SlideShare a Scribd company logo
บทที่3 
เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ 
ความหมายของพันธุกรรม 
พันธุกรรม (Heredity) หมายถึง การถา่ยทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่น 
หนึ่งไปยังรุ่นหนึ่ง หรือจากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน เชน่ ลักษณะสีผิว ลักษณะเส้นผม ลักษณะสีตา เป็น 
ต้น ถ้านักเรียนสังเกตจะเห็นวา่ในบางครั้งอาจมี คนทักวา่มีลักษณะ 
เส้นผมเหมือนพอ่ ลักษณะสีตาคล้ายกบัแมซ่ึ่งลักษณะตา่งๆ เหลา่นี้จะถูกส่งผา่นจาก พอ่แมไ่ป ยังลูกได้ 
หรือส่งผา่นจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคน รุ่นตอ่ไป เราเรียกลักษณะ ดังกลา่ววา่ ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic 
character) ในการพิจารณาลักษณะ ตา่งๆ วา่ลักษณะใดเป็นลักษณะทาง 
พันธุกรรมนั้น จะต้องพิจารณาหลายๆ รุ่น หรือหลายชั่วอายุ เพราะลักษณะทาง 
พันธุกรรมบางอยา่งอาจไมป่รากฏในรุ่นลูก แตอ่าจปรากฏในรุ่นหลานได้ 
ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม 
กรรมพันธุ์หรือลักษณะตา่งๆในสิ่งมีชีวิตสามารถถา่ยทอดไปสู่รุ่นต่อไปได้โดย 
ผา่นทางเซลล์สืบพันธุ์ กลา่วคือ เมอื่เกิดการปฏิสนธิระหวา่งเซลล์ไข่ของแมแ่ละอสุจิของพอ่ ลักษณะตา่ง 
ๆ ของพอ่และแมจ่ะถา่ยทอดไปยังลูก ตัวอยา่งลักษณะทางพันธุกรรม ได้แก่ 
ผมหยักศก หรอ ผมตรง 
จากที่กลา่วมาแล้วนั้นไมไ่ด้หมายความวา่ลักษณะตา่งๆทุกอยา่งจะเป็น 
ลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะบางอยา่งเราไมถื่อวา่เป็นลักษณะทาง
พันธุกรรม เพราะลักษณะบางอยา่งอาจเกิดขึ้นภายหลัง ไมไ่ด้เกิดขึ้นจากการ 
ถา่ยทอดลักษณะจากบรรพบุรุษ เชน่ ลักษณะที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ เชน่ แผลที่เกิดจากมีดบาด หรือเกิดจา 
กการทา ศัลยกรรมตกแตง่เพิ่มเติมทาง 
การแพทย์ เป็นต้น 
ความแปรผันทางพันธุกรรม 
นักวิทยาศาสตร์จา แนกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดออกจากกนั โดยดูจากความ 
คล้ายคลึง และแตกตา่งของสิ่งมีชีวิตเหลา่นั้น ความแตกตา่งของสิ่งมีชีวิตที่ 
ตา่งชนิดกนั มกัจะมองเห็นได้อยา่งชัดเจน เชน่ โลมาจะตา่งไปจากลิง 
เป็นอยา่งมาก ถึงแมสั้ตว์ทั้งสองชนิดนี้จะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเหมือนกนั นอกจากนี้ยังพบวา่ ความแตก 
ตา่งเกิดขึ้นจากความแปรผันภายใน สิ่งมีชีวิต 
ชนิดเดียวกนัได้ แตจ่ะมีความแตกตา่งน้อยกวา่ที่เกิดขึ้นระหวา่งสิ่งมีชีวิตตา่งชนิดกนั 
เราทั้งหลายถูกจัดอยูใ่นกลุม่ของมนุษย์ เนื่องจากเรามีลักษณะหลายอยา่ง 
เหมือนกนั และมนุษย์แตล่ะคนมีความแตกตา่งกนั แมแ้ตฝ่าแฝดที่เป็นแฝดร่วมไข่ ถึงแมว้า่จะมีหน้าตาใกล้ 
เคียงกนัมากที่สุด ก็ยังมีลักษณะแตกตา่งกนั ความแตกตา่งดังกลา่วเรียกวา่ “ความแปรผันทางพันธุกรรม” 
(genetic variable) 
ความแปรผันทางพันธุกรรม จา แนกได้ 2 ประเภท คือ 
1. ลักษณะทมีี่ความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง 
ลักษณะที่มีความแปรผันแบบไมต่่อเนื่อง (discontinuous 
variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกตา่งได้อยา่งชัดเจน ลักษณะความแปรผันไม่ 
ตอ่เนื่องเกิดจากอิทธิพลทางพันธุกรรมเพียงอยา่งเดียว 
