SlideShare a Scribd company logo
นางศศิกญญา ดอนดีไพร
                   ั

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
วิธีโครมาโทกราฟีกระดาษ (paper chromatography) เป็นการแยก
ส่วนประกอบของสารละลายที่มีองค์ประกอบมากกว่า 2 ชนิด และเป็นสารที่มีสี การแยกสาร
โดยวิธีนี้จะอาศัยความสามารถในการละลายของสารที่เป็นองค์ประกอบในตัวทาละลาย และ
การถูกดูดซับบนตัวดูดซับที่แตกต่างกัน เนื่องจากสารองค์ประกอบมีการเคลื่อนที่ในตัวดูดซับ
ได้ไม่เท่ากัน จึงทาให้สารที่เป็นองค์ประกอบถูกแยกออกจากกัน สาหรับตัวดูดซับที่นิยมใช้กัน
ทั่วไป ได้แก่ ชอล์กและกระดาษกรอง
การแยกสารโดยวิธีนี้ทาได้โดยใช้ปลายของแท่งชอล์กหรือปลายของกระดาษกรองจุ่มสารละลาย
เพียงเล็กน้อย หรือจะใช้การหยดสารลงบนตัวดูดซับก็ได้ ถ้าในสารนั้นมีสารที่เป็น
องค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด จะสังเกตเห็นสีต่างๆ กระจายตัวออกมาตามระยะทางที่
สารละลายซึมผ่านขึ้นมา (แต่ละลีคือสาร 1 ชนิด) โดยสารที่ละลายได้น้อยในตัวทาละลายแต่
ถูกดูดซับได้มากจะเคลื่อนที่ขึ้นไปตามแท่งชอล์กหรือกระดาษกรองได้ช้ากว่าสารที่ละลายได้ดี
ในตัวทะละลายแต่ถูกดูดซับได้น้อย
วิธโครมาโทกราฟี ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน
                ี
             1. ตัวดูดซับหรือตัวดูดซึม เป็นส่วนที่ให้สารเคลื่อนที่แล้วปรากฏเป็นแถบสี
ตัวอย่างของตัวดูดซับ ได้แก่ กระดาษกรอง แท่งชอล์ก กระดาษซับ กระดาษโครมาโทก
ราฟี เป็นต้น
             2. ตัวทาละลาย เป็นของเหลวที่ทาหน้าที่ละลายองค์ประกอบของสารให้ออก
จากกัน แล้วสารแต่ละตัวจะเคลื่อนที่บนตัวดูดซับได้ตามความสามารถของสารนั้นๆ
ตัวอย่างของตัวทาละลายได้แก่ น้า น้าเกลือ แอลกอฮอล์ เป็นต้น
คุณสมบัติของสารละลายที่จะแยกสารต่างๆ โดยวิธีโครมาโทกราฟี
              1. เป็นสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลว
              2. เป็นสารละลายที่มีสี (ถ้าเป็นสารไม่มีสีต้องใช้เทคนิคที่ยากขึ้น)
ตัวอย่าง กรณีที่ 1 สารละลายสีชนิดหนึ่งประกอบด้วยสาร A, B, C เป็นตัวถูกละลาย ความสามารถในการละลายจาก
มากไปหาน้อย คือ A, B, C ตามลาดับ
         กรณีที่ 2 สารละลายสีชนิดหนึ่งประกอบด้วยสาร A, B, C เป็นตัวถูกละลาย ความสามารถในการถูกดูดซับ
โดยชอล์กหรือกระดาษกรองจากมากไปหาน้อย คือ A, B, C ตามลาดับ
ข้อดีของโครมาโทกราฟี
    1. สามารถแยกสารที่มีปริมาณน้อยได้           2. สามารถแยกได้ทั้งสารที่มีสี และไม่มีสี
     3. สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ (บอกได้ว่าสารที่แยกออกมา มีปริมาณเท่าใด) และคุณภาพวิเคราะห์ (บอกได้
ว่าสารนั้นเป็นสารชนิดใด)
     4. สามารถแยกสารผสมออกจากกันได้              5. สามารถแยกสารออกจากกระดาษกรองหรือตัวดูดซับโดยสกัด
ด้วยตัวทาละลาย
อัตราการเคลื่อนที่ของสาร หรือ Rf (Rate of flow)

