SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 2
พันธุกรรมและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
„ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
„ โครโมโซมและสารพันธุกรรม
„ ความหลากหลายของสัตว์และพืชในท้องถิ่น
„ ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะและแตกต่างจาก
สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ลักษณะต่างๆ เหล่านี้ได้รับการถ่ายทอด
จากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นต่อๆ ไป เราเรียกลักษณะนี้ว่า
ลักษณะทางพันธุกรรม
การแบ่งเซลล์ (cell division)
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนคือ
1. การแบ่งนิวเคลียส (karyokinesis)
1.1 การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส (mitosis)
1.2 การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส (meiosis)
2. การแบ่งไซโทพลาซึม (cytokinesis)
2.1 แบบที่เยื่อหุ้มเซลล์คอดกิ่ว (furrow type)
2.2 แบบที่มีการสร้างเซลล์เพลท (cell plate)
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (Mitosis)
เป็นการแบ่งเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ของร่างกาย (somatic cell)
ในขณะที่มีการเจริญเติบโตในร่างกายของพืชและสัตว์ หรือเป็นการแบ่ง
เพื่อการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว โดยเซลล์บางชนิดมีการแบ่งตัว
ตลอดเวลาเพื่อทดแทนเซลล์ที่ตายไป เช่น เซลล์ไขกระดูก เซลล์
ผิวหนัง เป็นต้น แต่ในเซลล์ประสาท เซลล์กล้ามเนื้อลาย และ
กล้ามเนื้อหัวใจ เมื่อมีการพัฒนาจนมีรูปร่างและหน้าที่เป็นพิเศษแล้ว
จะไม่มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนอีก
สาหรับในพืช ส่วนของโครงสร้างที่มีอายุมากและประกอบไปด้วย
เนื้อเยื่อถาวรจะไม่มีการแบ่งเซลล์อีก แต่บริเวณส่วนปลายรากและ
ปลายยอดของพืช และส่วนเนื้อเยื่อเจริญ จะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิ
สอยู่ตลอดเวลา
แบ่งได้เป็น 5 ระยะ คือ Interphase Prophase
Metaphase Anaphase และ Telophase
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (Meiosis)
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เป็นการแบ่งเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
การแบ่งเซลล์แบบนี้นิวเคลียสมีการเปลี่ยนแปลงโดยลดจานวน
โครโมโซมลงครึ่งหนึ่ง ดิพลอยด์(2n)  แฮพลอยด์(n)
แบ่งออกเป็น 2 ระยะใหญ่ๆ คือ
Meiosis I (Interphase I, Prophase I, Metaphase I,
Anaphase I และ Telophase I)
Meiosis II (Prophase II, Metaphase II, Anaphase II และ
Telophase II)
ได้ศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชและสนใจทางด้าน
พันธุกรรม เมนเดลได้ผสมพันธุ์ถั่วลันเตาเพื่อศึกษาการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะภายนอกของ
ต้นถั่วลันเตาที่เมนเดลศึกษามีหลายลักษณะ แต่เมนเดล
นามาศึกษาเพียง 7 ลักษณะ โดยแต่ละลักษณะมีความ
แตกต่างกันอย่างชัดเจน เช่น ต้นสูงกับต้นเตี้ย ลักษณะ
เมล็ดกลมกับเมล็ดขรุขระ เป็นต้น ต้นถั่วที่เมนเดล
นามาใช้เป็นพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ล้วนเป็นพันธุ์แท้ทั้งคู่
Gregor Johann Mendel
เมนเดลได้ผสมพันธุ์
ระหว่างต้นถั่วพันธุ์แท้
ที่มีลักษณะแตกต่างกัน
1 ลักษณะ เช่น
ผสมพันธุ์ดอกสีม่วงกับ
พันธุ์ดอกสีขาว
เมนเดลเรียกลักษณะที่ปรากฏในรุ่นลูกที่ 1 เมล็ดกลมและลักษณะต้นสูงว่า
ลักษณะเด่น (dominant) ส่วนลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่นที่ 1 แต่กลับมา
ปรากฏในรุ่นที่ 2 ว่า ลักษณะด้อย (recessive) เช่น ลักษณะต้นเตี้ย
เมนเดลสังเกตเห็นว่า ลักษณะ
ด้อยไม่ปรากฏในรุ่นที่ 1 แต่
ปรากฏในรุ่นที่ 2 อัตราส่วน
ระหว่างลักษณะเด่นกับลักษณะ
ด้อยประมาณ 3 : 1 ใน
สิ่งมีชีวิตมีหน่วยควบคุมลักษณะ
แต่ละลักษณะที่สามารถ่ายทอด
จากพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้ โดยมี
หน่วยที่ควบคุมลักษณะเรียกว่า
ยีน
กฎการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของเมนเดล
1. กฎแห่งการแยกตัว (LAW OF SEGREGATION)
มีใจความว่า “สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศมีอยู่เป็นคู่ๆ แต่ละคู่จะแยกจากกันในระหว่างการสร้าง
เซลล์สืบพันธุ์ทาให้เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์มีหน่วยควบคุมลักษณะนี้
เพียง 1 หน่วย และ จะกลับมาเข้าคู่อีกเมื่อเซลล์สืบพันธุ์ผสมกัน”
2. กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (LAW OF INDEPENDENT
ASSORTMENT) มีใจความว่า “ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่มของ
หน่วยพันธุกรรม ของลักษณะต่างๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปได้อย่าง
อิสระ จึงทาให้เราสามารถทานายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูก และรุ่นหลาน”
ลูกผสมที่มีความแตกต่างกัน 2 ลักษณะ เช่น ลักษณะของเมล็ด และ
ลักษณะสีของเมล็ด โดยผสมพันธุ์ระหว่างถั่วลันเตาพันธุ์แท้เมล็ดกลม สี
เหลือง กับ เมล็ดย่นสีเขียว
นักพันธุศาสตร์ใช้ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์แทนยีนแต่ละยีน โดย
ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น
อักษรตัวพิมพ์เล็กแทนยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย เช่น ผลของการ
ถ่ายทอดลักษณะในการผสมพันธุ์ระหว่างต้นถั่วต้นสูงกับต้นถั่ว
ต้นเตี้ย และการผสมระหว่างรุ่นที่ 1 และในลูกรุ่นที่ 1 เมื่อยีน
A ที่ควบคุมลักษณะต้นสูง ซึ่งเป็นลักษณะเด่น เข้าคู่กับยีน a
ที่ควบคุมลักษณะต้นเตี้ยซึ่งเป็นยีนด้อย ลักษณะที่ปรากฏจะเป็น
ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนเด่นลูกรุ่นที่ 1 มีลักษณะต้นสูงหมดทุก
ต้น และเมื่อนาลูกรุ่นที่ 1 มาผสมกันเองจะได้ลูกรุ่นที่ 2 ได้
ลักษณะต้นสูง : ต้นเตี้ย เป็น 3:1
ยีนเด่น ตัวพิมพ์ใหญ่ A
ยีนด้อย ตัวพิมพ์เล็ก a
ลักษณะของพ่อแม่ที่ใช้ผสม
พันธุ์ (P)
ลักษณะที่ปรากฏ
ลูกรุ่นที่ 1 (F1) ลูกรุ่นที่ 2 (F2) (จานวนต้น)
เมล็ดกลม x เมล็ดขรุขระ เมล็ดกลมทั้งหมด เมล็ดกลม (5,474) : เมล็ดขรุขระ
(1,850)
เมล็ดสีเหลือง x เมล็ดสีเขียว เมล็ดสีเหลือง
ทั้งหมด
เมล็ดสีเหลือง (6,022) : เมล็ดสีเขียว
(2,001)
ฝักอวบ x ฝักคอด ฝักอวบทั้งหมด ฝักอวบ (882) : ฝักคอด (229)
ฝักสีเขียว x ฝักสีเหลือง ฝักสีเขียวทั้งหมด ฝักสีเขียว (428) : ฝักสีเหลือง (152)
ดอกที่ด้านข้าง x ดอกที่ยอด ดอกที่ด้านข้าง
ทั้งหมด
ดอกที่ด้านข้าง (651) : ดอกที่ยอด
(207)
ดอกสีม่วง x ดอกสีขาว ดอกสีม่วงทั้งหมด ดอกสีม่วง (705) : ดอกสีขาว (224)
ต้นสูง x ต้นเตี้ย ต้นสูงทั้งหมด ต้นสูง (787) : ต้นเตี้ย (277)
เพดดีกรี (pedigree) หรือพงศาวลี เป็นแผนผังในการศึกษา
พันธุกรรมของคน ซึ่งแสดงบุคคลต่างๆ ในครอบครัว ดังแผนผัง
ความแปรผันทางพันธุกรรม
จาแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. ลักษณะที่มีความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation)
เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน (มีหรือไม่มี,
เป็นหรือไม่เป็น) โดยเกิดจากอิทธิพลทางพันธุกรรมเพียงอย่างเดียว ถูกควบคุมโดย
ยีนน้อยคู่ เช่น ลักษณะลักยิ้ม ติ่งหู ห่อลิ้น ตาชั้นเดียวหรือตาสองชั้น เป็นต้น
2. ลักษณะที่มีความแปรผันแบบต่อเนื่อง (continuous variation)
เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้เด่นชัด หรือมีหลาย
ระดับ เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจาก
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมร่วมกัน ถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่
โครโมโซมและสารพันธุกรรม
ยีน (gene) คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม (chromosome)
มีลักษณะเรียงกันเหมือนสร้อยลูกปัด ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ทาง
พันธุกรรมจากพ่อแม่ไปยังลูกหลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 ยีน
แต่ละยีนจะควบคุมลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนที่
ควบคุมลักษณะพันธุกรรมบางอย่างมี 2 ชนิด คือ
1. ยีนเด่น (dominant gene) คือ ยีนที่แสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้
แม้มียีนนั้นเพียงยีนเดียว แทนด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เช่น A
2. ยีนด้อย (recessive gene) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะให้
ปรากฏออกมาได้ ก็ต่อเมื่อมียีนด้อยทั้งสองยีนอยู่บนคู่โครโมโซม แทนด้วย
ตัวอักษรพิมพ์เล็ก เช่น a
โครโมโซม (chromosome) ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วย
นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู
นิวเคลียสของเซลล์ที่กาลังแบ่งตัวจะเห็นโครงสร้างมีลักษณะเป็น
เส้นยาวๆเล็กๆขดไปมาเรียกโครงสร้างนี้ว่า โครมาทิน (chromatin)
เมื่อเซลล์โครมาทินขดแน่นมากขึ้นและหดสั้นลง จะมีลักษณะเป็นแท่ง
เรียกว่า โครโมโซม (chromosome) โครโมโซมแต่ละโครโมโซม
ประกอบด้วยแขน 2 ข้าง เรียกว่า โครมาทิด (chromatid) ซึ่ง
แขนทั้งสองจะมีจุดเชื่อมกันเรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere)
chromatin
gene
ในร่างกายคนมีโครโมโซมทั้งหมด
46 แท่ง มาจัดเป็นคู่ ได้ 23 คู่
โดยแบ่งได้เป็น 2 ชนิด
1. โครโมโซมร่างกาย
(autosome) คือ โครโมโซมคู่ที่
1-22 เหมือนกันทั้งหญิงและชาย
2. โครโมโซมเพศ (sex
chromosome) คือ โครโมโซม
อีก 1 คู่ (คู่ที่ 23) สาหรับใน
หญิงและชายจะต่างกัน โดยเพศ
หญิง(XX) เพศชาย(XY) โดย
โครโมโซม Y มีขนาดเล็กกว่า X
สารพันธุกรรม
มีสมบัติเป็นกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) มีหน่วยย่อยคือ นิวคลีโอไทด์
(nucleotide) ที่ประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต(Phosphate) น้าตาลเพนโทส(5C)
และไนโตรจีนัสเบส (N-base) แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. DNA (Deoxyribonucleic acid) พบในนิวเคลียสของสิ่งมีชีวิตทั่วไป
มีลักษณะเป็นสาย 2 สายพันกันเป็นเกลียววนขวา (double helix) มีหน่วยย่อย
คือ ดีออกซิไรโบนิวคลีโอไทด์ (deoxyribonucleotide) ประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต
, น้าตาลดีออกซิไรโบส(deoxyribose) และ ไนโตรจีนัสเบส (N-base) คือ
Adenine(A), Thymine(T), Guanine(G), Cytosine(C) โดยทั้งสองสายมี
การจับคู่กันระหว่างเบสคู่สมด้วยพันธะไฮโดรเจน ได้แก่ A = T และ C  G
2. RNA (Ribonucleic acid)
ส่วนใหญ่จะพบในไซโทพลาสซึมของ
สิ่งมีชีวิตทั่วไป และเป็นสารพันธุกรรม
ของไวรัสบางชนิดเท่านั้น มีลักษณะ
เป็นสายเดี่ยว มีหน่วยย่อยคือ
ไรโบนิวคลีโอไทด์ (ribonucleotide)
ซึ่งประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต, น้าตาล
ไรโบส(ribose) และ N-base คือ
Adenine(A), Uracine(U),
Guanine(G), Cytosine(C)
ยีนบนออโทโซม
ยีนเด่นบนออโทโซม การถ่ายทอดนี้
จะถ่ายทอดจากชายหรือหญิงที่มียีนเด่น
ทั้งคู่ (พันธุ์แท้) หรือมียีนเด่นคู่กับ
ยีนด้อย (พันธุ์ทาง) เช่น คนแคระ
โรคท้าวแสนปม
ยีนด้อยบนออโทโซม การถ่ายทอดนี้จะ
ถูกควบคุมโดยยีนด้อย ซึ่งเมื่อดูจาก
ภายนอกทั้งพ่อและแม่มีลักษณะปกติ
แต่มียีนด้อยแฝงอยู่ เรียกว่าเป็นพาหะ
(carrier) ของลักษณะที่ผิดปกติ
เช่น โรคทาลัสซีเมีย ลักษณะผิวเผือก
ยีนบนโครโมโซมเพศ
ลักษณะพันธุกรรมที่ผิดปกติถูก
ควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X
ได้แก่ โรคตาบอดสี, โรคฮีโมฟิเลีย
(เลือดไหลไม่หยุด)
ลักษณะพันธุกรรมที่ผิดปกติถูก
ควบคุมโดยยีนเด่นบนโครโมโซม X
เช่น โรคมนุษย์หมาป่า
ความผิดปกติของโครโมโซมกับโรคทางพันธุกรรม
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม ซึ่งความผิดปกติดังกล่าวแบ่ง
ได้เป็น 2 แบบ คือ
1. ความผิดปกติของออโทโซม เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
ร่างกาย มีความผิดปกติ 2 ชนิด คือ
1.1 ความผิดปกติที่จานวนออโทโซมในบางคู่ที่เกินมาหรือขาด
ไป 1 โครโมโซม จึงทาให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายทั้งหมดเป็น 47
หรือ 45 โครโมโซม ตัวอย่างความผิดปกติที่จานวนออโทโซมในบางคู่
เกินมา มีดังนี้
กลุ่มอาการดาวน์ (Down's syndrome) เกิดจากความผิดปกติของ
ออโทโซมโดยคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง ทาให้เด็กในระยะแรกเกิดจะมี
ตัวอ่อนปวกเปียก ศีรษะแบน ดั้งจมูกแบน ตาห่าง และตาชี้ขึ้นบน
ใบหูผิดรูป ปากปิดไม่สนิท มีลิ้นจุกปาก นิ้วมือสั้นป้อม เส้นลายมือ
ขาด ที่เท้ามีช่องกว้างระหว่างนิ้วหัวแม่เท้าและนิ้วที่สอง ลายเท้า
ผิดปกติ อาจมีหัวใจพิการแต่กาเนิด และปัญญาอ่อน อายุสั้น พ่อแม่ที่
มีอายุมากมีโอกาสเสี่ยงที่ลูกจะเป็นกลุ่มอาการดาวน์
กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด (Edward's syndrome) เกิดจากความผิดปกติของ
ออโทโซมคู่ที่ 18 เกินมา 1 แท่งลักษณะที่ปรากฏจะมีลักษณะหัวเล็ก
หน้าผากแบน คางเว้า หูผิดปกติ ตาเล็ก นิ้วมือบิดงอ และกาเข้าหากัน
แน่น หัวใจพิการ ปอดและระบบย่อยอาหารผิดปกติ มีลักษณะปัญญา
อ่อนร่วมอยู่ด้วย ผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้มักจะเสียชีวิตก่อนอายุ 1 ขวบ
กลุ่มอาการพาเทา (Patau's syndrome) เกิดจากความผิดปกติของ
ออโทโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 แท่ง มีลักษณะ คือ มีอาการปัญญาอ่อน
ปากแหว่ง เพดานโหว่ หูหนวก นิ้วเกิน ตาอาจพิการหรือตาบอด ส่วน
ใหญ่อายุสั้นมาก
1.2 ความผิดปกติที่รูปร่างของออโทโซม เป็นความผิดที่ออโทโซมบาง
โครโมโซมขาดหายไปบางส่วน เช่น โครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป 1
โครโมโซม แต่จานวนโครโมโซมเท่ากับคนปกติ คือ 46 แท่ง
ตัวอย่างเช่น
ความผิดปกติของโครโมโซมกับโรคทางพันธุกรรม (ต่อ)
กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du-chat syndrome) เกิดจากแขนสั้น
ของโครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป ลักษณะที่พบ คือ มีศีรษะเล็กกว่าปกติ