เชน่ ลักษณะลักยิ้ม (มีลักยิ้มหรือไมมี่ลักยิ้ม) ติ่งหู 
(มีติ่งหูหรือไมมี่ติ่งหู) ห่อลิ้น (หอ่ลิ้นได้หรือห่อลิ้นไมไ่ด้) เป็นต้น
ห่อลิ้นได้ 
ลักษณะทมีี่ความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง 
2. ลักษณะทมีี่ความแปรผันแบบต่อเนื่อง 
ลักษณะที่มีความแปรผันแบบตอ่เนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไมส่ามารถแยก 
ความแตกตา่งได้เดน่ชัด เชน่ ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกร 
รม และสิ่งแวดล้อมร่วมกนั เชน่ความสูงของคน ถ้าเราได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ 
มีการออกกา ลังกาย จะทา ให้เรามีร่างกายสูงขึ้นได้ 
โครโมโซม 
หน่วยพื้นฐานที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตคือ เซลล์ ภายในประกอบด้วยไซโทพลาสซึม 
และนิวเคลียสอยูต่รงกลางเซลล์ ภายในนิวเคลียสจะมีโครโมโซม ซึ่งมีลักษณะ เป็นเส้นใยบาง ๆ พันกนัอยูููู่่
แตล่ะโครโมโซมจะมียีนที่กา หนดลักษณะตา่งๆ ของสิ่งมีชีวิตในสิ่งมีชีวิตแตล่ะชนิด 
จะมีจา นวนโครโมโซมแตกตา่งกนัออกไป 
โครโมโซมของร่างกายคนเรามีอยู่ 46 โครโมโซม เมอื่นามาจัดเป็นคูไ่ด้ 23 คู่ มีโครโมโซมอยู่ 22 
คู่ ที่เหมือนกนัทั้งเพศหญิงและเพศชาย เรียกโครโมโซมทั้ง 22 คูน่ี้วา่ โครโมโซมร่างกาย 
(autosome) ส่วนคูที่่ 23 จะตา่งกนัในเพศหญิง 
และเพศชายคือ ในเพศหญิงโครโมโซมคูน่ี้จะเหมือนกนั เรียกวา่ โครโมโซม XX ส่วนในเพศชายโครโมโ 
ซมหนึ่งแทง่ของคูที่่ 23 จะเหมือนโครโมโซม 
X ในเพศหญิง ส่วนอีกโครโมโซมมีลักษณะแตกตา่งกนัออกไป เรียกวา่ โครโมโซม 
Y ส่วนโครโมโซมคู่ที่ 23 ในเพศชาย เรียกวา่ โครโมโซม XY ดังนั้นโครโมโซมคูที่่ 
23 ทั้งในเพศหญิงและในเพศชาย จึงเป็นคูโ่ครโมโซมที่กา หนดเพศใน มนุษย์จึงเรียกวา่ โครโมโซมเพศ 
(sex chromosome) 
การแบง่เซลล์ในสิ่งมีชีวิตมี 2 แบบ คือ 
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส เป็นการแบง่นิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย โดยการแบง่เซลล์เดิมออกเป็น 2 
เซลล์ใหม่ โดยที่นิวเคลียสของทั้ง 2 เซลล์จะเทา่กบัเซลล์เดิมด้วยเชน่กนั มีวิธีแบง่เป็นระยะตา่งๆ ดังภาพ
ระยะอินเตอร์เฟส โครโมโซมมีลักษณะคล้ายเส้นใย เรียกวา่ เส้นใยโครมาติน (a) 
ระยะโปรเฟส โครโมโซมหดสั้นเข้า จึงมองเห็นเป็นเส้นโครโมโซมสั้นลง และมีการสร้างเส้นใยสปินเดิล 
(b – c) 
ระยะเมทาเฟส โครโมโซมเรียงตัวกนักลางเซลล์ (d) 
ระยะแอนาเฟส โครมาติดของแตล่ะโครโมโซมถูกดึงแยกจากกนั โดยเส้นใยสปินเดิล (e) 
ระยะเทโลเฟส เกิดการแบง่ไซโทพลาสซึมโดยเยื่อหุ้มเซลล์คอดเข้าหากนั จนกระทั่งเซลล์แยกออกจากกนั 
(f) 
การแบ่งแบบไมโอซีส เป็นการแบง่เซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ กลา่วคือเป็นการแบง่นิวเคลียสของเซลล์ไข่ 
(egg) และเซลล์อสุจิ (sperm) การแบง่เซลล์ดังกลา่วนี้นิวเคลียสมีการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน คือ 
ไมโอซีส 
I เซลล์เดิมแบง่ออกเป็นเซลล์ใหม่ โดยนิวเคลียสของเซลล์ใหมจ่ะมีจา นวนโครโมโซมครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิ 
ม 
ไมโอซีส 
II เป็นการแบง่เซลล์เหมือนกบัการแบง่เซลล์แบบไมโทซีส หลังจากมีการแบง่เซลล์ในขั้นนี้แล้วจะได้เซลล์ 