                                 Rf = ระยะทางที่สารเคมีคลื่อนที่ (cm)
                                        ระยะทางทีตัวทาละลายเคลื่อนที่ (cm)
                                                  ่

           สารมีมีค่า Rf มาก แสดงว่าสารมีคุณสมบัติ                                    สบบัติของค่า Rf
        - สารเคลื่อนที่ได้เร็วหรือมาก - สารถูกดูดซับได้น้อย         1 ค่า Rf ไม่มีหน่วย
        - สารละลายได้ดี                                             2 ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น

                                                                    3 ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 1
              สารมีค่า Rf น้อย แสวงว่าสารมีสมบัติ
                                                                    4 ค่า Rf ขึ้นอยู่กับชนิดของสารและชนิดของตัว
    -    สารเคลื่อนได้ช้าหรือน้อย     - สารถูกดูดซับได้มาก
                                                                   ทาละลาย
- สารละลายได้น้อย
                                                                    5 ค่า Rf เป็นค่าเฉพาะค่าคงที่ของแต่ละสาร

                                                                                                    ตรงนี้มีคำตอบครับ
ใบงานเรือง โครมาโทกราฟี
                                                                   ่

          1. ถ้าเอาสารละลายที่เกิดจากเกลือ นาตาล และสารส้มละลายนา นักเรียนคิดว่า  ้                                               ้
สารละลายนีจะแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟี ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
                       ้
.........................................................................................................................................
2. สารละลายชนิดหนึงนาไปแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟี แล้วผลการทดลองที่ได้พบว่ามีสี
                                         ่
บนกระดาษกรองเป็ นสีแดงเพียงสีเดียว นักเรียนจะสรุปได้อย่างไร..........
.........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
3. ประโยชน์ของโครมาโทกราฟี ได้แก่อะไรบ้าง.....................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
4. ถ้านักเรียนใช้แผ่นแก้วเคลือบด้วยชอล์กแทนกระดาษในกิจกรรมได้หรือไม่
.......................................................................................................................................
5. ถ้าใช้กระดาษอื่นแทนกระดาษกรอง หรือของเหลวอื่นแทนนา ผลการทดลองที่ได้จะ                                             ้
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร......................................................................................
.........................................................................................................................................
เฉลยใบงาน
                                                           เรื่อง โครมาโทกราฟี



1. ถ้าเอาสารละลายที่เกิดจากเกลือ นาตาล และสารส้มละลายนา นักเรียนคิดว่าสารละลายนีจะแยก
                                                                        ้                                                ้                         ้
โดยวิธีโครมาโทกราฟี ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด.......ไม่ได้........................
......เพราะสารแต่ละชนิดที่ละลายน้านี้ไม่มีสี จึงมองไม่เห็น...................................................
2. สารละลายชนิดหนึงนาไปแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟี แล้วผลการทดลองที่ได้พบว่ามีสีบนกระดาษ
                                         ่
กรองเป็ นสีแดงเพียงสีเดียว นักเรียนจะสรุปได้อย่างไร...........................
.......สารละลายสีแดงนี้ มีสารที่ละลายอยู่เพียงอย่างเดียว.........................................................
3. ประโยชน์ของโครมาโทกราฟี ได้แก่อะไรบ้าง...1) ใช้แยกสารเนือเดียวที่มีสวนผสมมากกว่า. 2 ชนิด                            ้              ่
เพื่อให้ได้สารที่บริสทธิ์...2) ..ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหาปริมาณและชนิดของสาร
                                   ุ
....................................................................................................................................
4. ถ้านักเรียนใช้แผ่นแก้วเคลือบด้วยชอล์กแทนกระดาษในกิจกรรมได้หรือไม่........ได้
.....................................................................................................................................
5. ถ้าใช้กระดาษอื่นแทนกระดาษกรอง หรือของเหลวอื่นแทนนา ผลการทดลองที่ได้จะเหมือนหรือ                                   ้
แตกต่างกันอย่างไร.......อาจจะได้ผลการทดลองเหมือนหรือแตกต่างกันก็ได้ ขึนอยู่กบความสามารถใน                                               ้    ั
การละลายและถูกดูดซับของสาร.......................................
..................................................................................................................................................
แบบฝึกหัด
                                   เรื่อง โครมาโทกราฟี

คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ผิด

            1. วิธโครมาโทกราฟีเหมาะสาหรับการแยกองค์ประกอบของสารเนื้อเดียวที่มี
                  ี
   ส่วนประกอบตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปละลายอยู่ในของแข็ง

             2. สิ่งที่สาคัญที่ใช้ในวิธีโครมาโทกราฟีคือตัวดูดซับกับตัวทาละลาย

             3. สารที่ต้องการแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟีจะต้องมีคุณสมบัติในการเคลื่อนที่บนตัวดูดซับเท่าๆ กัน

             4. ข้อดีของวิธโครมาโทกราฟีคือ สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ และคุณภาพวิเคราะห์
                           ี

             5. สารที่แยกออกมาจากสารผสมได้ก่อนจะมีความสามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายที่ใช้ในการ
ทดลองแต่ถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับได้มากจึงสามารถเคลื่อนที่ไปได้ไกล
เฉลยแบบฝึกหัด


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ผิด
  ×        1. วิธโครมาโทกราฟีเหมาะสาหรับการแยกองค์ประกอบของสารเนื้อเดียวที่มี
                  ี
  ส่วนประกอบตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปละลายอยู่ในของแข็ง
          2. สิ่งที่สาคัญที่ใช้ในวิธีโครมาโทกราฟีคือตัวดูดซับกับตัวทาละลาย
   ×         3. สารที่ต้องการแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟีจะต้องมีคุณสมบัติในการเคลื่อนที่บนตัวดูดซับเท่าๆ กัน
           4. ข้อดีของวิธีโครมาโทกราฟีคือ สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์
   และคุณภาพวิเคราะห์
   ×           5. สารที่แยกออกมาจากสารผสมได้ก่อนจะมีความสามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายที่ใช้ในการทดลอง
แต่ถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับได้มากจึงสามารถเคลื่อนที่ไปได้ไกล
โครมาโทกราฟี

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
Kobwit Piriyawat
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
Dnavaroj Dnaka
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 

Similar to โครมาโทกราฟี

5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหาJoice Naka
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ PisaBiobiome
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
tassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
guestf57acc
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
guest9deb61
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
guestbf0238
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 

Similar to โครมาโทกราฟี (14)

5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 

More from ศศิกัญญา ดอนดีไพร (7)

การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 

โครมาโทกราฟี

  • 1. นางศศิกญญา ดอนดีไพร ั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
  • 2. วิธีโครมาโทกราฟีกระดาษ (paper chromatography) เป็นการแยก ส่วนประกอบของสารละลายที่มีองค์ประกอบมากกว่า 2 ชนิด และเป็นสารที่มีสี การแยกสาร โดยวิธีนี้จะอาศัยความสามารถในการละลายของสารที่เป็นองค์ประกอบในตัวทาละลาย และ การถูกดูดซับบนตัวดูดซับที่แตกต่างกัน เนื่องจากสารองค์ประกอบมีการเคลื่อนที่ในตัวดูดซับ ได้ไม่เท่ากัน จึงทาให้สารที่เป็นองค์ประกอบถูกแยกออกจากกัน สาหรับตัวดูดซับที่นิยมใช้กัน ทั่วไป ได้แก่ ชอล์กและกระดาษกรอง การแยกสารโดยวิธีนี้ทาได้โดยใช้ปลายของแท่งชอล์กหรือปลายของกระดาษกรองจุ่มสารละลาย เพียงเล็กน้อย หรือจะใช้การหยดสารลงบนตัวดูดซับก็ได้ ถ้าในสารนั้นมีสารที่เป็น องค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด จะสังเกตเห็นสีต่างๆ กระจายตัวออกมาตามระยะทางที่ สารละลายซึมผ่านขึ้นมา (แต่ละลีคือสาร 1 ชนิด) โดยสารที่ละลายได้น้อยในตัวทาละลายแต่ ถูกดูดซับได้มากจะเคลื่อนที่ขึ้นไปตามแท่งชอล์กหรือกระดาษกรองได้ช้ากว่าสารที่ละลายได้ดี ในตัวทะละลายแต่ถูกดูดซับได้น้อย
  • 3. วิธโครมาโทกราฟี ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน ี 1. ตัวดูดซับหรือตัวดูดซึม เป็นส่วนที่ให้สารเคลื่อนที่แล้วปรากฏเป็นแถบสี ตัวอย่างของตัวดูดซับ ได้แก่ กระดาษกรอง แท่งชอล์ก กระดาษซับ กระดาษโครมาโทก ราฟี เป็นต้น 2. ตัวทาละลาย เป็นของเหลวที่ทาหน้าที่ละลายองค์ประกอบของสารให้ออก จากกัน แล้วสารแต่ละตัวจะเคลื่อนที่บนตัวดูดซับได้ตามความสามารถของสารนั้นๆ ตัวอย่างของตัวทาละลายได้แก่ น้า น้าเกลือ แอลกอฮอล์ เป็นต้น
  • 4. คุณสมบัติของสารละลายที่จะแยกสารต่างๆ โดยวิธีโครมาโทกราฟี 1. เป็นสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลว 2. เป็นสารละลายที่มีสี (ถ้าเป็นสารไม่มีสีต้องใช้เทคนิคที่ยากขึ้น) ตัวอย่าง กรณีที่ 1 สารละลายสีชนิดหนึ่งประกอบด้วยสาร A, B, C เป็นตัวถูกละลาย ความสามารถในการละลายจาก มากไปหาน้อย คือ A, B, C ตามลาดับ กรณีที่ 2 สารละลายสีชนิดหนึ่งประกอบด้วยสาร A, B, C เป็นตัวถูกละลาย ความสามารถในการถูกดูดซับ โดยชอล์กหรือกระดาษกรองจากมากไปหาน้อย คือ A, B, C ตามลาดับ ข้อดีของโครมาโทกราฟี 1. สามารถแยกสารที่มีปริมาณน้อยได้ 2. สามารถแยกได้ทั้งสารที่มีสี และไม่มีสี 3. สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ (บอกได้ว่าสารที่แยกออกมา มีปริมาณเท่าใด) และคุณภาพวิเคราะห์ (บอกได้ ว่าสารนั้นเป็นสารชนิดใด) 4. สามารถแยกสารผสมออกจากกันได้ 5. สามารถแยกสารออกจากกระดาษกรองหรือตัวดูดซับโดยสกัด ด้วยตัวทาละลาย
  • 5. อัตราการเคลื่อนที่ของสาร หรือ Rf (Rate of flow) Rf = ระยะทางที่สารเคมีคลื่อนที่ (cm) ระยะทางทีตัวทาละลายเคลื่อนที่ (cm) ่ สารมีมีค่า Rf มาก แสดงว่าสารมีคุณสมบัติ สบบัติของค่า Rf - สารเคลื่อนที่ได้เร็วหรือมาก - สารถูกดูดซับได้น้อย 1 ค่า Rf ไม่มีหน่วย - สารละลายได้ดี 2 ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น 3 ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 1 สารมีค่า Rf น้อย แสวงว่าสารมีสมบัติ 4 ค่า Rf ขึ้นอยู่กับชนิดของสารและชนิดของตัว - สารเคลื่อนได้ช้าหรือน้อย - สารถูกดูดซับได้มาก ทาละลาย - สารละลายได้น้อย 5 ค่า Rf เป็นค่าเฉพาะค่าคงที่ของแต่ละสาร ตรงนี้มีคำตอบครับ
  • 6. ใบงานเรือง โครมาโทกราฟี ่ 1. ถ้าเอาสารละลายที่เกิดจากเกลือ นาตาล และสารส้มละลายนา นักเรียนคิดว่า ้ ้ สารละลายนีจะแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟี ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ้ ......................................................................................................................................... 2. สารละลายชนิดหนึงนาไปแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟี แล้วผลการทดลองที่ได้พบว่ามีสี ่ บนกระดาษกรองเป็ นสีแดงเพียงสีเดียว นักเรียนจะสรุปได้อย่างไร.......... ......................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ 3. ประโยชน์ของโครมาโทกราฟี ได้แก่อะไรบ้าง..................