ เชื่ อมรัมย์ ั 30 ด.ช.วรวุฒิ บํารุ งจิต 31 ด.ช.สุทิน ภู่อาษา 32 ด.ช.สุมงคล แม่งมี 33 ด.ช.อธิ พงษ์ วงศ์ขจร 34 ด.ช.ชัชชัย เทพจนทรดา ั 35 ด.ช.บุญฤทธิ์ นริ นทร์ ทอง 36 ด.ช.นันธวัฒน์ บัวแก้ว 37 ด.ช.บุญญลกษณ์ โสภา ั รวมปริมาณ รวมคุณภาพ ลงชื่อ.......................................................ผูสอน/ผูสังเกต ้ ้ เกณฑ์การประเมินผล ร้อยละ ๘๐ ข้ ึนไป ระดับ ดี ร้อยละ ๕๐ - ๗๙ ระดับ พอใช้ ร้อยละ ๕๐ ระดับ ควรปรับปรุ ง
  • 11. แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน คําชี้แจง ใหกา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็ นคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ้ ้ 1. ข้อใด ไม่ ถือเป็ นปั จจัยทางภูมิศาสตร์ ที่สาคัญ ซึ่ งมีผลต่อพัฒนาการสมัยอยุธยา ํ ่ ก. ตั้งอยูในชัยภูมิที่ดี ข. มีทาเลที่ต้ งเหมาะแก่การเพาะปลูก ํ ั ค. เป็ นเมืองที่สาคัญทางการค้ากับต่างประเทศ ํ ง. พระมหากษัตริ ยทรงส่ งเสริ มให้ราษฎรประกอบอาชีพได้อย่างเสรี ์ 2. อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวกันระหว่างแคว้นสําคัญ 2 แคว้น คือข้อใด ก. แคว้นละโว้ กับ แคว้นสุ พรรณภูมิ ข. แควนละโว ้ กบ แควนไทรบุรี ้ ั ้ ค. แคว้นสุ พรรณภูมิ กับ แคว้นไทรบุรี ง. แคว้นสุ พรรณภูมิ กับ แคว้นสุ โขทัย 3. หวเมืองระดบใดในการปกครองส่ วนภูมิภาคที่เจ้าเมืองมีอานาจปกครองตนเอง แต่จะต้องส่ ง ั ั ํ เครื่ องราชบรรณาการมาถวายพระมหากษัตริ ยตามเวลาที่กาหนด ์ ํ ก. เมืองลูกหลวง ข. หวเมืองช้ นใน ั ั ค. หวเมืองช้ นนอก ั ั ง. หัวเมืองประเทศราช 4. สาเหตุสาคัญที่ทาให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างฝ่ ายทหารกับฝ่ าย ํ ํ พลเรือนออกจากกน คือขอใด ั ้ ก. เพื่อให้หน้าที่ของทั้งสองฝ่ ายชัดเจนขึ้น ข. เพื่อป้ องกันเหตุกระทบกระทังกันระหว่างสองฝ่ าย ่ ค. เพื่อป้ องกันไม่ให้ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอานาจมากจนเกินไป ํ ง. เพื่อให้ราษฎรจดจําหน้าที่ของทั้งสองฝ่ ายได้ง่ายและถูกต้อง 5. กรุ งศรี อยุธยาใช้การค้ารู ปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน ก. การค้าแบบบรรณาการ ข. การค้าแบบต่างตอบแทน ค. การค้าแบบใช้ทองคําเป็ นสื่ อกลาง ง. การค้าแบบแลกเปลี่ยนสิ นค้าระหว่างกัน
  • 12. 6. หน่วยงานสําคัญที่ทาหน้าที่ในการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ คือหน่วยงานใด ํ ก. กรมพาณิ ชย์ ข. พระคลังสิ นค้า ค. กองสําเภาหลวง ง. พระคลังมหาสมบัติ 7. ข้อใดคือชนชั้นพิเศษที่ได้รับความเคารพจากทุกชนชั้นในสมัยอยุธยา ก. พระสงฆ์ ข. ขนนาง ุ ค. พระมหากษัตริ ย ์ ง. พระบรมวงศานุวงศ์ ํ 8. “โกษาธิ บดี” ถือเป็นสิ่งใดที่กาหนดไวในพระราชกาหนดศกดินา ้ ํ ั ก. ยศ ข. ตาแหน่งํ ค. บรรดาศกด์ ิ ั ง. ราชทินนาม 9. ขอใดกล่าวไดถูกตองเกี่ยวกบวฒนธรรมในสมยอยธยา ้ ้ ้ ั ั ั ุ ก. อาชีพหลักในสมัยอยุธยาคือเกษตรกรรม ประเพณี ส่วนใหญ่จึงเกี่ยวข้องกับการเกษตร ข. วฒนธรรมส่วนใหญ่ในสมยอยธยามกเกี่ยวของกบชนช้ นสูงเป็นหลก ั ั ุ ั ้ ั ั ั ค. วัฒนธรรมจากต่างชาติไม่ได้รับการยอมรับจากคนในกรุ งศรี อยุธยา ง. ชาวอยุธยานิยมความสนุกสนานจึงมักสร้างสรรค์ประเพณี ที่รื่นเริ ง 10. ยุคใดที่ถือเป็ นยุครุ่ งเรื องที่สุดของวรรณกรรมสมัยอยุธยา ก. รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ข. รัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ค. รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ง. รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ ่ ั 11. ข้อใดเป็ นความสัมพันธ์ที่เห็นได้ชดเจนที่สุดระหว่างกรุ งศรี อยุธยากับเขมร ั ก. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ข. ความสัมพันธ์ทางการเมือง ค. ความสัมพันธ์ทางวฒนธรรม ั ง. ความสัมพันธ์ทางการปกครอง 12. กรุ งศรี อยุธยาทําสงครามครั้งแรกกับพม่าในกรณี ที่สืบเนื่องมาจากเมืองใด ก. ญวน ข. มอญ ค. มลายู ง. ล้านช้าง 13. การสร้างพระธาตุศรี สองรัก ถือเป็ นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความสัมพันธ์อนดีระหว่างกรุ งศรี อยุธยา ั กับอาณาจักรใด ก. พม่า ข. ญวน ค. ล้านช้าง ง. ลานนา้
  • 13. 14. ความสัมพันธ์กบต่างประเทศโดยเฉพาะชาติตะวันตกมีความเจริ ญสู งสุ ดในสมัยใด ก. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ข. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ค. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ่ ั ง. สมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ 15. ศิลปกรรมของไทยสมัยอยุธยาที่ตกทอดมาจนถึงปั จจุบนได้แก่อะไร ั ก. การทอผ้าไหม ข. ภาพวาดสี น้ ามัน ํ ค. เครื่ องถ้วยชามสังคโลก ง. เครื่ องถ้วยชามเบญจรงค์ เฉลย 1. ง 2. ก 3. ง 4. ค 5. ก 6. ข 7. ก 8. ง 9. ก 10. ง 11. ค 12. ข 13. ค 14. ข 15. ง