ใหม่4 เซลล์ และมีจา นวนเซลล์เพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม ซึ่งมีวิธีแบง่เซลล์ดังภาพ
ยีน (GENE)คือ 
หน่วยพันธุกรรมที่อยูบ่นโครโมโซม มีลักษณะเรียงกนัเหมือนสร้อยลูกปัด ทา หน้าที่ควบคุมลักษณะตา่งๆ 
ทางพันธุกรรมจากพอ่แมโ่ดยผา่นเซลล์สืบพันธุ์ ไปยังลูกหลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 
ยีน ซึ่งยีนแตล่ะตัวจะควบคุม ลักษณะตา่งๆ 
ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญเป็น กรดนิวคลีอิก ชนิดที่เรียกวา่ ดีเอนเอ 
(deoxyribonucleic acid : DNA) อันเกิดจากการตอ่กนัเป็นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรียกวา่นิวคลีโอไทด์ 
(nucleotide) ส่วนเส้นโมเลกุลจะสั้นหรือยาวเทา่ใด ขึ้นอยูก่บัปริมาณของโมเลกุลยอ่ยซึ่ง เราสามารถ 
อธิบายได้ง่ายๆวา่ 
one gene one expression 
ซึ่งหมายถึง 1 ยีนสามารถแสดงออกได้ 1 ลักษณะเทา่นั้น 
คู่ของยีน เซลล์ของร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะมีโครโมโซมที่ทา หน้าที่ถา่ยทอดข้อมูลทางพันธุกรรมอยู่ 2 
ชุดเข้าด้วยกนั เรียกวา่โครโมโซมคูเ่หมือน และจากที่กลา่วมาแล้ววา่ ยีนซึ่งเป็นตัวควบคุมลักษณะทางพัน 
ธุกรรมจะอยูบ่นโครโมโซม ด้วยเหตุนี้ ถ้าพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เชน่ ลัก 
ษณะสีของดอก จะพบวา่ถ้ามียีนที่ควบคุมลักษณะสีของดอกอยู่บนโครโมโซมแทง่หนึ่ง โครโมโซมที่เป็น 
คูเ่หมือนก็จะมียีนที่ควบคุมลักษณะสีของดอกอยู่ด้วยเชน่กนั
อัลลีล 
(allele) คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกนัแต่ตา่งรูปแบบกนั ถึงแมจ้ะอยูบ่นโครโมโซมคูเ่หมือนตรงตาแหน่ 
งเดียวกนัก็ตาม เชน่ ลักษณะติ่งหู จะมียีนที่ควบคุมอยู่2 อัลลีล หรือ 2 แบบ คืออัลลีลที่ควบคุมการมีติ่งหู 
(ให้สัญลักษณ์เป็น B ) และอัลลีลที่ควบคุมการไมมี่ติ่งหู (ให้สัญลักษณ์เป็น b) 
จีโนไทป์ (genotype) คือลักษณะการจับคู่กนัของอัลลีลของยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งมี 2 
ลักษณะได้แก่ 
1. ลักษณะพันธุ์แท้ 
(homozygouse) เป็นการจับคูก่นัของยีนที่มีอัลลีลเหมือนกนั เชน่ อัลลีลควบคุมการมีติ่งหู 
2 อัลลีลจับคูก่นั (BB) อัลลีลที่ควบคุมการไมมี่ติ่งหูจับคูก่นั (bb) 
2. ลักษณะพันธุ์ทาง 
(heterozygouse) เป็นการจับคูก่นัของยีนที่มีอัลลีลตา่งกนั เชน่ อัลลีลควบคุมการมีติ่งหูจับคูกั่บอัล 
ลีลที่ควบคุมการไมมี่ติ่งหู (Bb) 
ฟีโนไทป์ (phenotype) หมายถึง ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่อยูภ่ายใต้การควบคุมของจีโนไทป์ 
ซึ่งแสดงออกมาให้เห็นหรือปรากฏแกภ่ายนอก เชน่จา นวนชั้นของหนังตา ลักษณะสีตา สีผิว ความสูง เป็ 
นต้น 
การแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรม 
จากการทดลองการถา่ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดลกลา่ววา่ “เมอื่ มีอัลลีลที่แตกตา่งกนั 2 
อัลลีล อัลลีลหนึ่งจะแสดงออกมาได้ดีกวา่ อีกอัลลีลหนึ่ง อัลลีลที่แสดงออกมาได้ดีกวา่ เรียกว่า อัลลีลเด่น 
(dominant allele) จะบดบังอัลลีลที่แสดงออกมาไมดี่เทา่ เรียกว่า อัลลีลด้อย (recessive 
allele)" หรือกลา่วได้วา่ ลักษณะตา่งๆ ทางพันธุกรรมที่เกิด จากการจับคูข่องยีน 
จากพอ่และแม่ และถา่ยทอดมาสู่รุ่นลูกหลาน จะมีการแสดงออกได้ 2 ลักษณะดังนี้ 
