SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
~ ก ~
คำนำ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลาย
ทางชีวภาพ จัดทาขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551ในสาระที่1สิ่งมีชีวิต
กับกระบวนการดารงชีวิต มีทั้งหมด 7 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม
ชุดที่ 2 การแบ่งเซลล์
ชุดที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชุดที่ 4 ความผิดปกติทางพันธุกรรม
ชุดที่ 5 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
ชุดที่ 6 เทคโนโลยีชีวภาพ
ชุดที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ
เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้เป็นชุดที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม
ขอให้นักเรียนอ่านคาชี้แจงให้เข้าใจก่อน และปฏิบัติตามด้วยความซื่อสัตย์ต่อตนเอง เพื่อเป็นผลดี
ในการสร้างองค์ความรู้ที่ยั่งยืน
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการ
เรียนรู้ และเป็นส่วนสาคัญในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ต่างๆทางวิทยาศาสตร์
พรศิริ ทิพย์สันเทียะ
~ ข ~
คำแนะนำในกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน
สำหรับนักเรียน
เอกสารเล่มนี้ เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบการเรียน และเป็นเอกสารที่นักเรียนสามารถศึกษา
ได้ด้วยตนเอง ให้นักเรียนอ่านคาแนะนา ทาตามคาชี้แจงแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ นักเรียนจะ
ได้รับความรู้อย่างครบถ้วน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าเมื่อเรียนจบบทแล้ว นักเรียนสามารถเรียนรู้อะไร
ได้บ้าง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แล้วตรวจคาตอบที่เฉลยไว้ท้ายแบบกิจกรรมของแต่ละเรื่อง เพื่อให้รู้
ว่านักเรียนมีความรู้พื้นฐานมากน้อยเพียงใด
3. ศึกษาเอกสารและปฏิบัติกิจกรรมตามที่กาหนดไว้เพื่อเป็นการทบทวนให้มีความรู้ความเข้าใจ
ในเนื้อหามากยิ่งขึ้น
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจอีกครั้งหนึ่ง
~ ค ~
สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตัวชี้วัด
สำระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนกำรดำรงชีวิต
มำตรฐำน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผล
ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สำระที่ 8 ธรรมชำติของวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
มำตรฐำน ว8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด ว 1.2 ม. 4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทาง
พันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
~ ง ~
ขั้นตอนกำรดำเนินกิจกรรม
เรื่อง ลักษณะทำงพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม
ขั้นที่ 1 การสร้างความสนใจ (Engagement Phase) (เวลา 20 นาที)
1. ครูตั้งคาถามกระตุ้นความคิดแล้วให้นักเรียนตอบเพื่อนาเข้าสู่กิจกรรมที่ 1
- นักเรียนคิดว่านักเรียนมีความเหมือนหรือแตกต่างกับคนในครอบครัวบ้างหรือไม่ ?
- นักเรียนเหมือนใครในครอบครัวมากที่สุด ?
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโคโมโซม
ขั้นที่ 2 การสารวจและค้นคว้า (Exploration Phase) (เวลา 60 นาที)
1. นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและ
โครโมโซม
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติตามขั้นตอนในกิจกรรมที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรมที่
สังเกตเห็นได้
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติตามขั้นตอนในกิจกรรมที่ 2 การแปรผันทางพันธุกรรม
4. นักเรียนร่วมกันบันทึกผลและตอบคาถามท้ายกิจกรรมที่ 1 และกิจกรรมที่ 2
ขั้นที่ 3 การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase) (เวลา 60 นาที)
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
2. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นที่ 4 การขยายความรู้ (Elaboration Phase) (เวลา 20 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะ
ทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซมจากเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม
ยีน และโครโมโซม
ขั้นที่ 5 การประเมิน (Evaluation Phase) (เวลา 20 นาที)
1. นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
2. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม
โดยให้นักเรียนแต่ละคนตรวจคาตอบด้วยตนเอง
~ จ ~
สำระสำคัญ
ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) เป็นลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
ที่ถ่ายทอดจากพ่อ – แม่ สู่ลูกและหลาน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุม
ด้วยหน่วยพันธุกรรมหรือยีน (gene) ที่อยู่บนโครโมโซมซึ่งอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ จานวน
โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจะมีจานวนคงที่และเท่ากันเสมอในแต่ละสิ่งมีชีวิต โดยในเซลล์สืบพันธุ์
จะมีจานวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