หน้ากลม ใบหูต่ากว่าปกติ ตาห่าง มีอาการปัญญาอ่อน ลักษณะที่
เด่นชัดในกลุ่มอาการนี้คือ มีเสียงร้องแหลมเล็กคล้ายเสียงแมวร้อง จึง
เรียกกลุ่มอาการนี้อีกอย่างหนึ่งว่า Cat-cry-syndrome
2. ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ ส่วนใหญ่เกิดจากจานวนโครโมโซม
เพศ คือ โครโมโซม X หรือ โครโมโซม Y ขาดหายหรือเกินมาจาก
ปกติ และยังถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปสู่ลูกหลานอีกด้วย
ความผิดปกตินี้ แบ่งได้ 2 แบบ คือ
2.1 ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม X มี 2 กรณี
ความผิดปกติของโครโมโซมกับโรคทางพันธุกรรม (ต่อ)
กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ (Turner's syndrome)
โครโมโซม X ขาดหายไป 1 โครโมโซม ทาให้
เหลือโครโมโซม X เพียงแท่งเดียว และเหลือ
โครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 45 แท่ง พบได้ใน
เพศหญิงเป็นแบบ 44+XO ลักษณะของผู้ป่วย
คือ ตัวเตี้ย คอมีพังพืดกางเป็นปีก แนวผมท้าย
ทอยอยู่ต่า หน้าอกกว้าง หัวนมเล็กและอยู่ห่าง
กัน ใบหูใหญ่อยู่ต่ามีรูปร่างผิดปกติ แขนคอก
รังไข่ไม่เจริญ ไม่มีประจาเดือน เป็นหมันมีอายุ
ยืนยาวเท่าๆ กับคนปกติทั่วๆ ไป
กลุ่มอาการซูเปอร์ฟีเมล (Super female)
โครโมโซม X เกินมาจากปกติพบในเพศหญิง
โครโมโซมเพศเป็น XXX หรือ XXXX จึงทา
ให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47
โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนั้น
โครโมโซมจึงเป็นแบบ 44+XXX หรือ
44+XXXX ลักษณะของผู้ป่วยในเพศหญิง
ทั่วไปดูปกติ สติปัญญาต่ากว่าระดับปกติ ลูกที่
เกิดมาจากแม่ที่มีโครโมโซมแบบนี้อาจมีความ
ผิดปกติเช่นเดียวกับแม่
กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's
syndrome) โครโมโซม X เกินมาจากปกติ
พบในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็น XXY หรือ
XXXY จึงทาให้มีโครโมโซมในเซลล์ร่างกาย
เป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม
ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็น 44+XXY หรือ
44+XXXY ลักษณะของผู้ป่วยเพศชายจะมี
ลักษณะคล้ายเพศหญิง สะโพกผาย หน้าอกโต
จะสูงมากกว่าชายปกติ ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มีอสุจิ
จึงทาให้เป็นหมัน
2.2 ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y เกิน
มาจากปกติ ตัวอย่างเช่น
ซูเปอร์เมน (Super men)
โครโมโซมเพศเป็น XYY จึงทาให้
โครโมโซมเป็น 44+XYY
ลักษณะของผู้ป่วยในเพศชายจะมี
รูปร่างสูงใหญ่กว่าปกติ มีอารมณ์ร้าย
โมโหง่าย บางรายมีจิตใจปกติ
และไม่เป็นหมัน
ความหลากหลายของสัตว์และพืชในท้องถิ่น
สิ่งมีชีวิตบนโลกนี้มีจานวนมากมาย เฉพาะที่ได้รับการตั้งชื่อแล้ว
มีประมาณ 2 ล้านชนิด เชื่อกันว่ายังมีสิ่งมีชีวิตอีกหลายล้านชนิดที่
รอการตั้งชื่อที่ยังไม่ค้นพบ รวมทั้งที่อาจกาลังสูญพันธุ์ไปในทุกนาที
สิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อแล้วที่มีจานวนมากที่สุด ได้แก่ แมลง รองลงมา คือ
สัตว์อื่นๆ และพืช
สมัย อริสโตเติล (Aristotle) นักปรัชญากรีกโบราณ มนุษย์
เริ่มมีการศึกษารวบรวมความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
• คาโรลัส ลินเนียส(Carolus Linneus) นักพฤกษศาสตร์ ชาวสวีเดน
เป็นคนแรกที่พยายาม จัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด บนโลก และจาแนก
เป็น 2 กลุ่ม คือ พืชและสัตว์
• โรเบิร์ต วิทเทคเกอร์ (Robert Whittaker) ได้เสนอ
การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตเป็น 5 อาณาจักร ได้แก่ อาณาจักรพืช สัตว์ เห็ดรา
โปรติสต์และแบคทีเรีย
• ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อถือทฤษฎีการจัดสิ่งมีชีวิตเป็น 3 กลุ่มที่เรียกว่า
3 โดเมน ได้แก่ โดเมนแบคทีเรีย, โดเมนแบคทีเรียโบราณ และ
โดเมนยูคาร์ยา
โดเมน (Domain) แบ่งออกเป็น
1. โดเมนแบคทีเรีย (Domain Bacteria) ได้แก่ สิ่งมีชีวิตโปรคาริโอต
กลุ่มแบคทีเรีย ซึ่งมีความหลากหลายมีจานวนมากที่สุดใน บรรดาสิ่งมีชีวิต
ทั้งหมดในโลก
2. โดเมนแบคทีเรียโบราณ (Domain Archaea) ได้แก่ สิ่งมีชีวิต
โปรคาริโอต กลุ่มแบคทีเรียโบราณ ซึ่งอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมรุนแรง เช่น
ในน้าพุร้อน น้าเน่าเสีย หรือทะเลสาบน้าเค็มจัด
3. โดเมนยูคาร์ยา (Domain Eukaya) คือ สิ่งมีชีวิตยูคาริโอตทั้งหมด
ได้แก่ พืช สัตว์ เห็ดรา และโปรติสต์
Domain
Archaea
„ แบคทีเรียโบราณ ซึ่งทนต่อสภาวะแวดล้อมเลวร้าย เช่น ทนร้อน
ทนกรด ทนเค็ม
Bacteria
„ แบคทีเรียทั่วไป เช่น
cyanobacteria
Eukaya
„ Protista
„ Fungi
„ Plantae
„ Animalia
Prokaryotic cell
Eukaryotic cell
ความหลากหลายของพืช
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ทาหน้าที่เป็นผู้ผลิต (producer)
ผลิตอาหารพวกน้าตาล แป้ง ให้กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นที่ไม่สามารถ
สร้างอาหารเองได้ พืชมีวิวัฒนาการสืบเนื่องมาจากสาหร่ายเป็นเวลา
กว่า 500 ล้านปีมาแล้ว ในปัจจุบันนักชีววิทยาสามารถจาแนก
พืชได้เป็นหลายดิวชั่น (Division) ได้แก่
Kingdom
Plantae
กลุ่มไม่มี
ท่อลาเลียง
Division Bryophyta
Division Hepatophyta
Division Anthocerophyta
กลุ่มมี
ท่อลาเลียง
ไม่มีเมล็ด
Division Psilophyta
Division Lycophyta
Division Spenophyta
Division Pterophyta
มีเมล็ด
ไม่มีเปลือกหุ้มเมล็ด
(gymnosperm)
Division Coniferophyta
Division Cycadophyta
Division Ginkgophyta
Division Gnetophytaมีเปลือกหุ้มเมล็ด
(angiosperm) Division Anthophyta
กลุ่มที่ไม่มีท่อลาเลียง
Division Bryophyta คือ มอส
Division Hepatophyta คือ ฮอร์นเวิร์ด
Division Anthocerophyta คือ ลิเวอร์เวิร์ด
กลุ่มที่มีท่อลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด
Division Psilophyta เป็นพืชที่เริ่มมีท่อลาเลียงที่แท้จริง
มีลาต้นขนาดเล็กเป็นเหลี่ยม แตกกิ่งเป็นคู่ๆ ไม่มีใบหรือ
มีใบเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีรากแต่มีไรซอยด์ดูดน้าและเกลือแร่
ได้แก่ หวายทะนอย
Division Lycophyta เป็นพืชที่มีราก มีใบ
ขนาดเล็ก มีใบที่ยอดเรียงซ้อนกัน เรียกว่า
strobilus ทาหน้าที่สร้างสปอร์ ได้แก่
ช้องนางคลี่ ตีนตุ๊กแก สร้อยสุกรม หางกระรอก
กนกนารี
กลุ่มที่มีท่อลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด
Division Spenophyta เป็นพืชทีมีลา
ต้นขนาดเล็กสีเขียว ต่อกันเป็นข้อและ
ปล้องเห็นได้ชัดเจน ได้แก่ หญ้าถอดปล้อง
หรือหญ้าหางม้า (equisetum)
Division Pterophyta พืชในกลุ่มนี้คือ
เฟิน เป็นพืชที่มีการสร้างสปอร์อยู่ภายใน
อับสปอร์จานวนมากที่บริเวณใต้ใบ ได้แก่
ผักกูด ผักแว่น แหนแดง จอกหูหนู
ชายผ้าสีดา เฟินก้างปลา เป็นต้น
กลุ่มที่มีท่อลาเลียง มีเมล็ดแต่เมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม
หรือ เมล็ดเปลือย (gymnosperm)
Division Coniferophyta คือ สนสองใบ สนสามใบ
Division Cycadophyta คือ ปรง
