SlideShare a Scribd company logo
สรุปความรู้เรื่องพันธุกรรม
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ยกเว้น ฝาแฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน    -  ยีน  (gene)   เป็นสิ่งที่กำหนดลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต   -  โครโมโซม  (chromosome)  คือ ส่วนที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต  -  พืช และ สัตว์ จะมีโครโมโซมอยู่ใน นิวเคลียส  ยกเว้น โพรคาริโอติกเซลล์  (  ซึ่งไม่มีนิวเคลียส  )  จะมีโครโมโซมอยู่ในบริเวณ กลางเซลล์   -  จำนวนโครโมโซมในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จะ แตกต่าง กัน เช่น    แมว มี โครโมโซม  38  แท่ง สุนัข มี โครโมโซม  78  แท่ง คน มี โครโมโซม  46  แท่ง
โครโมโซมของมนุษย์ -  เซลล์ร่างกายมีโครโมโซม  46  แท่ง -  แต่ เซลล์สืบพันธุ์  ( ไข่หรือสเปิร์ม )  มีโครโมโซมครึ่งเดียวคือ  23  แท่ง
 
โครโมโซมแบ่งเป็น  2  ประเภท คือ  1.  ออโตโซม 2.  โครโมโซมเพศ  โครโมโซมของมนุษย์ 1.  ออโตโซม  มี  44  แท่ง  2.  โครโมโซมเพศ มี  2  แท่ง ซึ่ง  เพศหญิง มีโครโมโซม  XX     เพศชาย มีโครโมโซม  XY
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
-  ดังนั้นเพศของทารกจึงถูกกำหนดโดยโครโมโซมเพศของ สเปิร์ม ( อสุจิ )
ยีน  ( gene ) -  มีอยู่จำนวนมากในโครโมโซมแท่งหนึ่ง ๆ -  เป็นหน่วยของ การถ่ายทอด และ ควบคุม  ลักษณะของพันธุกรรม  จากพ่อแม่ไปสู่ลูก  -  ยีนควบคุมลักษณะต่าง ๆ เช่น  ความสูง  สีตา  สีผม สติปัญญา  หมู่เลือด
ความผิดปกติทางพันธุกรรมเนื่องจาก 1.  จำนวนโครโมโซมมีน้อยหรือมากกว่าปกติ  2.  การเปลี่ยนแปลงของหน่วยพันธุกรรม ( ยีน )
1.  จำนวนโครโมโซมมีน้อยหรือมากกว่าปกติ  มักเกิดกับลูกที่มีแม่อายุน้อยหรือมากเกินไป ซึ่งโครโมโซมของเซลล์ไข่อาจผิดปกติ ได้แก่ 1.1  กลุ่มอาการเทอร์เนอร์   พบ ในเพศหญิงที่ โครโมโซมเพศ  X  หาย ไป  1  แท่ง  (  X O  ) 1.2  กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์     พบในเพศชายที่มี โครโมโซมเพศ  X   เกินมา   1  แท่ง  (  X XY)   1.3  กลุ่มอาการดาวน์   เกิดจาก ออโตโซมคู่ ที่  21  มี  3  แท่ง    (  21 – trisomy  )  อาจพบได้ในมารดาที่มีลูก  เมื่ออายุมาก
2.  การเปลี่ยนแปลงของหน่วยพันธุกรรม ( ยีน )  เกิดมิวเตชั่น  หรือ การกลายพันธุ์ หรือ การผ่าเหล่า ทำให้ยีนสังเคราะห์โปรตีนอย่างผิดปกติ  การกลายพันธุ์   ถ้าเกิดกับ  :  เซลล์สืบพันธุ์ จะถ่ายทอดไปยังลูกหลาน :  เซลล์ร่างกาย  จะไม่ถ่ายทอดไปยังลูกหลาน มิวเตชั่น อาจเกิดจาก  :   สารเคมี เช่น โซเดียมไนไตรท์  ยากำจัดศัตรูพืชหรือยาฆ่าแมลงบางชนิด  สารเสพติดบางชนิด โลหะหนัก  เช่น ตะกั่ว  ปรอท  รังสี  X  รังสี  UV   หรือเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
2.2  ซิกเกิลเซลล์อะมีเนีย -  เกิดจากยีนในออโตโซมผิดปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดงเปลี่ยนรูปจากกลมเป็นรูปเคียว  แตกง่าย และมีปริมาณโกลบินไม่สมดุล พบว่า ผู้ป่วยโรคนี้ ต้านทานโรคมาเลเรีย ได้ดี 2.1  ฮันทิงตัน โคเรีย -  เกิดจากยีนในออโตโซม ผิดปกติ อาการจะเริ่มในวัย  35-45  ปี โดยมีอาการความจำเสื่อม  เดินเซ  ไม่สามารถพูดหรืออ่านหนังสือได้  สุขภาพอ่อนแอติดเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ง่าย ตัวอย่างโรค
2.5   ธาลัสซีเมีย     พบมากที่สุด  เกิดจากยีนในออโตโซมผิดปกติ  โรคนี้มีปริมาณโกลบินน้อย ผู้ป่วยจะมีตับม้ามโต  เพราะต้องสร้างเม็ดเลือดทดแทน มากกว่าปกติ และมีความ ต้านทานเชื้อมาเลเรีย ได้ดี 2.3  โรคตาบอดสี     เกิดจากยีนบนโครโมโซม  X   ผิดปกติ ส่วนใหญ่คนจะตาบอด สีแดง และ สีเขียว 2.4  โรคฮีโมฟีเลีย     เกิดจากยีนบนโครโมโซม  X   ผิดปกติ ทำให้แผลมีเลือดไหลออกง่าย และแข็งตัวช้า
ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม   (genetic engineering) พันธุวิศวกรรมเป็นกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ สิ่งมีชีวิตพันธุ์  ( species)  หนึ่ง โดยนำยีนจากอีกชนิดพันธุ์หนึ่ง ถ่ายฝากเข้าไป เพื่อจุดประสงค์ที่จะให้สามารถทำงานได้ดีขึ้น
1.  การปรับปรุงพันธุ์พืชให้ต้านทานโรคและแมลง  2.  การพัฒนาพันธุ์พืชให้มีคุณภาพผลผลิตดี 3.  การพัฒนาพันธุ์พืชใช้ผลิตสารพิเศษ เช่น สารที่เป็น  ประโยชน์ต่างๆ ที่มีคุณค่าทางอาหารสูง  4.  การพัฒนาพันธุ์สัตว์ มีการพัฒนาพันธุ์โดยการถ่ายฝากยีน  5.  การพัฒนาสารพันธุ์จุลินทรีย์ให้มีคุณลักษณะพิเศษ   บางอย่างเช่นให้สามารถกำจัดคราบน้ำมันได้ดี
ประโยชน์ของพันธุศาสตร์ทางด้านอื่นๆมีอีกมากมาย  ให้นักเรียนสืบค้นความรู้เพิ่มเติมนะคะ