หลังจากที่ศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมในเอกสารประกอบการเรียนนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
ทาสิ่งต่อไปนี้
1. อธิบายและยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปยังรุ่นต่างๆในสิ่งมีชีวิต
2. อธิบายและยกตัวอย่างประเภทของการแปรผันทางพันธุกรรม
3. อธิบายรูปร่างและลักษณะของยีนและโครโมโซม
4. บอกความแตกต่างระหว่างจานวนโครโมโซมของเซลล์ร่างกายกับเซลล์สืบพันธุ์ของคน
~ 1 ~
ลักษณะทำงพันธุกรรม (Genetic Character)
ยีน จากเซลล์สืบพันธุ์ เป็นตัวกาหนดลักษณะต่างๆของเซลล์ที่เกิดใหม่ พันธุกรรมจึงเป็น
สาเหตุสาคัญของความแตกต่างระหว่างบุคคล
พันธุกรรม หมายถึง ปรากฏการณ์ที่สิ่งมีชีวิตถ่ายทอดลักษณะต่างๆ จากรุ่นหนึ่งๆไปสู่อีก
รุ่นหนึ่ง เช่น จากพ่อแม่ ไปสู่ลูก จากปู่ ย่า ตา ยาย ไปสู่หลาน
ลักษณะทำงพันธุกรรม คือ ลักษณะต่ำงๆที่ได้รับกำรถ่ำยทอดจำกพันธุกรรม ได้แก่
1. ลักษณะทางกาย
- เพศ และลักษณะประจาเพศ
- สีผิว
- สีของนัยน์ตา
- สัดส่วนของร่างกาย เช่น อ้วน ผอม เตี้ย สูง จมูกแบน จมูกโด่ง เป็นต้น
- ระบบการทางานต่างๆของร่างกาย หรือความบกพร่องบางอย่าง เช่น โรคตาบอดสี
โรคธาลัสซีเมีย ฮีโมฟีเลีย เป็นต้น
2. ลักษณะทางจิต
- เชาวน์ หรือความฉลาด (Intelligence)
~ 2 ~
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในมนุษย์ เช่น สีผิว ความสูง ความฉลาด การห่อลิ้น
การมีติ่งหู และสัตว์ เช่น สีขน รูปร่าง ลักษณะโครงร่าง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในพืช
เช่น รูปร่างลักษณะของใบ ดอก จานวนกลีบดอก การเรียงตัวของใบ สามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่ง
ไปยังรุ่นต่อๆ ไปได้ ดังนั้นในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจึงมีความคล้ายคลึงกัน และถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตใน
ครอบครัวเดียวกันความคล้ายคลึงจะยิ่งมีมากยิ่งขึ้น ทาให้เกิดลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ขึ้น
แต่ลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออกมานั้นยังขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอก เช่น อาหาร อุณหภูมิ แสง
สว่าง ส่วนปัจจัยภายใน ได้แก่ ฮอร์โมนและระบบประสาท
ภำพที่ 1 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมของพืช (ดอกไม้)
ที่มา : /http://2.bp.blogspot.com
~ 3 ~
ภำพที่ 2 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมบำงอย่ำงของคน
ที่มา : https://pichayanakkaew.files.wordpress.com/2013/01/6.jpg
~ 4 ~
ภำพที่ 3 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมของสัตว์ (ยีรำฟ)
ที่มา : http://www.th.wikipedia.org/wiki/ไฟล์:South_African_Giraffes,_fighting.jpg
ภำพที่ 4 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมของแม่และลูก
ที่มำ: พรศิริ ทิพย์สันเทียะ
~ 5 ~
ตารางที่ 1 แสดงลักษณะทางพันธุกรรม (ลักษณะเด่นและลักษณะด้อย)
ที่มา : http://www.suthidajansong.files.wordpress.com/2013/01/9.jpg
~ 6 ~
กำรแปรผันทำงพันธุกรรม (Genetic Variation)
1. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation)
ลักษณะความแปรผันแบบต่อเนื่อง คือ ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความ
แตกต่างได้ชัดเจน เช่น ความสูง น้าหนัก สีผิว เป็นต้น เป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรม
และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูงของคน ถ้าได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ มีการออก
กาลังกายอย่างสม่าเสมอ จะทาให้ความสูงเพิ่มขึ้นได้แม้รุ่นพ่อแม่ไม่สูงก็ตาม
2. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation)
ลักษณะความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง คือ ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความ
แตกต่างได้ชัดเจน เช่น การมีลักยิ้มและไม่มีลักยิ้ม การมี ติ่งหูและไม่มีติ่งหู การห่อลิ้นได้และห่อ
ลิ้นไม่ได้การมีหมู่เลือด A , B, O และ AB การมีหนังตาชั้นเดียวและหนังตาสองชั้น เป็นต้น เป็น
ลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรมเพียงอย่างเดียว เท่านั้น
~ 7 ~
ยีนและโครโมโซม (Genes and Chromosome)
โครงสร้างที่พบอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์แต่ละเซลล์เรียกว่า โครโมโซม ในโครโมโซมมี
โมเลกุลของข้อมูลที่จาเป็นต่อการสร้างโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมเซลล์ โดยยีน
เป็นตัวกาหนดลักษณะของคนแต่ละคน เช่น สีผม สีตา ในระหว่างที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
เซลล์สืบพันธุ์เป็นตัวถ่ายยีนไปสู่รุ่นที่เกิดขึ้นใหม่
ภำพที่ 5 แสดงโครโมโซม
ที่มา : http://www.baanjomyut.com/library/heledity/01.jpg
~ 8 ~
ยีน (Gene)
ยีน คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม (chromosome) ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ
ของสิ่งมีชีวิต เช่น สีผิว ลักษณะเส้นผม ความสูง – ต่า ลักยิ้ม เป็นต้น แต่ละยีนจะควบคุม
ลักษณะต่างๆทางพันธุกรรมลักษณะเดียว ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมบางอย่างจะมี
2ชนิด คือ