Division Ginkgophyta คือ แปะก๊วย
Division Gnetophyta คือ มะเมื่อย
กลุ่มที่มีท่อลาเลียง มีเมล็ดที่มีเปลือกหุ้ม (angiosperm)
Division Anthophyta พืชในกลุ่มนี้คือ พืชดอก เป็นพืชที่มีดอก
เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้มได้แก่ สาหร่ายหางกระรอก
กุหลาบ ชบา พลูด่าง เป็นต้น ซึ่งพืชในดิวิชันนี้แบ่งออกเป็น 2
กลุ่มย่อย คือ พืชใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon) และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
(monocotyledon)
ความหลากหลายของสัตว์
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ เป็นพวกที่มีหลายเซลล์ เซลล์
จัดเรียงตัวกันเป็นเนื้อเยื่อ สัตว์ทุกชนิดไม่สามารถสร้างอาหารเอง
ได้ ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น (heterotrophy) นัก
ชีววิทยาแบ่งสัตว์ออกเป็นไฟลัม ดังนี้
Phylum Porifera มีลาตัวเป็นรูพรุน
มีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและ
ไม่อาศัยเพศ เข่น ฟองน้า
Coelenterata หรือ Cnidaria
มีช่องว่างกลางลาตัวเป็นท่อกลวง
มีอวัยวะคล้ายหนวดที่มีเข็มพิษ
ไฮดรา แมงกระพรุน ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล
Platyhelminthes เป็นสัตว์ที่มีลาตัวแบนยาว
มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก เช่น พลานาเรีย พยาธิตัวตืด
Nematoda มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
ไม่มีระบบเลือด มีเพศแยก เช่น
พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิตัวจี๊ด พยาธิเส้นด้าย
Annelida เป็นสัตว์ที่มีลาตัวกลมเป็นปล้องต่อกัน
มีระบบเลือดส่วนใหญ่มี 2 เพศ เช่น
ไส้เดือนดิน ทากดูดเลือด ปลิงน้าจืด แม่เพรียง
Arthopoda มีเปลือกแข็งหุ้มลาตัว แบ่งลาตัวเป็น3ส่วน
คือ หัว อก และท้อง มีหนวด มีรยางค์เป็นข้อปล้อง เช่น
กุ้ง ปู แมงมุม แมงดา แมลง กิ้งกือ ตะเข็บ ตะขาบ
Mollusca มีลาตัวนิ่ม มีเปลือกแข็งหุ้มภายนอก
มีไตเป็นอวัยวะขับถ่าย เช่น หอย หมึก
Echinodermata มีผิวหยาบขรุขระ มีเยื่อบางๆ หุ้มลาตัว
ร่างกายเป็นแฉกออกจากลาตัวเป็นรัศมี อยู่ในทะเลทั้งหมด
เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล ปลิงทะเล
Chordata มีช่องเหงือก โนโตคอร์ด ท่อประสาทกลวงทางด้านหลัง
และหาง ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของชีวิต เช่น เพรียงหัวหอม แลมเพรย์
แอมฟิออกซัส และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน
เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) หมายถึง การประยุกต์ใช้
ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตมาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของ
มนุษย์ ด้วยการเพิ่มผลผลิต การพัฒนาลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้น
ในสิ่งมีชีวิต โดยการนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพและ
พันธุกรรมมาใช้ มีอยู่ 3 วิธี
1. การคัดเลือกพันธุ์ผสม แบ่งเป็น 2 วิธี คือ
1.1 การผสมภายในสายพันธุ์เดียวกัน (inbreeding) ทาโดยการนา
สิ่งมีชีวิตสองตัวที่มีชุดอัลลีลที่เหมือนกันมีความคล้ายคลึงกันมาผสมกัน จะได้
สิ่งมีชีวิตที่มีความคล้ายคลึงกับรุ่นพ่อรุ่นแม่มาก แต่ก็มีข้อเสีย คือ
- ลดโอกาสในรุ่นลูกในการที่จะได้รับถ่ายทอดคู่อัลลีลผสมคู่ใหม่
- เพิ่มโอกาสของการเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมมากขึ้น
1.2 การผสมข้ามสายพันธุ์ (hybridization) นาสิ่งมีชีวิตที่มีองค์ประกอบ
ทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันมาผสมกัน แล้วคัดพันธุ์จากลูกผสมที่ได้รับ
ลักษณะที่ดีที่สุดจากพ่อแม่มาเพาะพันธุ์ต่อไป
2. การโคลนหรือการเพาะพันธุ์จากเซลล์
การโคลน (clone) หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตขึ้นมาโดยไม่ต้องมีการ
ปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมีย แต่ใช้เซลล์ร่างกายในการสร้าง
สิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการโคลนจะมีองค์ประกอบทางพันธุกรรม
เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตต้นกาเนิดทุกอย่าง เราสามารถโคลนสิ่งมีชีวิตได้ทั้งที่เป็นพืช
สัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การโคลนพืช ใช้วิธีการปักชา, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ฯลฯ
การโคลนสัตว์ เป็นการกระทาที่ยากกว่าการโคลนพืช แต่นักวิทยาศาสตร์
ได้พยายามทดลองผลิตสัตว์ขึ้นมาโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การโคลนแกะของ
ดร.เอียน วิลมุต (Dr.Ian Wilmut) ในการสร้างแกะดอลลี่
3. พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสาร
พันธุกรรม เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตตามที่ต้องการ เป็นการนายีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปใส่
ให้กับดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง หรืออาจเรียกว่า "การตัดต่อแต่งยีน" ซึ่งประโยชน์ที่
ได้จากพันธุวิศวกรรม มีดังนี้
1. การผลิตฮอร์โมน ปัจจุบันได้มีการผลิตฮอร์โมนในแบคทีเรีย และในยีสต์ เช่น
อินซูลิน
2. การสร้างวัคซีน เช่น วัคซีนแก้โรคกลัวน้า โรคตับอักเสบ เป็นต้น
3. การผลิตชิ้นส่วนดีเอ็นเอ เพื่อตรวจสอบโรคทางพันธุกรรม
4. การปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่อให้สายพันธุ์ใหม่ หรือเพื่อผลิตวิตามินและยา
5. การปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ เพื่อให้ได้พืชที่มีความทนทานต่อแมลงศัตรูพืช
ส่วนสัตว์เพื่อให้มีขนาดใหญ่และมีคุณค่าทางอาหารมากขึ้น
6. การรักษาด้วยยีน หรือยีนบาบัด (gene therapy) ทาได้โดยใส่ยีนจาลอง
แบบที่สามารถเข้าไปในเซลล์ของบุคคล ซึ่งมีความผิดปกติทางพันธุกรรมนั้นๆ โดยตรง
ซึ่งการรักษาวิธีนี้ยังคงอยู่ในขั้นของการทดลอง
7. การทาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ เทคนิคนี้นาไปใช้ในการแก้ปัญหาอาชญากรรม
หรือพิสูจน์ตัวบุคคลได้ โดยจะต้องใช้การตัดตัวอย่างดีเอ็นเอให้แยกออกเป็นชิ้นเล็ก
ชิ้นน้อย จากนั้นใช้กระแสไฟฟ้าช่วยแยกชิ้นส่วนออกจากกันตามขนาดเพื่อทารูปแบบ
ให้เป็นแถบรูปแบบของแถบดีเอ็นเอ ซึ่งแต่ละคนจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตนที่ไม่
เหมือนใคร สามารถนารูปแบบของแถบดีเอ็นเอที่เก็บตัวอย่างได้ไปเปรียบเทียบกับ
รูปแบบของแถบดีเอ็นเอของบุคคลผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ก่ออาชญากรรม หรืออาจ
นาไปใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูก โดยนาดีเอ็นเอของพ่อและแม่มา
เปรียบเทียบ
8. โครงการจีโนมของมนุษย์ โดย จีโนม (genome) หมายถึง ชุดของยีน
หรือดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต หรือ DNA ที่มีอยู่ทั้งหมดในเซลล์หนึ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ซึ่งจุดประสงค์หลักของโครงการจีโนมของมนุษย์คือ การแสดงลาดับการเรียงตัวของยีน
ทุกยีนที่มีอยู่ในจีโนมของมนุษย์
พันธุกรรมและความหลากหลาย