More Related Content

What's hot

การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
sukanya petin
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
Prachoom Rangkasikorn
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรมJiraporn Chaimongkol
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
kasidid20309
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
kasocute
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
Chay Kung
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
ssuser920267
 

What's hot (20)

การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 

Similar to สรุปความรู้

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
rathachokharaluya
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
Dom ChinDom
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptx
Kru Bio Hazad
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
KAIDAWZ
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
kaew3920277
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Similar to สรุปความรู้ (20)

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptx
 
1
11
1
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 

More from Jiraporn

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013Jiraporn
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
Jiraporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolJiraporn
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานJiraporn
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพJiraporn
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ Jiraporn
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305Jiraporn
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าJiraporn
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
Attachment
AttachmentAttachment
AttachmentJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพJiraporn
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 

More from Jiraporn (20)

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
M3 91c
M3 91cM3 91c
M3 91c
 
M3 91d
M3 91dM3 91d
M3 91d
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Eco1
Eco1Eco1
Eco1
 
Attachment
AttachmentAttachment
Attachment
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 

สรุปความรู้

  • 2. สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ยกเว้น ฝาแฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน - ยีน (gene) เป็นสิ่งที่กำหนดลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต - โครโมโซม (chromosome) คือ ส่วนที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต - พืช และ สัตว์ จะมีโครโมโซมอยู่ใน นิวเคลียส ยกเว้น โพรคาริโอติกเซลล์ ( ซึ่งไม่มีนิวเคลียส ) จะมีโครโมโซมอยู่ในบริเวณ กลางเซลล์ - จำนวนโครโมโซมในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จะ แตกต่าง กัน เช่น แมว มี โครโมโซม 38 แท่ง สุนัข มี โครโมโซม 78 แท่ง คน มี โครโมโซม 46 แท่ง
  • 3. โครโมโซมของมนุษย์ - เซลล์ร่างกายมีโครโมโซม 46 แท่ง - แต่ เซลล์สืบพันธุ์ ( ไข่หรือสเปิร์ม ) มีโครโมโซมครึ่งเดียวคือ 23 แท่ง