ยีนเด่น คือ ยีนที่แสดงลักษณะนั้นออกมา แม้ว่าจะมียีนนั้นยีนเดียว
ยีนด้อย คือ ยีนที่จะแสดงลักษณะนั้นออกมาได้ก็ต่อเมื่อต้องมียีนนั้นทั้ง 2 ยีน
ภายในนิวเคลียสของเซลล์มีสารพันธุกรรม เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA) มีโครงสร้างเป็น
สายยาวๆพันเป็นเกลียวคู่เวียนขวา แต่ละสายจะประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์จานวนมาก แต่ละ
นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย น้าตาลเพนโทส ไนโตรจีนัสเบส หมู่ฟอสเฟต
ภำพที่ 6 แสดงตำแหน่งของยีนในสำยดีเอ็นเอ
ที่มา : http://www.bloggang.com/data/c/chamaipron/picture/1285512323.jpg
~ 9 ~
โครโมโซม (Chromosome)
เป็นโครงสร้างที่อยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ โดยเซลล์ของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วย นิวเคลียส
เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูนิวเคลียสของเซลล์ที่กาลังแบ่งตัวจะเห็น
โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นเส้นยาวๆ เล็กๆ ขดไปมา เรียกว่า โครมาติน เมื่อขดกันแน่นมากขึ้นและ
หดสั้นลง จะมีลักษณะเป็นแท่ง เรียกว่า โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วยแขน 2 ข้าง
เรียกว่า โครมาติด (chromatid) ซึ่งแขนทั้ง 2 จะมีจุดเชื่อมกันเรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere)
โครโมโซมแต่ละคู่มียีนควบคุม ลักษณะต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยยีนที่มาจากพ่อ 1 หน่วย และมาจาก
แม่อีก 1 หน่วย
ภำพที่ 7 แสดงลักษณะของโครโมโซม
ที่มา : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/dna/edit_image/chromosomeblue.jpg
~ 10 ~
จานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจะมีจานวนคงที่และเท่ากันเสมอในแต่ละสิ่งมีชีวิต โดย
จานวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีจานวนต่างกับจานวนโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์
โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีลักษณะเหมือนกันเป็นคู่ๆ แต่ละคู่เรียกว่า โฮโมโลกัสโครโมโซม
(Homologous Chromosome) จานวนโครโมโซมของเซลล์ร่างกาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกัน 2 ชุด
เขียนแทนด้วย 2n ส่วนเซลล์สืบพันธุ์มีจานวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย เขียน
แทนจานวนนี้ด้วย n ดังตาราง
ตารางที่ 2 แสดงจานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
จานวนโครโมโซม (แท่ง)
สิ่งมีชีวิต
จานวนโครโมโซม (แท่ง)
เซลล์ร่างกาย
(2n)
เซลล์สืบพันธุ์
(n)
เซลล์ร่างกาย
(2n)
เซลล์สืบพันธุ์
(n)
แมลงหวี่ 8 4 สุกร 40 20
ข้าวโพด 20 10 กระต่าย 44 22
กล้วย 22 11 มนุษย์ 46 23
แตงโม 22 11 วัว 60 30
ข้าว 24 12 ม้า 66 33
กบ 26 13 สุนัข 78 39
แมว 38 19 ไก่ 78 39
~ 11 ~
การศึกษาจานวนและรูปร่างโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต เช่น คน ทาโดยนาเซลล์ร่างกาย
เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาวบางชนิดมาศึกษา และนามาถ่ายภาพของโครโมโซม จากนั้นจึงนาภาพถ่าย
โครโมโซมมาจัดเรียงตามรูปร่าง ลักษณะ และขนาด โดยนาโครโมโซมที่มีรูปร่างลักษณะ
เหมือนกันและขนาดใกล้เคียงกันมาจัดไว้ในคู่เดียวกันเรียกว่า
โครโมโซมในร่างกายมนุษย์มี 46 แท่ง นามาจับคู่กันได้ 23 คู่ แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. ออโตโซม (autosome) คือ โครโมโซมที่แสดงลักษณะต่างๆของร่างกาย มีทั้งหมด 22
คู่ หากมีคู่ใดขาดหรือเกิน จะเกิดความผิดปกติกับร่างากาย
2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome) คือ โครโมโซมแสดงลักษณะเพศ โดยขึ้นอยู่กับ
โครโมโซมเพศทีมาจับคู่กัน โดยโครโมโซมที่มีแท่งขนาดใหญ่เรียกว่า โครโมโซม X
และโครโมโซมที่มีขนาดเล็กเรียกว่า โครโมโซม Y เมื่อมาจับคู่กัน คู่โครโมโซมเพศ
หญิงมีมีโครโมโซมเป็น XX และคู่โครโมโซมเพศชายจะมีโครโมโซมเป็น XY
ภำพที่ 8 แสดงโครโมโซมของเซลล์ร่ำงกำยในเพศชำย
ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555
~ 12 ~
ภำพที่ 9 แสดงโครโมโซมของเซลล์ร่ำงกำยในเพศหญิง
ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555
ในเพศชายมีโครโมโซมเพศหนึ่งแท่งขนาดใหญ่เรียกว่า โครโมโซม X และโครโมโซมเพศ
อีกแท่งหนึ่งมีขนาดเล็กเรียกว่า โครโมโซม Y สัญลักษณ์เพศชายคือ XY ส่วนโครโมโซมเพศของ
เพศหญิงเป็นโครโมโซม X เหมือนกันทั้งคู่ สัญลักษณ์เพศหญิงคือ XX
ภายในนิวเคลียสของแต่ละเซลล์ประกอบเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต จะมีจานวนโครโมโซม
เท่ากันหมดทุกเซลล์ เช่น ทุกๆ เซลล์ของร่างกายคนมีโครโมโซมจานวน 46 แท่ง ส่วนในเซลล์
สืบพันธุ์จะมีโครโมโซมเพียงครึ่งเดียวของเซลล์ร่างกายดังแผนภาพ
~ 13 ~
ภำพที่ 10 แสดงเซลล์สืบพันธุ์เพศชำยและเพศหญิง
ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555
เมื่อเซลล์อสุจิ (Sperm) ของพ่อและเซลล์ไข่ (Egg) ของแม่ ซึ่งมีโครโมโซมเซลล์ละ 23 แท่ง
มารวมกันเป็นเซลล์ใหม่ มีจานวนโครโมโซม 46 แท่ง ซึ่งเท่ากับเซลล์ร่างกายปกติดังรูป
ภำพที่ 11 แสดงจำนวนโครโมโซมภำยหลังกำรปฏิสนธิ
ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555