More Related Content

What's hot

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
wiriya kosit
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
Nuttakit Wunprasert
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 

Viewers also liked

ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
Thanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
Thanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
Thanyamon Chat.
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
Thanyamon Chat.
 
Hand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซมHand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซมThanyamon Chat.
 
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรมHand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)Thanyamon Chat.
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
Thanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
Thanyamon Chat.
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
Hormone
HormoneHormone
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2Thanyamon Chat.
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
Thanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
Thanyamon Chat.
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
Thanyamon Chat.
 

Viewers also liked (20)

ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Hand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซมHand out ยีนและโครโมโซม
Hand out ยีนและโครโมโซม
 
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรมHand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Hand out การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (Hand out)
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 

Similar to พันธุกรรมและความหลากหลาย

พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
What is 0rganism 1
What is 0rganism 1What is 0rganism 1
What is 0rganism 1
Siriwan Downrueng
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
Jiraporn
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ไพฑูรย์ ทิพย์สันเทียะ
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมคุง นู๋
 
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.41. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4
ToomtamBio
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Janistar'xi Popae
 

Similar to พันธุกรรมและความหลากหลาย (20)

เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 
New genetics1
New genetics1New genetics1
New genetics1
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
What is 0rganism 1
What is 0rganism 1What is 0rganism 1
What is 0rganism 1
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.41. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 

More from Thanyamon Chat.

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
Thanyamon Chat.
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
Thanyamon Chat.
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
Thanyamon Chat.
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
Thanyamon Chat.
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
Thanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
Thanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
Thanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
Thanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
Thanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
Thanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
Thanyamon Chat.
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
Thanyamon Chat.
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
Thanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
Thanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Thanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