o ลักษณะเดน่ (dominant) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในทุก ๆ 
รุ่นอยา่งเดน่ชัด ซึ่งเกิดจากการจับคูข่องอัลลีลที่ควบคุมลักษณะเดน่ 
เหมือนกนัจับคูก่นัหรืออาจเกิดจากการที่อัลลีลด้อยถูกข่มด้วยอัลลีลเดน่ที่จับคู่กนั
o ลักษณะด้อย (recessive) หมายถึง ลักษณะที่แอบแฝงไมแ่สดงออกมาให้เห็น 
เมอื่อยูคู่ก่บัลักษณะเดน่ แตจ่ะแสดงออกเมอื่มีการเข้าคูกั่บลักษณะด้อย 
เหมือนกนั ซึ่งโอกาสที่จะแสดงออกให้เห็นจะมีน้อยกวา่การแสดงออก ของลักษณะเดน่ 
ความหลากหลายทางชีวภาพ 
ความหลากหลายทางชีวภาพ (อังกฤษ: Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด 
นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหลง่ที่อยูอ่าศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกนัทั่วโลก หรือง่ายๆ คือ 
การที่มีชนิดพันธุ์ (อังกฤษ: Species) สายพันธุ์ (อังกฤษ: Genetic) และระบบนิเวศ (อังกฤษ: Ecosystem) 
ที่แตกตา่งหลากหลายบนโลก 
ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหวา่งสายพันธุ์ 
ระหวา่งชนิดพันธุ์ และระหวา่งระบบนิเวศ 
ความหลากหลายทางชีวภาพระหวา่งสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ 
ความแตกตา่งระหวา่งพันธุ์พืชและสัตว์ตา่งๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกตา่งหลากหลายระหวา่งสายพันธุ์ 
ทา ให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ 
หากไมมี่ความหลากหลายของสายพันธุ์ตา่งๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตา ปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ 
ความแตกตา่งที่มีอยูใ่นสายพันธุ์ตา่งๆ ยังชว่ยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ 
เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เชน่ ไกพั่นธุ์เนื้อ ไกพั่นธุ์ไขด่ก ววัพันธุ์นม และววัพันธุ์เนื้อ 
เป็นต้น 
ความหลากหลายระหวา่งชนิดพันธุ์ 
สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกตา่งระหวา่งพืชและสัตว์แตล่ะชนิด ไมว่า่จะเป็นสัตว์ที่อยูใ่กล้ตัว 
เชน่ สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยูใ่นป่าเขาลา เนาไพร 
เชน่ เสือ ช้าง กวาง กระจง เกง้ ลิง ชะนี หมีและววัแดง เป็นต้น 
พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหลง่ที่อยูอ่าศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกตา่งหลากหลาย 
แตว่า่มนุษย์ได้นาเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกวา่ร้อยละ 5 
ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบวา่มนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีทอ่ลา เลียง 
(อังกฤษ: vascular plant) ที่มีอยูท่ั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 
ของพืชที่มีทอ่ลา เลียงนี้สามารถนามาบริโภคได้ สาหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น 
มนุษย์ได้นาเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด 
จากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995)
ความหลากหลายระหวา่งระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน 
สามารถเห็นได้จากความแตกตา่งระหวา่งระบบนิเวศประเภทตา่งๆ เชน่ ป่าดงดิบ ทุง่หญ้า ป่าชายเลน 
ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เชน่ ทุง่นา อา่งเก็บน้า 