~ 14 ~
คำศัพท์กำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม
1. เซลล์สืบพันธุ์ (Gamete) หมายถึง อสุจิ (Sperm) เซลล์ไข่ (Egg Cell) และรวมถึง
โครงสร้างอื่นๆ ที่ทาหน้าที่เช่นเดียวกันซึ่งจะพบในพืช
2.ยีน(Gene)หมายถึง หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตซึ่งอยู่เป็นคู่
และจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูก โดยในทางพันธุศาสตร์ได้มีการกาหนดสัญลักษณ์แทนยีนไว้
หลายแบบ แต่ที่นิยมใช้คือ การใช้อักษรภาษาอังกฤษเป็นสัญลักษณ์แทนยีน เช่น อักษรภาษาอังกฤษ
ตัวพิมพ์ใหญ่แทน ยีนเด่น และตัวพิมพ์เล็กแทน ยีนด้อย
3. แอลลีล (Allele) หมายถึง ยีนต่างชนิดกันที่เข้าคู่กันได้โดยจะอยู่ในตาแหน่งเดียวกันของ
โครโมโซมที่เป็นคู่เหมือน (Homologous Chromosome) ซึ่งเป็นยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกัน
ตัวอย่างเช่น ลักษณะต้นสูงของต้นถั่วถูกควบคุมโดยยีน 2 แอลลีล คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น (T)
และยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย (t) ดังนั้น ยีน T จึงเป็นแอลลีลกับยีน t
4. โฮโมไซกัสยีน (Homozygous Gene) หมายถึง คู่ของยีนที่เหมือนกันอยู่ด้วยกันเพื่อ
ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น TT, tt, IAIA เป็นต้น โฮโมไซกัสยีน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พันธุ์
แท้ โฮโมไซกัสยีน แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
4.1 Homozygous Dominance หมายถึง คู่ของยีนเด่นที่เหมือนกันอยู่ด้วยกัน หรือ
เรียกว่าเป็นพันธุ์แท้ของลักษณะเด่น
4.2 Homozygous Recessive หมายถึง คู่ของยีนด้อยที่เหมือนกันอยู่ด้วยกัน หรือ
เรียกว่าเป็นพันธุ์แท้ของลักษณะด้อย
5. เฮเทอโรไซกัสยีน (Heterozygous Gene) หมายถึง คู่ของยีนที่ต่างกันอยู่ด้วยกันเพื่อควบคุม
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น Tt, Rr, IAiIAIB เป็นต้น เฮเทอโรไซกัสยีน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พันธุ์ทาง
~ 15 ~
6. ลักษณะเด่น (Dominance หรือ Dominant Trait) หมายถึง ลักษณะที่มีโอกาสปรากฏออกมาใน
รุ่นลูกและรุ่นต่อ ๆ ไปได้เสมอ ตัวอย่างเช่น ถ้านาสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะตรงข้ามกัน และเป็นพันธุ์แท้
ทั้ง 2 ฝ่ายมาผสมพันธุ์กัน เป็นต้นว่า นาถั่วต้นสูงพันธุ์แท้ผสมพันธุ์กับถั่วต้นเตี้ยพันธุ์แท้ลูกที่เกิดขึ้น
จะมีลักษณะต้นสูงทั้งหมด (แต่เป็นพันธุ์ทาง)และถ้านารุ่นลูกมาผสมพันธุ์กันเองรุ่นหลานที่เกิดขึ้นก็
ยังมีต้นสูงปรากฏอยู่อีก กรณีดังกล่าวจะถือว่า ถั่วต้นสูงเป็นลักษณะเด่น
7. ลักษณะด้อย (Recessive Trait) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาเฉพาะบางรุ่น และมี
โอกาสปรากฏออกมาได้น้อยกว่า (ลักษณะเด่น)
8. ฟีโนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ด้วยตา
เช่น สีของดอกถั่ว สีผิวของคน จานวนชั้นของหนังตา ลักษณะของเส้นผม หมู่เลือด เป็นต้น
9. จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง รูปแบบของยีนที่ควบคุมฟีโนไทป์ ต่างๆ เช่น จีโนไทป์ที่
ควบคุมความยาวของลาต้นถั่วมีได้3 แบบ ได้แก่ TT, Tt และ tt
~ 16 ~
บรรณำนุกรม
เกริก ท่วมกลาง และจินตนา ท่วมกลาง. (2555). กำรพัฒนำสื่อนวัตกรรมทำงกำรศึกษำเพื่อเลื่อน
วิทยฐำนะ.กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด. (2555). กำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม. สืบค้น 18 มีนาคม 2557,
จาก บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด: http://www.maceducation.com/e-knowledge/
2432210100/01.htm
บ้านจอมยุทธ. (2557). พันธุกรรม พันธุศำสตร์. สืบค้น 18 มีนาคม 2557, จาก บ้านจอมยุทธ:
http://www.baanjomyut.com/library/heledity/
ปรีชา สุวรรณพินิจ, นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และปิยดา สุวรรณพินิจ. (2553). ประมวลคำศัพท์
ชีววิทยำ ระดับมัธยมศึกษำ. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
รัฐศาสตร์ เกตุผาสุข. (2556). คู่มือเตรียมสอบ PAT ชีววิทยำ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ลาวัลย์ บัวแก้ว. (2557). ชีววิทยำ (พื้นฐำน) ม.4-5-6. นนทบุรี : ธิงค์บียอนด์ บุ๊คส์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน
ชีววิทยำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนที่เน้นวิทยำศำสตร์. กรุงเทพฯ
: สกสค. ลาดพร้าว.
อุษณีย์ ยศยิ่งยวด. (2554). พจนำนุกรมชีววิทยำ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

More Related Content

What's hot

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 

What's hot (20)

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 

Similar to การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around usAlisaYamba
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 

Similar to การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (20)

Aaa
AaaAaa
Aaa
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around us
 
1
11
1
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

  • 1.