พันธุกรรมและความหลากหลาย

  • 1. หน่วยที่ 2 พันธุกรรมและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต „ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม „ โครโมโซมและสารพันธุกรรม „ ความหลากหลายของสัตว์และพืชในท้องถิ่น „ ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน
  • 3.
  • 4. การแบ่งเซลล์ (cell division) ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนคือ 1. การแบ่งนิวเคลียส (karyokinesis) 1.1 การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส (mitosis) 1.2 การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส (meiosis) 2. การแบ่งไซโทพลาซึม (cytokinesis) 2.1 แบบที่เยื่อหุ้มเซลล์คอดกิ่ว (furrow type) 2.2 แบบที่มีการสร้างเซลล์เพลท (cell plate)
  • 5. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (Mitosis) เป็นการแบ่งเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ของร่างกาย (somatic cell) ในขณะที่มีการเจริญเติบโตในร่างกายของพืชและสัตว์ หรือเป็นการแบ่ง เพื่อการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว โดยเซลล์บางชนิดมีการแบ่งตัว ตลอดเวลาเพื่อทดแทนเซลล์ที่ตายไป เช่น เซลล์ไขกระดูก เซลล์ ผิวหนัง เป็นต้น แต่ในเซลล์ประสาท เซลล์กล้ามเนื้อลาย และ กล้ามเนื้อหัวใจ เมื่อมีการพัฒนาจนมีรูปร่างและหน้าที่เป็นพิเศษแล้ว จะไม่มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนอีก สาหรับในพืช ส่วนของโครงสร้างที่มีอายุมากและประกอบไปด้วย เนื้อเยื่อถาวรจะไม่มีการแบ่งเซลล์อีก แต่บริเวณส่วนปลายรากและ ปลายยอดของพืช และส่วนเนื้อเยื่อเจริญ จะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิ สอยู่ตลอดเวลา
  • 6. แบ่งได้เป็น 5 ระยะ คือ Interphase Prophase Metaphase Anaphase และ Telophase
  • 8.
  • 9. แบ่งออกเป็น 2 ระยะใหญ่ๆ คือ Meiosis I (Interphase I, Prophase I, Metaphase I, Anaphase I และ Telophase I) Meiosis II (Prophase II, Metaphase II, Anaphase II และ Telophase II)
  • 10. ได้ศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชและสนใจทางด้าน พันธุกรรม เมนเดลได้ผสมพันธุ์ถั่วลันเตาเพื่อศึกษาการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะภายนอกของ ต้นถั่วลันเตาที่เมนเดลศึกษามีหลายลักษณะ แต่เมนเดล นามาศึกษาเพียง 7 ลักษณะ โดยแต่ละลักษณะมีความ แตกต่างกันอย่างชัดเจน เช่น ต้นสูงกับต้นเตี้ย ลักษณะ เมล็ดกลมกับเมล็ดขรุขระ เป็นต้น ต้นถั่วที่เมนเดล นามาใช้เป็นพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ล้วนเป็นพันธุ์แท้ทั้งคู่ Gregor Johann Mendel
  • 12. เมนเดลเรียกลักษณะที่ปรากฏในรุ่นลูกที่ 1 เมล็ดกลมและลักษณะต้นสูงว่า ลักษณะเด่น (dominant) ส่วนลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่นที่ 1 แต่กลับมา ปรากฏในรุ่นที่ 2 ว่า ลักษณะด้อย (recessive) เช่น ลักษณะต้นเตี้ย
  • 13. เมนเดลสังเกตเห็นว่า ลักษณะ ด้อยไม่ปรากฏในรุ่นที่ 1 แต่ ปรากฏในรุ่นที่ 2 อัตราส่วน ระหว่างลักษณะเด่นกับลักษณะ ด้อยประมาณ 3 : 1 ใน สิ่งมีชีวิตมีหน่วยควบคุมลักษณะ แต่ละลักษณะที่สามารถ่ายทอด จากพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้ โดยมี หน่วยที่ควบคุมลักษณะเรียกว่า ยีน
  • 14. กฎการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของเมนเดล 1. กฎแห่งการแยกตัว (LAW OF SEGREGATION) มีใจความว่า “สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศมีอยู่เป็นคู่ๆ แต่ละคู่จะแยกจากกันในระหว่างการสร้าง เซลล์สืบพันธุ์ทาให้เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์มีหน่วยควบคุมลักษณะนี้ เพียง 1 หน่วย และ จะกลับมาเข้าคู่อีกเมื่อเซลล์สืบพันธุ์ผสมกัน”
  • 15. 2. กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (LAW OF INDEPENDENT ASSORTMENT) มีใจความว่า “ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่มของ หน่วยพันธุกรรม ของลักษณะต่างๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปได้อย่าง อิสระ จึงทาให้เราสามารถทานายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูก และรุ่นหลาน” ลูกผสมที่มีความแตกต่างกัน 2 ลักษณะ เช่น ลักษณะของเมล็ด และ ลักษณะสีของเมล็ด โดยผสมพันธุ์ระหว่างถั่วลันเตาพันธุ์แท้เมล็ดกลม สี เหลือง กับ เมล็ดย่นสีเขียว
  • 16. นักพันธุศาสตร์ใช้ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์แทนยีนแต่ละยีน โดย ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น อักษรตัวพิมพ์เล็กแทนยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย เช่น ผลของการ ถ่ายทอดลักษณะในการผสมพันธุ์ระหว่างต้นถั่วต้นสูงกับต้นถั่ว ต้นเตี้ย และการผสมระหว่างรุ่นที่ 1 และในลูกรุ่นที่ 1 เมื่อยีน A ที่ควบคุมลักษณะต้นสูง ซึ่งเป็นลักษณะเด่น เข้าคู่กับยีน a ที่ควบคุมลักษณะต้นเตี้ยซึ่งเป็นยีนด้อย ลักษณะที่ปรากฏจะเป็น ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนเด่นลูกรุ่นที่ 1 มีลักษณะต้นสูงหมดทุก ต้น และเมื่อนาลูกรุ่นที่ 1 มาผสมกันเองจะได้ลูกรุ่นที่ 2 ได้ ลักษณะต้นสูง : ต้นเตี้ย เป็น 3:1 ยีนเด่น ตัวพิมพ์ใหญ่ A ยีนด้อย ตัวพิมพ์เล็ก a
  • 17.
  • 18. ลักษณะของพ่อแม่ที่ใช้ผสม พันธุ์ (P) ลักษณะที่ปรากฏ ลูกรุ่นที่ 1 (F1) ลูกรุ่นที่ 2 (F2) (จานวนต้น) เมล็ดกลม x เมล็ดขรุขระ เมล็ดกลมทั้งหมด เมล็ดกลม (5,474) : เมล็ดขรุขระ (1,850) เมล็ดสีเหลือง x เมล็ดสีเขียว เมล็ดสีเหลือง ทั้งหมด เมล็ดสีเหลือง (6,022) : เมล็ดสีเขียว (2,001) ฝักอวบ x ฝักคอด ฝักอวบทั้งหมด ฝักอวบ (882) : ฝักคอด (229) ฝักสีเขียว x ฝักสีเหลือง ฝักสีเขียวทั้งหมด ฝักสีเขียว (428) : ฝักสีเหลือง (152) ดอกที่ด้านข้าง x ดอกที่ยอด ดอกที่ด้านข้าง ทั้งหมด ดอกที่ด้านข้าง (651) : ดอกที่ยอด (207) ดอกสีม่วง x ดอกสีขาว ดอกสีม่วงทั้งหมด ดอกสีม่วง (705) : ดอกสีขาว (224) ต้นสูง x ต้นเตี้ย ต้นสูงทั้งหมด ต้นสูง (787) : ต้นเตี้ย (277)
  • 19. เพดดีกรี (pedigree) หรือพงศาวลี เป็นแผนผังในการศึกษา พันธุกรรมของคน ซึ่งแสดงบุคคลต่างๆ ในครอบครัว ดังแผนผัง
  • 20. ความแปรผันทางพันธุกรรม จาแนกได้ 2 ประเภท คือ 1. ลักษณะที่มีความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน (มีหรือไม่มี, เป็นหรือไม่เป็น) โดยเกิดจากอิทธิพลทางพันธุกรรมเพียงอย่างเดียว ถูกควบคุมโดย ยีนน้อยคู่ เช่น ลักษณะลักยิ้ม ติ่งหู ห่อลิ้น ตาชั้นเดียวหรือตาสองชั้น เป็นต้น 2. ลักษณะที่มีความแปรผันแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้เด่นชัด หรือมีหลาย ระดับ เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจาก พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมร่วมกัน ถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่
  • 21.
  • 22. โครโมโซมและสารพันธุกรรม ยีน (gene) คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม (chromosome) มีลักษณะเรียงกันเหมือนสร้อยลูกปัด ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ทาง พันธุกรรมจากพ่อแม่ไปยังลูกหลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 ยีน แต่ละยีนจะควบคุมลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนที่ ควบคุมลักษณะพันธุกรรมบางอย่างมี 2 ชนิด คือ 1. ยีนเด่น (dominant gene) คือ ยีนที่แสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้ แม้มียีนนั้นเพียงยีนเดียว แทนด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เช่น A 2. ยีนด้อย (recessive gene) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะให้ ปรากฏออกมาได้ ก็ต่อเมื่อมียีนด้อยทั้งสองยีนอยู่บนคู่โครโมโซม แทนด้วย ตัวอักษรพิมพ์เล็ก เช่น a
  • 23. โครโมโซม (chromosome) ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วย นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู นิวเคลียสของเซลล์ที่กาลังแบ่งตัวจะเห็นโครงสร้างมีลักษณะเป็น เส้นยาวๆเล็กๆขดไปมาเรียกโครงสร้างนี้ว่า โครมาทิน (chromatin) เมื่อเซลล์โครมาทินขดแน่นมากขึ้นและหดสั้นลง จะมีลักษณะเป็นแท่ง เรียกว่า โครโมโซม (chromosome) โครโมโซมแต่ละโครโมโซม ประกอบด้วยแขน 2 ข้าง เรียกว่า โครมาทิด (chromatid) ซึ่ง แขนทั้งสองจะมีจุดเชื่อมกันเรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere)
  • 25. ในร่างกายคนมีโครโมโซมทั้งหมด 46 แท่ง มาจัดเป็นคู่ ได้ 23 คู่ โดยแบ่งได้เป็น 2 ชนิด 1. โครโมโซมร่างกาย (autosome) คือ โครโมโซมคู่ที่ 1-22 เหมือนกันทั้งหญิงและชาย 2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome) คือ โครโมโซม อีก 1 คู่ (คู่ที่ 23) สาหรับใน หญิงและชายจะต่างกัน โดยเพศ หญิง(XX) เพศชาย(XY) โดย โครโมโซม Y มีขนาดเล็กกว่า X