หรือแมก้ระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหลา่นี้ สิ่งมีชีวิตก็ตา่งชนิดกนั 
และมีสภาพการอยูอ่าศัยแตกตา่งกนั 
ความแตกตา่งหลากหลายระหวา่งระบบนิเวศ 
ทา ให้โลกมีถิ่นที่อยูอ่าศัยเหมาะสมสาหรับสิ่งมีชีวิตชนิดตา่งๆ 
ระบบนิเวศแตล่ะประเภทให้ประโยชน์แกก่ารดา รงชีวิตของมนุษย์แตกตา่งกนั หรืออีกนัยหนึ่งให้ 
'บริการทางสิ่งแวดล้อม' (อังกฤษ: environmental service) ตา่งกนัด้วย อาทิเชน่ ป่าไมท้า หน้าที่ดูดซับน้า 
ไมใ่ห้เกิดน้าทว่มและการพังทลายของดิน 
ส่วนป่าชายเลนทา หน้าที่เก็บตะกอนไมใ่ห้ไปทบถมจนบริเวณปากอา่วตื้นเขิน 
ตลอดจนป้องกนัการกดัเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่นด้วย เป็นต้น 
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 
จากการประชุมสหประชาชาติวา่ด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on 
Environment and Development) หรือการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม (Earth Summit) ณ กรุงริโอ เดอ 
เจเนโร ประเทศบราซิล เมอื่วนัที่ 5 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 
ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรองอนุสัญญาวา่ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีทั้งสิ้น 157 
ประเทศร่วมลงนาม อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมอื่วนัที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ปัจจุบันมีภาคี 191 
ประเทศ ในส่วนของประเทศไทย ได้ลงนามในอนุสัญญาเมอื่วนัที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 
และให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีเมอื่วนัที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้เมอื่วนัที่ 29 มกราคม พ.ศ.2547 
อนุสัญญาฯ เป็นความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหวา่งประเทศ 
ที่มีเจตนารมย์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดตอ่การรักษาวินัยสิ่งแวดล้อม อนุสัญญาฯ 
ฉบับนี้เป็นอนุสัญญานานาชาติฉบับแรกที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ ทั้งพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ และระบบนิเวศ 
โดยมีวตัถุประสงค์ 3 ประการ คือ 
1. เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 
2. เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอยา่งยั่งยืน 
3. เพื่อแบง่ปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอยา่งเทา่เทียมและยุติธรรม
รายงาน 
เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ 
วิชา ชีววิทยาพื้นฐาน ว30103 
จัดทาโดย 
นางสาวสุชาดา บุญวงศ์ เลขที่ 49 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/5 
เสนอ 
นายพงศธร เข็มศรี 
(นักศึกษาฝึกประสบการณ์) 
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา” วิทยาศาสตร์” 
โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย จังหวัดสุรินทร์ 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
อ้างอิง 
กระโดดขนึ้ ↑ Lamarck, J-B (2008). In Encyclopædia Britannica. Retrieved from Encyclopædia 
Britannica Online on 16 March 2008. 