  • 2. ~ ก ~ คำนำ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลาย ทางชีวภาพ จัดทาขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551ในสาระที่1สิ่งมีชีวิต กับกระบวนการดารงชีวิต มีทั้งหมด 7 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 2 การแบ่งเซลล์ ชุดที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชุดที่ 4 ความผิดปกติทางพันธุกรรม ชุดที่ 5 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ชุดที่ 6 เทคโนโลยีชีวภาพ ชุดที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้เป็นชุดที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม ขอให้นักเรียนอ่านคาชี้แจงให้เข้าใจก่อน และปฏิบัติตามด้วยความซื่อสัตย์ต่อตนเอง เพื่อเป็นผลดี ในการสร้างองค์ความรู้ที่ยั่งยืน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการ เรียนรู้ และเป็นส่วนสาคัญในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ต่างๆทางวิทยาศาสตร์ พรศิริ ทิพย์สันเทียะ
  • 3. ~ ข ~ คำแนะนำในกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน สำหรับนักเรียน เอกสารเล่มนี้ เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบการเรียน และเป็นเอกสารที่นักเรียนสามารถศึกษา ได้ด้วยตนเอง ให้นักเรียนอ่านคาแนะนา ทาตามคาชี้แจงแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ นักเรียนจะ ได้รับความรู้อย่างครบถ้วน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าเมื่อเรียนจบบทแล้ว นักเรียนสามารถเรียนรู้อะไร ได้บ้าง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แล้วตรวจคาตอบที่เฉลยไว้ท้ายแบบกิจกรรมของแต่ละเรื่อง เพื่อให้รู้ ว่านักเรียนมีความรู้พื้นฐานมากน้อยเพียงใด 3. ศึกษาเอกสารและปฏิบัติกิจกรรมตามที่กาหนดไว้เพื่อเป็นการทบทวนให้มีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหามากยิ่งขึ้น 4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจอีกครั้งหนึ่ง
  • 4. ~ ค ~ สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตัวชี้วัด สำระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนกำรดำรงชีวิต มำตรฐำน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผล ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สำระที่ 8 ธรรมชำติของวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มำตรฐำน ว8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถ อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว 1.2 ม. 4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทาง พันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 5. ~ ง ~ ขั้นตอนกำรดำเนินกิจกรรม เรื่อง ลักษณะทำงพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม ขั้นที่ 1 การสร้างความสนใจ (Engagement Phase) (เวลา 20 นาที) 1. ครูตั้งคาถามกระตุ้นความคิดแล้วให้นักเรียนตอบเพื่อนาเข้าสู่กิจกรรมที่ 1 - นักเรียนคิดว่านักเรียนมีความเหมือนหรือแตกต่างกับคนในครอบครัวบ้างหรือไม่ ? - นักเรียนเหมือนใครในครอบครัวมากที่สุด ? 2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโคโมโซม ขั้นที่ 2 การสารวจและค้นคว้า (Exploration Phase) (เวลา 60 นาที) 1. นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและ โครโมโซม 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติตามขั้นตอนในกิจกรรมที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรมที่ สังเกตเห็นได้ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติตามขั้นตอนในกิจกรรมที่ 2 การแปรผันทางพันธุกรรม 4. นักเรียนร่วมกันบันทึกผลและตอบคาถามท้ายกิจกรรมที่ 1 และกิจกรรมที่ 2 ขั้นที่ 3 การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase) (เวลา 60 นาที) 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรียน 2. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรม ขั้นที่ 4 การขยายความรู้ (Elaboration Phase) (เวลา 20 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะ ทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซมจากเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม ยีน และโครโมโซม ขั้นที่ 5 การประเมิน (Evaluation Phase) (เวลา 20 นาที) 1. นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่อง ยีนและโครโมโซม 2. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม โดยให้นักเรียนแต่ละคนตรวจคาตอบด้วยตนเอง