  • 26. สารพันธุกรรม มีสมบัติเป็นกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) มีหน่วยย่อยคือ นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ที่ประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต(Phosphate) น้าตาลเพนโทส(5C) และไนโตรจีนัสเบส (N-base) แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. DNA (Deoxyribonucleic acid) พบในนิวเคลียสของสิ่งมีชีวิตทั่วไป มีลักษณะเป็นสาย 2 สายพันกันเป็นเกลียววนขวา (double helix) มีหน่วยย่อย คือ ดีออกซิไรโบนิวคลีโอไทด์ (deoxyribonucleotide) ประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต , น้าตาลดีออกซิไรโบส(deoxyribose) และ ไนโตรจีนัสเบส (N-base) คือ Adenine(A), Thymine(T), Guanine(G), Cytosine(C) โดยทั้งสองสายมี การจับคู่กันระหว่างเบสคู่สมด้วยพันธะไฮโดรเจน ได้แก่ A = T และ C  G
  • 27. 2. RNA (Ribonucleic acid) ส่วนใหญ่จะพบในไซโทพลาสซึมของ สิ่งมีชีวิตทั่วไป และเป็นสารพันธุกรรม ของไวรัสบางชนิดเท่านั้น มีลักษณะ เป็นสายเดี่ยว มีหน่วยย่อยคือ ไรโบนิวคลีโอไทด์ (ribonucleotide) ซึ่งประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต, น้าตาล ไรโบส(ribose) และ N-base คือ Adenine(A), Uracine(U), Guanine(G), Cytosine(C)
  • 28.
  • 29.
  • 30. ยีนบนออโทโซม ยีนเด่นบนออโทโซม การถ่ายทอดนี้ จะถ่ายทอดจากชายหรือหญิงที่มียีนเด่น ทั้งคู่ (พันธุ์แท้) หรือมียีนเด่นคู่กับ ยีนด้อย (พันธุ์ทาง) เช่น คนแคระ โรคท้าวแสนปม ยีนด้อยบนออโทโซม การถ่ายทอดนี้จะ ถูกควบคุมโดยยีนด้อย ซึ่งเมื่อดูจาก ภายนอกทั้งพ่อและแม่มีลักษณะปกติ แต่มียีนด้อยแฝงอยู่ เรียกว่าเป็นพาหะ (carrier) ของลักษณะที่ผิดปกติ เช่น โรคทาลัสซีเมีย ลักษณะผิวเผือก
  • 31. ยีนบนโครโมโซมเพศ ลักษณะพันธุกรรมที่ผิดปกติถูก ควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ได้แก่ โรคตาบอดสี, โรคฮีโมฟิเลีย (เลือดไหลไม่หยุด) ลักษณะพันธุกรรมที่ผิดปกติถูก ควบคุมโดยยีนเด่นบนโครโมโซม X เช่น โรคมนุษย์หมาป่า
  • 32. ความผิดปกติของโครโมโซมกับโรคทางพันธุกรรม เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม ซึ่งความผิดปกติดังกล่าวแบ่ง ได้เป็น 2 แบบ คือ 1. ความผิดปกติของออโทโซม เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ ร่างกาย มีความผิดปกติ 2 ชนิด คือ 1.1 ความผิดปกติที่จานวนออโทโซมในบางคู่ที่เกินมาหรือขาด ไป 1 โครโมโซม จึงทาให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายทั้งหมดเป็น 47 หรือ 45 โครโมโซม ตัวอย่างความผิดปกติที่จานวนออโทโซมในบางคู่ เกินมา มีดังนี้
  • 33. กลุ่มอาการดาวน์ (Down's syndrome) เกิดจากความผิดปกติของ ออโทโซมโดยคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง ทาให้เด็กในระยะแรกเกิดจะมี ตัวอ่อนปวกเปียก ศีรษะแบน ดั้งจมูกแบน ตาห่าง และตาชี้ขึ้นบน ใบหูผิดรูป ปากปิดไม่สนิท มีลิ้นจุกปาก นิ้วมือสั้นป้อม เส้นลายมือ ขาด ที่เท้ามีช่องกว้างระหว่างนิ้วหัวแม่เท้าและนิ้วที่สอง ลายเท้า ผิดปกติ อาจมีหัวใจพิการแต่กาเนิด และปัญญาอ่อน อายุสั้น พ่อแม่ที่ มีอายุมากมีโอกาสเสี่ยงที่ลูกจะเป็นกลุ่มอาการดาวน์
  • 34. กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด (Edward's syndrome) เกิดจากความผิดปกติของ ออโทโซมคู่ที่ 18 เกินมา 1 แท่งลักษณะที่ปรากฏจะมีลักษณะหัวเล็ก หน้าผากแบน คางเว้า หูผิดปกติ ตาเล็ก นิ้วมือบิดงอ และกาเข้าหากัน แน่น หัวใจพิการ ปอดและระบบย่อยอาหารผิดปกติ มีลักษณะปัญญา อ่อนร่วมอยู่ด้วย ผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้มักจะเสียชีวิตก่อนอายุ 1 ขวบ
  • 35. กลุ่มอาการพาเทา (Patau's syndrome) เกิดจากความผิดปกติของ ออโทโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 แท่ง มีลักษณะ คือ มีอาการปัญญาอ่อน ปากแหว่ง เพดานโหว่ หูหนวก นิ้วเกิน ตาอาจพิการหรือตาบอด ส่วน ใหญ่อายุสั้นมาก
  • 36. 1.2 ความผิดปกติที่รูปร่างของออโทโซม เป็นความผิดที่ออโทโซมบาง โครโมโซมขาดหายไปบางส่วน เช่น โครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป 1 โครโมโซม แต่จานวนโครโมโซมเท่ากับคนปกติ คือ 46 แท่ง ตัวอย่างเช่น ความผิดปกติของโครโมโซมกับโรคทางพันธุกรรม (ต่อ)
  • 37. กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du-chat syndrome) เกิดจากแขนสั้น ของโครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป ลักษณะที่พบ คือ มีศีรษะเล็กกว่าปกติ หน้ากลม ใบหูต่ากว่าปกติ ตาห่าง มีอาการปัญญาอ่อน ลักษณะที่ เด่นชัดในกลุ่มอาการนี้คือ มีเสียงร้องแหลมเล็กคล้ายเสียงแมวร้อง จึง เรียกกลุ่มอาการนี้อีกอย่างหนึ่งว่า Cat-cry-syndrome
  • 38. 2. ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ ส่วนใหญ่เกิดจากจานวนโครโมโซม เพศ คือ โครโมโซม X หรือ โครโมโซม Y ขาดหายหรือเกินมาจาก ปกติ และยังถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปสู่ลูกหลานอีกด้วย ความผิดปกตินี้ แบ่งได้ 2 แบบ คือ 2.1 ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม X มี 2 กรณี ความผิดปกติของโครโมโซมกับโรคทางพันธุกรรม (ต่อ)
  • 39. กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ (Turner's syndrome) โครโมโซม X ขาดหายไป 1 โครโมโซม ทาให้ เหลือโครโมโซม X เพียงแท่งเดียว และเหลือ โครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 45 แท่ง พบได้ใน เพศหญิงเป็นแบบ 44+XO ลักษณะของผู้ป่วย คือ ตัวเตี้ย คอมีพังพืดกางเป็นปีก แนวผมท้าย ทอยอยู่ต่า หน้าอกกว้าง หัวนมเล็กและอยู่ห่าง กัน ใบหูใหญ่อยู่ต่ามีรูปร่างผิดปกติ แขนคอก รังไข่ไม่เจริญ ไม่มีประจาเดือน เป็นหมันมีอายุ ยืนยาวเท่าๆ กับคนปกติทั่วๆ ไป
  • 40. กลุ่มอาการซูเปอร์ฟีเมล (Super female) โครโมโซม X เกินมาจากปกติพบในเพศหญิง โครโมโซมเพศเป็น XXX หรือ XXXX จึงทา ให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนั้น โครโมโซมจึงเป็นแบบ 44+XXX หรือ 44+XXXX ลักษณะของผู้ป่วยในเพศหญิง ทั่วไปดูปกติ สติปัญญาต่ากว่าระดับปกติ ลูกที่ เกิดมาจากแม่ที่มีโครโมโซมแบบนี้อาจมีความ ผิดปกติเช่นเดียวกับแม่
  • 41. กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome) โครโมโซม X เกินมาจากปกติ พบในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็น XXY หรือ XXXY จึงทาให้มีโครโมโซมในเซลล์ร่างกาย เป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็น 44+XXY หรือ 44+XXXY ลักษณะของผู้ป่วยเพศชายจะมี ลักษณะคล้ายเพศหญิง สะโพกผาย หน้าอกโต จะสูงมากกว่าชายปกติ ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มีอสุจิ จึงทาให้เป็นหมัน
  • 42. 2.2 ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y เกิน มาจากปกติ ตัวอย่างเช่น ซูเปอร์เมน (Super men) โครโมโซมเพศเป็น XYY จึงทาให้ โครโมโซมเป็น 44+XYY ลักษณะของผู้ป่วยในเพศชายจะมี รูปร่างสูงใหญ่กว่าปกติ มีอารมณ์ร้าย โมโหง่าย บางรายมีจิตใจปกติ และไม่เป็นหมัน
  • 43. ความหลากหลายของสัตว์และพืชในท้องถิ่น สิ่งมีชีวิตบนโลกนี้มีจานวนมากมาย เฉพาะที่ได้รับการตั้งชื่อแล้ว มีประมาณ 2 ล้านชนิด เชื่อกันว่ายังมีสิ่งมีชีวิตอีกหลายล้านชนิดที่ รอการตั้งชื่อที่ยังไม่ค้นพบ รวมทั้งที่อาจกาลังสูญพันธุ์ไปในทุกนาที สิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อแล้วที่มีจานวนมากที่สุด ได้แก่ แมลง รองลงมา คือ สัตว์อื่นๆ และพืช สมัย อริสโตเติล (Aristotle) นักปรัชญากรีกโบราณ มนุษย์ เริ่มมีการศึกษารวบรวมความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
  • 44. • คาโรลัส ลินเนียส(Carolus Linneus) นักพฤกษศาสตร์ ชาวสวีเดน เป็นคนแรกที่พยายาม จัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด บนโลก และจาแนก เป็น 2 กลุ่ม คือ พืชและสัตว์ • โรเบิร์ต วิทเทคเกอร์ (Robert Whittaker) ได้เสนอ การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตเป็น 5 อาณาจักร ได้แก่ อาณาจักรพืช สัตว์ เห็ดรา โปรติสต์และแบคทีเรีย • ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อถือทฤษฎีการจัดสิ่งมีชีวิตเป็น 3 กลุ่มที่เรียกว่า 3 โดเมน ได้แก่ โดเมนแบคทีเรีย, โดเมนแบคทีเรียโบราณ และ โดเมนยูคาร์ยา
  • 45. โดเมน (Domain) แบ่งออกเป็น 1. โดเมนแบคทีเรีย (Domain Bacteria) ได้แก่ สิ่งมีชีวิตโปรคาริโอต กลุ่มแบคทีเรีย ซึ่งมีความหลากหลายมีจานวนมากที่สุดใน บรรดาสิ่งมีชีวิต ทั้งหมดในโลก 2. โดเมนแบคทีเรียโบราณ (Domain Archaea) ได้แก่ สิ่งมีชีวิต โปรคาริโอต กลุ่มแบคทีเรียโบราณ ซึ่งอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมรุนแรง เช่น ในน้าพุร้อน น้าเน่าเสีย หรือทะเลสาบน้าเค็มจัด 3. โดเมนยูคาร์ยา (Domain Eukaya) คือ สิ่งมีชีวิตยูคาริโอตทั้งหมด ได้แก่ พืช สัตว์ เห็ดรา และโปรติสต์
  • 46. Domain Archaea „ แบคทีเรียโบราณ ซึ่งทนต่อสภาวะแวดล้อมเลวร้าย เช่น ทนร้อน ทนกรด ทนเค็ม Bacteria „ แบคทีเรียทั่วไป เช่น cyanobacteria Eukaya „ Protista „ Fungi „ Plantae „ Animalia Prokaryotic cell Eukaryotic cell
  • 47. ความหลากหลายของพืช พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ทาหน้าที่เป็นผู้ผลิต (producer) ผลิตอาหารพวกน้าตาล แป้ง ให้กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นที่ไม่สามารถ สร้างอาหารเองได้ พืชมีวิวัฒนาการสืบเนื่องมาจากสาหร่ายเป็นเวลา กว่า 500 ล้านปีมาแล้ว ในปัจจุบันนักชีววิทยาสามารถจาแนก พืชได้เป็นหลายดิวชั่น (Division) ได้แก่