  • 4.  
  • 5. โครโมโซมแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ออโตโซม 2. โครโมโซมเพศ โครโมโซมของมนุษย์ 1. ออโตโซม มี 44 แท่ง 2. โครโมโซมเพศ มี 2 แท่ง ซึ่ง เพศหญิง มีโครโมโซม XX เพศชาย มีโครโมโซม XY
  • 6.
  • 7.  
  • 9. ยีน ( gene ) - มีอยู่จำนวนมากในโครโมโซมแท่งหนึ่ง ๆ - เป็นหน่วยของ การถ่ายทอด และ ควบคุม ลักษณะของพันธุกรรม จากพ่อแม่ไปสู่ลูก - ยีนควบคุมลักษณะต่าง ๆ เช่น ความสูง สีตา สีผม สติปัญญา หมู่เลือด
  • 10. ความผิดปกติทางพันธุกรรมเนื่องจาก 1. จำนวนโครโมโซมมีน้อยหรือมากกว่าปกติ 2. การเปลี่ยนแปลงของหน่วยพันธุกรรม ( ยีน )
  • 11. 1. จำนวนโครโมโซมมีน้อยหรือมากกว่าปกติ มักเกิดกับลูกที่มีแม่อายุน้อยหรือมากเกินไป ซึ่งโครโมโซมของเซลล์ไข่อาจผิดปกติ ได้แก่ 1.1 กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ พบ ในเพศหญิงที่ โครโมโซมเพศ X หาย ไป 1 แท่ง ( X O ) 1.2 กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ พบในเพศชายที่มี โครโมโซมเพศ X เกินมา 1 แท่ง ( X XY) 1.3 กลุ่มอาการดาวน์ เกิดจาก ออโตโซมคู่ ที่ 21 มี 3 แท่ง ( 21 – trisomy ) อาจพบได้ในมารดาที่มีลูก เมื่ออายุมาก
  • 12. 2. การเปลี่ยนแปลงของหน่วยพันธุกรรม ( ยีน ) เกิดมิวเตชั่น หรือ การกลายพันธุ์ หรือ การผ่าเหล่า ทำให้ยีนสังเคราะห์โปรตีนอย่างผิดปกติ การกลายพันธุ์ ถ้าเกิดกับ : เซลล์สืบพันธุ์ จะถ่ายทอดไปยังลูกหลาน : เซลล์ร่างกาย จะไม่ถ่ายทอดไปยังลูกหลาน มิวเตชั่น อาจเกิดจาก : สารเคมี เช่น โซเดียมไนไตรท์ ยากำจัดศัตรูพืชหรือยาฆ่าแมลงบางชนิด สารเสพติดบางชนิด โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท รังสี X รังสี UV หรือเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
  • 13. 2.2 ซิกเกิลเซลล์อะมีเนีย - เกิดจากยีนในออโตโซมผิดปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดงเปลี่ยนรูปจากกลมเป็นรูปเคียว แตกง่าย และมีปริมาณโกลบินไม่สมดุล พบว่า ผู้ป่วยโรคนี้ ต้านทานโรคมาเลเรีย ได้ดี 2.1 ฮันทิงตัน โคเรีย - เกิดจากยีนในออโตโซม ผิดปกติ อาการจะเริ่มในวัย 35-45 ปี โดยมีอาการความจำเสื่อม เดินเซ ไม่สามารถพูดหรืออ่านหนังสือได้ สุขภาพอ่อนแอติดเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ง่าย ตัวอย่างโรค
  • 14. 2.5 ธาลัสซีเมีย พบมากที่สุด เกิดจากยีนในออโตโซมผิดปกติ โรคนี้มีปริมาณโกลบินน้อย ผู้ป่วยจะมีตับม้ามโต เพราะต้องสร้างเม็ดเลือดทดแทน มากกว่าปกติ และมีความ ต้านทานเชื้อมาเลเรีย ได้ดี 2.3 โรคตาบอดสี เกิดจากยีนบนโครโมโซม X ผิดปกติ ส่วนใหญ่คนจะตาบอด สีแดง และ สีเขียว 2.4 โรคฮีโมฟีเลีย เกิดจากยีนบนโครโมโซม X ผิดปกติ ทำให้แผลมีเลือดไหลออกง่าย และแข็งตัวช้า
  • 15. ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) พันธุวิศวกรรมเป็นกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ สิ่งมีชีวิตพันธุ์ ( species) หนึ่ง โดยนำยีนจากอีกชนิดพันธุ์หนึ่ง ถ่ายฝากเข้าไป เพื่อจุดประสงค์ที่จะให้สามารถทำงานได้ดีขึ้น
  • 16. 1. การปรับปรุงพันธุ์พืชให้ต้านทานโรคและแมลง 2. การพัฒนาพันธุ์พืชให้มีคุณภาพผลผลิตดี 3. การพัฒนาพันธุ์พืชใช้ผลิตสารพิเศษ เช่น สารที่เป็น ประโยชน์ต่างๆ ที่มีคุณค่าทางอาหารสูง 4. การพัฒนาพันธุ์สัตว์ มีการพัฒนาพันธุ์โดยการถ่ายฝากยีน 5. การพัฒนาสารพันธุ์จุลินทรีย์ให้มีคุณลักษณะพิเศษ บางอย่างเช่นให้สามารถกำจัดคราบน้ำมันได้ดี