  • 6. ~ จ ~ สำระสำคัญ ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) เป็นลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ที่ถ่ายทอดจากพ่อ – แม่ สู่ลูกและหลาน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุม ด้วยหน่วยพันธุกรรมหรือยีน (gene) ที่อยู่บนโครโมโซมซึ่งอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ จานวน โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจะมีจานวนคงที่และเท่ากันเสมอในแต่ละสิ่งมีชีวิต โดยในเซลล์สืบพันธุ์ จะมีจานวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย จุดประสงค์กำรเรียนรู้ หลังจากที่ศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมในเอกสารประกอบการเรียนนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ ทาสิ่งต่อไปนี้ 1. อธิบายและยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปยังรุ่นต่างๆในสิ่งมีชีวิต 2. อธิบายและยกตัวอย่างประเภทของการแปรผันทางพันธุกรรม 3. อธิบายรูปร่างและลักษณะของยีนและโครโมโซม 4. บอกความแตกต่างระหว่างจานวนโครโมโซมของเซลล์ร่างกายกับเซลล์สืบพันธุ์ของคน
  • 7. ~ 1 ~ ลักษณะทำงพันธุกรรม (Genetic Character) ยีน จากเซลล์สืบพันธุ์ เป็นตัวกาหนดลักษณะต่างๆของเซลล์ที่เกิดใหม่ พันธุกรรมจึงเป็น สาเหตุสาคัญของความแตกต่างระหว่างบุคคล พันธุกรรม หมายถึง ปรากฏการณ์ที่สิ่งมีชีวิตถ่ายทอดลักษณะต่างๆ จากรุ่นหนึ่งๆไปสู่อีก รุ่นหนึ่ง เช่น จากพ่อแม่ ไปสู่ลูก จากปู่ ย่า ตา ยาย ไปสู่หลาน ลักษณะทำงพันธุกรรม คือ ลักษณะต่ำงๆที่ได้รับกำรถ่ำยทอดจำกพันธุกรรม ได้แก่ 1. ลักษณะทางกาย - เพศ และลักษณะประจาเพศ - สีผิว - สีของนัยน์ตา - สัดส่วนของร่างกาย เช่น อ้วน ผอม เตี้ย สูง จมูกแบน จมูกโด่ง เป็นต้น - ระบบการทางานต่างๆของร่างกาย หรือความบกพร่องบางอย่าง เช่น โรคตาบอดสี โรคธาลัสซีเมีย ฮีโมฟีเลีย เป็นต้น 2. ลักษณะทางจิต - เชาวน์ หรือความฉลาด (Intelligence)
  • 8. ~ 2 ~ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในมนุษย์ เช่น สีผิว ความสูง ความฉลาด การห่อลิ้น การมีติ่งหู และสัตว์ เช่น สีขน รูปร่าง ลักษณะโครงร่าง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในพืช เช่น รูปร่างลักษณะของใบ ดอก จานวนกลีบดอก การเรียงตัวของใบ สามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่ง ไปยังรุ่นต่อๆ ไปได้ ดังนั้นในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจึงมีความคล้ายคลึงกัน และถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตใน ครอบครัวเดียวกันความคล้ายคลึงจะยิ่งมีมากยิ่งขึ้น ทาให้เกิดลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ขึ้น แต่ลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออกมานั้นยังขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอก เช่น อาหาร อุณหภูมิ แสง สว่าง ส่วนปัจจัยภายใน ได้แก่ ฮอร์โมนและระบบประสาท ภำพที่ 1 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมของพืช (ดอกไม้) ที่มา : /http://2.bp.blogspot.com
  • 9. ~ 3 ~ ภำพที่ 2 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมบำงอย่ำงของคน ที่มา : https://pichayanakkaew.files.wordpress.com/2013/01/6.jpg
  • 10. ~ 4 ~ ภำพที่ 3 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมของสัตว์ (ยีรำฟ) ที่มา : http://www.th.wikipedia.org/wiki/ไฟล์:South_African_Giraffes,_fighting.jpg ภำพที่ 4 แสดงลักษณะทำงพันธุกรรมของแม่และลูก ที่มำ: พรศิริ ทิพย์สันเทียะ
  • 11. ~ 5 ~ ตารางที่ 1 แสดงลักษณะทางพันธุกรรม (ลักษณะเด่นและลักษณะด้อย) ที่มา : http://www.suthidajansong.files.wordpress.com/2013/01/9.jpg
  • 12. ~ 6 ~ กำรแปรผันทำงพันธุกรรม (Genetic Variation) 1. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation) ลักษณะความแปรผันแบบต่อเนื่อง คือ ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความ แตกต่างได้ชัดเจน เช่น ความสูง น้าหนัก สีผิว เป็นต้น เป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูงของคน ถ้าได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ มีการออก กาลังกายอย่างสม่าเสมอ จะทาให้ความสูงเพิ่มขึ้นได้แม้รุ่นพ่อแม่ไม่สูงก็ตาม 2. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) ลักษณะความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง คือ ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความ แตกต่างได้ชัดเจน เช่น การมีลักยิ้มและไม่มีลักยิ้ม การมี ติ่งหูและไม่มีติ่งหู การห่อลิ้นได้และห่อ ลิ้นไม่ได้การมีหมู่เลือด A , B, O และ AB การมีหนังตาชั้นเดียวและหนังตาสองชั้น เป็นต้น เป็น ลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรมเพียงอย่างเดียว เท่านั้น
  • 13. ~ 7 ~ ยีนและโครโมโซม (Genes and Chromosome) โครงสร้างที่พบอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์แต่ละเซลล์เรียกว่า โครโมโซม ในโครโมโซมมี โมเลกุลของข้อมูลที่จาเป็นต่อการสร้างโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมเซลล์ โดยยีน เป็นตัวกาหนดลักษณะของคนแต่ละคน เช่น สีผม สีตา ในระหว่างที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เซลล์สืบพันธุ์เป็นตัวถ่ายยีนไปสู่รุ่นที่เกิดขึ้นใหม่ ภำพที่ 5 แสดงโครโมโซม ที่มา : http://www.baanjomyut.com/library/heledity/01.jpg