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 4. ถ้านักเรียนใช้แผ่นแก้วเคลือบด้วยชอล์กแทนกระดาษในกิจกรรมได้หรือไม่ ....................................................................................................................................... 5. ถ้าใช้กระดาษอื่นแทนกระดาษกรอง หรือของเหลวอื่นแทนนา ผลการทดลองที่ได้จะ ้ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร...................................................................................... .........................................................................................................................................
  • 7. เฉลยใบงาน เรื่อง โครมาโทกราฟี 1. ถ้าเอาสารละลายที่เกิดจากเกลือ นาตาล และสารส้มละลายนา นักเรียนคิดว่าสารละลายนีจะแยก ้ ้ ้ โดยวิธีโครมาโทกราฟี ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด.......ไม่ได้........................ ......เพราะสารแต่ละชนิดที่ละลายน้านี้ไม่มีสี จึงมองไม่เห็น................................................... 2. สารละลายชนิดหนึงนาไปแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟี แล้วผลการทดลองที่ได้พบว่ามีสีบนกระดาษ ่ กรองเป็ นสีแดงเพียงสีเดียว นักเรียนจะสรุปได้อย่างไร........................... .......สารละลายสีแดงนี้ มีสารที่ละลายอยู่เพียงอย่างเดียว......................................................... 3. ประโยชน์ของโครมาโทกราฟี ได้แก่อะไรบ้าง...1) ใช้แยกสารเนือเดียวที่มีสวนผสมมากกว่า. 2 ชนิด ้ ่ เพื่อให้ได้สารที่บริสทธิ์...2) ..ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหาปริมาณและชนิดของสาร ุ .................................................................................................................................... 4. ถ้านักเรียนใช้แผ่นแก้วเคลือบด้วยชอล์กแทนกระดาษในกิจกรรมได้หรือไม่........ได้ ..................................................................................................................................... 5. ถ้าใช้กระดาษอื่นแทนกระดาษกรอง หรือของเหลวอื่นแทนนา ผลการทดลองที่ได้จะเหมือนหรือ ้ แตกต่างกันอย่างไร.......อาจจะได้ผลการทดลองเหมือนหรือแตกต่างกันก็ได้ ขึนอยู่กบความสามารถใน ้ ั การละลายและถูกดูดซับของสาร....................................... ..................................................................................................................................................
  • 8. แบบฝึกหัด เรื่อง โครมาโทกราฟี คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ผิด 1. วิธโครมาโทกราฟีเหมาะสาหรับการแยกองค์ประกอบของสารเนื้อเดียวที่มี ี ส่วนประกอบตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปละลายอยู่ในของแข็ง 2. สิ่งที่สาคัญที่ใช้ในวิธีโครมาโทกราฟีคือตัวดูดซับกับตัวทาละลาย 3. สารที่ต้องการแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟีจะต้องมีคุณสมบัติในการเคลื่อนที่บนตัวดูดซับเท่าๆ กัน 4. ข้อดีของวิธโครมาโทกราฟีคือ สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ และคุณภาพวิเคราะห์ ี 5. สารที่แยกออกมาจากสารผสมได้ก่อนจะมีความสามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายที่ใช้ในการ ทดลองแต่ถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับได้มากจึงสามารถเคลื่อนที่ไปได้ไกล
  • 9. เฉลยแบบฝึกหัด คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ผิด × 1. วิธโครมาโทกราฟีเหมาะสาหรับการแยกองค์ประกอบของสารเนื้อเดียวที่มี ี ส่วนประกอบตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปละลายอยู่ในของแข็ง  2. สิ่งที่สาคัญที่ใช้ในวิธีโครมาโทกราฟีคือตัวดูดซับกับตัวทาละลาย × 3. สารที่ต้องการแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟีจะต้องมีคุณสมบัติในการเคลื่อนที่บนตัวดูดซับเท่าๆ กัน  4. ข้อดีของวิธีโครมาโทกราฟีคือ สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ และคุณภาพวิเคราะห์ × 5. สารที่แยกออกมาจากสารผสมได้ก่อนจะมีความสามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายที่ใช้ในการทดลอง แต่ถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับได้มากจึงสามารถเคลื่อนที่ไปได้ไกล