  • 48. Kingdom Plantae กลุ่มไม่มี ท่อลาเลียง Division Bryophyta Division Hepatophyta Division Anthocerophyta กลุ่มมี ท่อลาเลียง ไม่มีเมล็ด Division Psilophyta Division Lycophyta Division Spenophyta Division Pterophyta มีเมล็ด ไม่มีเปลือกหุ้มเมล็ด (gymnosperm) Division Coniferophyta Division Cycadophyta Division Ginkgophyta Division Gnetophytaมีเปลือกหุ้มเมล็ด (angiosperm) Division Anthophyta
  • 49. กลุ่มที่ไม่มีท่อลาเลียง Division Bryophyta คือ มอส Division Hepatophyta คือ ฮอร์นเวิร์ด Division Anthocerophyta คือ ลิเวอร์เวิร์ด
  • 50. กลุ่มที่มีท่อลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด Division Psilophyta เป็นพืชที่เริ่มมีท่อลาเลียงที่แท้จริง มีลาต้นขนาดเล็กเป็นเหลี่ยม แตกกิ่งเป็นคู่ๆ ไม่มีใบหรือ มีใบเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีรากแต่มีไรซอยด์ดูดน้าและเกลือแร่ ได้แก่ หวายทะนอย Division Lycophyta เป็นพืชที่มีราก มีใบ ขนาดเล็ก มีใบที่ยอดเรียงซ้อนกัน เรียกว่า strobilus ทาหน้าที่สร้างสปอร์ ได้แก่ ช้องนางคลี่ ตีนตุ๊กแก สร้อยสุกรม หางกระรอก กนกนารี
  • 51. กลุ่มที่มีท่อลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด Division Spenophyta เป็นพืชทีมีลา ต้นขนาดเล็กสีเขียว ต่อกันเป็นข้อและ ปล้องเห็นได้ชัดเจน ได้แก่ หญ้าถอดปล้อง หรือหญ้าหางม้า (equisetum) Division Pterophyta พืชในกลุ่มนี้คือ เฟิน เป็นพืชที่มีการสร้างสปอร์อยู่ภายใน อับสปอร์จานวนมากที่บริเวณใต้ใบ ได้แก่ ผักกูด ผักแว่น แหนแดง จอกหูหนู ชายผ้าสีดา เฟินก้างปลา เป็นต้น
  • 52. กลุ่มที่มีท่อลาเลียง มีเมล็ดแต่เมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม หรือ เมล็ดเปลือย (gymnosperm) Division Coniferophyta คือ สนสองใบ สนสามใบ Division Cycadophyta คือ ปรง Division Ginkgophyta คือ แปะก๊วย Division Gnetophyta คือ มะเมื่อย
  • 53. กลุ่มที่มีท่อลาเลียง มีเมล็ดที่มีเปลือกหุ้ม (angiosperm) Division Anthophyta พืชในกลุ่มนี้คือ พืชดอก เป็นพืชที่มีดอก เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้มได้แก่ สาหร่ายหางกระรอก กุหลาบ ชบา พลูด่าง เป็นต้น ซึ่งพืชในดิวิชันนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ พืชใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon) และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocotyledon)
  • 54. ความหลากหลายของสัตว์ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ เป็นพวกที่มีหลายเซลล์ เซลล์ จัดเรียงตัวกันเป็นเนื้อเยื่อ สัตว์ทุกชนิดไม่สามารถสร้างอาหารเอง ได้ ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น (heterotrophy) นัก ชีววิทยาแบ่งสัตว์ออกเป็นไฟลัม ดังนี้
  • 55. Phylum Porifera มีลาตัวเป็นรูพรุน มีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและ ไม่อาศัยเพศ เข่น ฟองน้า Coelenterata หรือ Cnidaria มีช่องว่างกลางลาตัวเป็นท่อกลวง มีอวัยวะคล้ายหนวดที่มีเข็มพิษ ไฮดรา แมงกระพรุน ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล
  • 56. Platyhelminthes เป็นสัตว์ที่มีลาตัวแบนยาว มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก เช่น พลานาเรีย พยาธิตัวตืด Nematoda มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ ไม่มีระบบเลือด มีเพศแยก เช่น พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิตัวจี๊ด พยาธิเส้นด้าย Annelida เป็นสัตว์ที่มีลาตัวกลมเป็นปล้องต่อกัน มีระบบเลือดส่วนใหญ่มี 2 เพศ เช่น ไส้เดือนดิน ทากดูดเลือด ปลิงน้าจืด แม่เพรียง
  • 57. Arthopoda มีเปลือกแข็งหุ้มลาตัว แบ่งลาตัวเป็น3ส่วน คือ หัว อก และท้อง มีหนวด มีรยางค์เป็นข้อปล้อง เช่น กุ้ง ปู แมงมุม แมงดา แมลง กิ้งกือ ตะเข็บ ตะขาบ Mollusca มีลาตัวนิ่ม มีเปลือกแข็งหุ้มภายนอก มีไตเป็นอวัยวะขับถ่าย เช่น หอย หมึก
  • 58. Echinodermata มีผิวหยาบขรุขระ มีเยื่อบางๆ หุ้มลาตัว ร่างกายเป็นแฉกออกจากลาตัวเป็นรัศมี อยู่ในทะเลทั้งหมด เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล ปลิงทะเล Chordata มีช่องเหงือก โนโตคอร์ด ท่อประสาทกลวงทางด้านหลัง และหาง ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของชีวิต เช่น เพรียงหัวหอม แลมเพรย์ แอมฟิออกซัส และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 59. ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) หมายถึง การประยุกต์ใช้ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตมาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของ มนุษย์ ด้วยการเพิ่มผลผลิต การพัฒนาลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้น ในสิ่งมีชีวิต โดยการนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพและ พันธุกรรมมาใช้ มีอยู่ 3 วิธี
  • 60. 1. การคัดเลือกพันธุ์ผสม แบ่งเป็น 2 วิธี คือ 1.1 การผสมภายในสายพันธุ์เดียวกัน (inbreeding) ทาโดยการนา สิ่งมีชีวิตสองตัวที่มีชุดอัลลีลที่เหมือนกันมีความคล้ายคลึงกันมาผสมกัน จะได้ สิ่งมีชีวิตที่มีความคล้ายคลึงกับรุ่นพ่อรุ่นแม่มาก แต่ก็มีข้อเสีย คือ - ลดโอกาสในรุ่นลูกในการที่จะได้รับถ่ายทอดคู่อัลลีลผสมคู่ใหม่ - เพิ่มโอกาสของการเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมมากขึ้น
  • 61. 1.2 การผสมข้ามสายพันธุ์ (hybridization) นาสิ่งมีชีวิตที่มีองค์ประกอบ ทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันมาผสมกัน แล้วคัดพันธุ์จากลูกผสมที่ได้รับ ลักษณะที่ดีที่สุดจากพ่อแม่มาเพาะพันธุ์ต่อไป
  • 62. 2. การโคลนหรือการเพาะพันธุ์จากเซลล์ การโคลน (clone) หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตขึ้นมาโดยไม่ต้องมีการ ปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมีย แต่ใช้เซลล์ร่างกายในการสร้าง สิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการโคลนจะมีองค์ประกอบทางพันธุกรรม เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตต้นกาเนิดทุกอย่าง เราสามารถโคลนสิ่งมีชีวิตได้ทั้งที่เป็นพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ การโคลนพืช ใช้วิธีการปักชา, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ฯลฯ การโคลนสัตว์ เป็นการกระทาที่ยากกว่าการโคลนพืช แต่นักวิทยาศาสตร์ ได้พยายามทดลองผลิตสัตว์ขึ้นมาโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การโคลนแกะของ ดร.เอียน วิลมุต (Dr.Ian Wilmut) ในการสร้างแกะดอลลี่
  • 63.
  • 64. 3. พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสาร พันธุกรรม เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตตามที่ต้องการ เป็นการนายีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปใส่ ให้กับดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง หรืออาจเรียกว่า "การตัดต่อแต่งยีน" ซึ่งประโยชน์ที่ ได้จากพันธุวิศวกรรม มีดังนี้ 1. การผลิตฮอร์โมน ปัจจุบันได้มีการผลิตฮอร์โมนในแบคทีเรีย และในยีสต์ เช่น อินซูลิน 2. การสร้างวัคซีน เช่น วัคซีนแก้โรคกลัวน้า โรคตับอักเสบ เป็นต้น 3. การผลิตชิ้นส่วนดีเอ็นเอ เพื่อตรวจสอบโรคทางพันธุกรรม 4. การปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่อให้สายพันธุ์ใหม่ หรือเพื่อผลิตวิตามินและยา 5. การปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ เพื่อให้ได้พืชที่มีความทนทานต่อแมลงศัตรูพืช ส่วนสัตว์เพื่อให้มีขนาดใหญ่และมีคุณค่าทางอาหารมากขึ้น 6. การรักษาด้วยยีน หรือยีนบาบัด (gene therapy) ทาได้โดยใส่ยีนจาลอง แบบที่สามารถเข้าไปในเซลล์ของบุคคล ซึ่งมีความผิดปกติทางพันธุกรรมนั้นๆ โดยตรง ซึ่งการรักษาวิธีนี้ยังคงอยู่ในขั้นของการทดลอง
  • 65.
  • 66.
  • 67. 7. การทาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ เทคนิคนี้นาไปใช้ในการแก้ปัญหาอาชญากรรม หรือพิสูจน์ตัวบุคคลได้ โดยจะต้องใช้การตัดตัวอย่างดีเอ็นเอให้แยกออกเป็นชิ้นเล็ก ชิ้นน้อย จากนั้นใช้กระแสไฟฟ้าช่วยแยกชิ้นส่วนออกจากกันตามขนาดเพื่อทารูปแบบ ให้เป็นแถบรูปแบบของแถบดีเอ็นเอ ซึ่งแต่ละคนจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตนที่ไม่ เหมือนใคร สามารถนารูปแบบของแถบดีเอ็นเอที่เก็บตัวอย่างได้ไปเปรียบเทียบกับ รูปแบบของแถบดีเอ็นเอของบุคคลผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ก่ออาชญากรรม หรืออาจ นาไปใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูก โดยนาดีเอ็นเอของพ่อและแม่มา เปรียบเทียบ 8. โครงการจีโนมของมนุษย์ โดย จีโนม (genome) หมายถึง ชุดของยีน หรือดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต หรือ DNA ที่มีอยู่ทั้งหมดในเซลล์หนึ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจุดประสงค์หลักของโครงการจีโนมของมนุษย์คือ การแสดงลาดับการเรียงตัวของยีน ทุกยีนที่มีอยู่ในจีโนมของมนุษย์