  • 14. ~ 8 ~ ยีน (Gene) ยีน คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม (chromosome) ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น สีผิว ลักษณะเส้นผม ความสูง – ต่า ลักยิ้ม เป็นต้น แต่ละยีนจะควบคุม ลักษณะต่างๆทางพันธุกรรมลักษณะเดียว ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมบางอย่างจะมี 2ชนิด คือ ยีนเด่น คือ ยีนที่แสดงลักษณะนั้นออกมา แม้ว่าจะมียีนนั้นยีนเดียว ยีนด้อย คือ ยีนที่จะแสดงลักษณะนั้นออกมาได้ก็ต่อเมื่อต้องมียีนนั้นทั้ง 2 ยีน ภายในนิวเคลียสของเซลล์มีสารพันธุกรรม เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA) มีโครงสร้างเป็น สายยาวๆพันเป็นเกลียวคู่เวียนขวา แต่ละสายจะประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์จานวนมาก แต่ละ นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย น้าตาลเพนโทส ไนโตรจีนัสเบส หมู่ฟอสเฟต ภำพที่ 6 แสดงตำแหน่งของยีนในสำยดีเอ็นเอ ที่มา : http://www.bloggang.com/data/c/chamaipron/picture/1285512323.jpg
  • 15. ~ 9 ~ โครโมโซม (Chromosome) เป็นโครงสร้างที่อยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ โดยเซลล์ของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วย นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูนิวเคลียสของเซลล์ที่กาลังแบ่งตัวจะเห็น โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นเส้นยาวๆ เล็กๆ ขดไปมา เรียกว่า โครมาติน เมื่อขดกันแน่นมากขึ้นและ หดสั้นลง จะมีลักษณะเป็นแท่ง เรียกว่า โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วยแขน 2 ข้าง เรียกว่า โครมาติด (chromatid) ซึ่งแขนทั้ง 2 จะมีจุดเชื่อมกันเรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere) โครโมโซมแต่ละคู่มียีนควบคุม ลักษณะต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยยีนที่มาจากพ่อ 1 หน่วย และมาจาก แม่อีก 1 หน่วย ภำพที่ 7 แสดงลักษณะของโครโมโซม ที่มา : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/dna/edit_image/chromosomeblue.jpg
  • 16. ~ 10 ~ จานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจะมีจานวนคงที่และเท่ากันเสมอในแต่ละสิ่งมีชีวิต โดย จานวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีจานวนต่างกับจานวนโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์ โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีลักษณะเหมือนกันเป็นคู่ๆ แต่ละคู่เรียกว่า โฮโมโลกัสโครโมโซม (Homologous Chromosome) จานวนโครโมโซมของเซลล์ร่างกาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกัน 2 ชุด เขียนแทนด้วย 2n ส่วนเซลล์สืบพันธุ์มีจานวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย เขียน แทนจานวนนี้ด้วย n ดังตาราง ตารางที่ 2 แสดงจานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต จานวนโครโมโซม (แท่ง) สิ่งมีชีวิต จานวนโครโมโซม (แท่ง) เซลล์ร่างกาย (2n) เซลล์สืบพันธุ์ (n) เซลล์ร่างกาย (2n) เซลล์สืบพันธุ์ (n) แมลงหวี่ 8 4 สุกร 40 20 ข้าวโพด 20 10 กระต่าย 44 22 กล้วย 22 11 มนุษย์ 46 23 แตงโม 22 11 วัว 60 30 ข้าว 24 12 ม้า 66 33 กบ 26 13 สุนัข 78 39 แมว 38 19 ไก่ 78 39
  • 17. ~ 11 ~ การศึกษาจานวนและรูปร่างโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต เช่น คน ทาโดยนาเซลล์ร่างกาย เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาวบางชนิดมาศึกษา และนามาถ่ายภาพของโครโมโซม จากนั้นจึงนาภาพถ่าย โครโมโซมมาจัดเรียงตามรูปร่าง ลักษณะ และขนาด โดยนาโครโมโซมที่มีรูปร่างลักษณะ เหมือนกันและขนาดใกล้เคียงกันมาจัดไว้ในคู่เดียวกันเรียกว่า โครโมโซมในร่างกายมนุษย์มี 46 แท่ง นามาจับคู่กันได้ 23 คู่ แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1. ออโตโซม (autosome) คือ โครโมโซมที่แสดงลักษณะต่างๆของร่างกาย มีทั้งหมด 22 คู่ หากมีคู่ใดขาดหรือเกิน จะเกิดความผิดปกติกับร่างากาย 2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome) คือ โครโมโซมแสดงลักษณะเพศ โดยขึ้นอยู่กับ โครโมโซมเพศทีมาจับคู่กัน โดยโครโมโซมที่มีแท่งขนาดใหญ่เรียกว่า โครโมโซม X และโครโมโซมที่มีขนาดเล็กเรียกว่า โครโมโซม Y เมื่อมาจับคู่กัน คู่โครโมโซมเพศ หญิงมีมีโครโมโซมเป็น XX และคู่โครโมโซมเพศชายจะมีโครโมโซมเป็น XY ภำพที่ 8 แสดงโครโมโซมของเซลล์ร่ำงกำยในเพศชำย ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555
  • 18. ~ 12 ~ ภำพที่ 9 แสดงโครโมโซมของเซลล์ร่ำงกำยในเพศหญิง ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555 ในเพศชายมีโครโมโซมเพศหนึ่งแท่งขนาดใหญ่เรียกว่า โครโมโซม X และโครโมโซมเพศ อีกแท่งหนึ่งมีขนาดเล็กเรียกว่า โครโมโซม Y สัญลักษณ์เพศชายคือ XY ส่วนโครโมโซมเพศของ เพศหญิงเป็นโครโมโซม X เหมือนกันทั้งคู่ สัญลักษณ์เพศหญิงคือ XX ภายในนิวเคลียสของแต่ละเซลล์ประกอบเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต จะมีจานวนโครโมโซม เท่ากันหมดทุกเซลล์ เช่น ทุกๆ เซลล์ของร่างกายคนมีโครโมโซมจานวน 46 แท่ง ส่วนในเซลล์ สืบพันธุ์จะมีโครโมโซมเพียงครึ่งเดียวของเซลล์ร่างกายดังแผนภาพ
  • 19. ~ 13 ~ ภำพที่ 10 แสดงเซลล์สืบพันธุ์เพศชำยและเพศหญิง ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555 เมื่อเซลล์อสุจิ (Sperm) ของพ่อและเซลล์ไข่ (Egg) ของแม่ ซึ่งมีโครโมโซมเซลล์ละ 23 แท่ง มารวมกันเป็นเซลล์ใหม่ มีจานวนโครโมโซม 46 แท่ง ซึ่งเท่ากับเซลล์ร่างกายปกติดังรูป ภำพที่ 11 แสดงจำนวนโครโมโซมภำยหลังกำรปฏิสนธิ ที่มา : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, 2555
  • 20. ~ 14 ~ คำศัพท์กำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม 1. เซลล์สืบพันธุ์ (Gamete) หมายถึง อสุจิ (Sperm) เซลล์ไข่ (Egg Cell) และรวมถึง โครงสร้างอื่นๆ ที่ทาหน้าที่เช่นเดียวกันซึ่งจะพบในพืช 2.ยีน(Gene)หมายถึง หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตซึ่งอยู่เป็นคู่ และจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูก โดยในทางพันธุศาสตร์ได้มีการกาหนดสัญลักษณ์แทนยีนไว้ หลายแบบ แต่ที่นิยมใช้คือ การใช้อักษรภาษาอังกฤษเป็นสัญลักษณ์แทนยีน เช่น อักษรภาษาอังกฤษ ตัวพิมพ์ใหญ่แทน ยีนเด่น และตัวพิมพ์เล็กแทน ยีนด้อย 3. แอลลีล (Allele) หมายถึง ยีนต่างชนิดกันที่เข้าคู่กันได้โดยจะอยู่ในตาแหน่งเดียวกันของ โครโมโซมที่เป็นคู่เหมือน (Homologous Chromosome) ซึ่งเป็นยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ลักษณะต้นสูงของต้นถั่วถูกควบคุมโดยยีน 2 แอลลีล คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น (T) และยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย (t) ดังนั้น ยีน T จึงเป็นแอลลีลกับยีน t 4. โฮโมไซกัสยีน (Homozygous Gene) หมายถึง คู่ของยีนที่เหมือนกันอยู่ด้วยกันเพื่อ ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น TT, tt, IAIA เป็นต้น โฮโมไซกัสยีน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พันธุ์ แท้ โฮโมไซกัสยีน แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 4.1 Homozygous Dominance หมายถึง คู่ของยีนเด่นที่เหมือนกันอยู่ด้วยกัน หรือ เรียกว่าเป็นพันธุ์แท้ของลักษณะเด่น 4.2 Homozygous Recessive หมายถึง คู่ของยีนด้อยที่เหมือนกันอยู่ด้วยกัน หรือ เรียกว่าเป็นพันธุ์แท้ของลักษณะด้อย 5. เฮเทอโรไซกัสยีน (Heterozygous Gene) หมายถึง คู่ของยีนที่ต่างกันอยู่ด้วยกันเพื่อควบคุม ลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น Tt, Rr, IAiIAIB เป็นต้น เฮเทอโรไซกัสยีน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พันธุ์ทาง
  • 21. ~ 15 ~ 6. ลักษณะเด่น (Dominance หรือ Dominant Trait) หมายถึง ลักษณะที่มีโอกาสปรากฏออกมาใน รุ่นลูกและรุ่นต่อ ๆ ไปได้เสมอ ตัวอย่างเช่น ถ้านาสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะตรงข้ามกัน และเป็นพันธุ์แท้ ทั้ง 2 ฝ่ายมาผสมพันธุ์กัน เป็นต้นว่า นาถั่วต้นสูงพันธุ์แท้ผสมพันธุ์กับถั่วต้นเตี้ยพันธุ์แท้ลูกที่เกิดขึ้น จะมีลักษณะต้นสูงทั้งหมด (แต่เป็นพันธุ์ทาง)และถ้านารุ่นลูกมาผสมพันธุ์กันเองรุ่นหลานที่เกิดขึ้นก็ ยังมีต้นสูงปรากฏอยู่อีก กรณีดังกล่าวจะถือว่า ถั่วต้นสูงเป็นลักษณะเด่น 7. ลักษณะด้อย (Recessive Trait) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาเฉพาะบางรุ่น และมี โอกาสปรากฏออกมาได้น้อยกว่า (ลักษณะเด่น) 8. ฟีโนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ด้วยตา เช่น สีของดอกถั่ว สีผิวของคน จานวนชั้นของหนังตา ลักษณะของเส้นผม หมู่เลือด เป็นต้น 9. จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง รูปแบบของยีนที่ควบคุมฟีโนไทป์ ต่างๆ เช่น จีโนไทป์ที่ ควบคุมความยาวของลาต้นถั่วมีได้3 แบบ ได้แก่ TT, Tt และ tt
  • 22. ~ 16 ~ บรรณำนุกรม เกริก ท่วมกลาง และจินตนา ท่วมกลาง. (2555). กำรพัฒนำสื่อนวัตกรรมทำงกำรศึกษำเพื่อเลื่อน วิทยฐำนะ.กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์. บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด. (2555). กำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม. สืบค้น 18 มีนาคม 2557, จาก บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด: http://www.maceducation.com/e-knowledge/ 2432210100/01.htm บ้านจอมยุทธ. (2557). พันธุกรรม พันธุศำสตร์. สืบค้น 18 มีนาคม 2557, จาก บ้านจอมยุทธ: http://www.baanjomyut.com/library/heledity/ ปรีชา สุวรรณพินิจ, นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และปิยดา สุวรรณพินิจ. (2553). ประมวลคำศัพท์ ชีววิทยำ ระดับมัธยมศึกษำ. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง. รัฐศาสตร์ เกตุผาสุข. (2556). คู่มือเตรียมสอบ PAT ชีววิทยำ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ลาวัลย์ บัวแก้ว. (2557). ชีววิทยำ (พื้นฐำน) ม.4-5-6. นนทบุรี : ธิงค์บียอนด์ บุ๊คส์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน ชีววิทยำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนที่เน้นวิทยำศำสตร์. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว. อุษณีย์ ยศยิ่งยวด. (2554). พจนำนุกรมชีววิทยำ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.