1. กระโดดขนึ้ ↑ Peter J. Bowler, The Mendelian Revolution: The Emergency of Hereditarian 
Concepts in Modern Science and Society (Baltimore: Johns Hopkins University Press, 1989) : 
chapters 2 & 3. 
2. Blumberg, Roger B. "Mendel's Paper in English". 
3. genetics, n., Oxford English Dictionary, 3rd ed. 
4. Bateson W. "Letter from William Bateson to Alan Sedgwick in 1905". The John Innes Centre. 
สบืคน้เมอื่ 15 March 2008. 
5. genetic, adj., Oxford English Dictionary, 3rd ed. 
6. Bateson, W (1907). "The Progress of Genetic Research". In Wilks, W. Report of the Third 1906 
International Conference on Genetics: Hybridization (the cross-breeding of genera or species), the 
cross-breeding of varieties, and general plant breeding. London: Royal Horticultural Society. 
7. Moore, John A. (1983). "Thomas Hunt Morgan—The Geneticist". Integrative and Comparative 
Biology 23: 855. doi:10.1093/icb/23.4.855. 
8. Sturtevant AH (1913). "The linear arrangement of six sex-linked factors in Drosophila, as shown 
by their mode of association". Journal of Experimental Biology 14: 43–59. 
9. Avery, OT; MacLeod, CM; McCarty, M (1944). "STUDIES ON THE CHEMICAL NATURE OF 
THE SUBSTANCE INDUCING TRANSFORMATION OF PNEUMOCOCCAL TYPES : 
INDUCTION OF TRANSFORMATION BY A DESOXYRIBONUCLEIC ACID FRACTION 
ISOLATED FROM PNEUMOCOCCUS TYPE III.". The Journal of experimental medicine 79 (2): 
137–58. doi:10.1084/jem.79.2.137. PMC 2135445. PMID 19871359. Reprint: Avery, OT; 
Macleod, CM; Mccarty, M (1979). "Studies on the chemical nature of the substance inducing 
transformation of pneumococcal types. Inductions of transformation by a desoxyribonucleic acid 
fraction isolated from pneumococcus type III.". The Journal of experimental medicine 149 (2): 
297–326. doi:10.1084/jem.149.2.297. PMC 2184805. PMID 33226.
ดังนั้นวัคซีนกับเซรุ่มต่างกันคือ ผ้ไูด้รับวัคซีนจะไม่เกิดอาการแพ้ที่รุนแรง และทาให้ร่างกานมีภูมิคุ้มกันโรคอยู่ได้นาน 
แต่วัคซีนร่างกายไม่สามารถนาไปใช้ได้ทันที ส่วนผ้ทูี่ได้รับเซรุ่มอาจเกิดอาการแพ้ที่รุนแรงได้ 
แต่ร่างกายสามารถนาเซรุ่มไปใช้ต้านทานโรคได้ทันที 
โดยธรรมชาติเมื่อร่างกายของคนเราได้รับสิ่งแปลกปลอมเช่น เชือ้โรค หรือสารเคมีเข้าไปในร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกัน 
(Immune system) ซึ่งเป็นระบบป้องกันภัยของร่างกาย จะสร้างกลไกในการต่อต้าน 
ไม่ให้สิ่งแปลกปลอมนัน้ทาอันตรายต่อร่างกายได้ แต่ไฉนเลย อยู่ๆกันไป ภูมิคุ้มกันเพื่อนตาย 
กลับกลายมาเป็นภูมิสังหารตนเองไปได้ จนเกิดโรคประหลาดที่ชื่อว่า แพ้ภูมิตนเอง หรือภูมิทาลายตนเองขึน้มา
คานา 
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ “วิทยาศาสตร์”วิชาพนื้ฐาน ชีววิทยา 
ชั้นมัธยมศึกษาปีท4ี่-6 รายงานเล่มนี้จัดทา เพอื่ให้ผู้ทสี่นใจได้ศึกษาค้นคว้าจากรายงานเล่มนี้ 
เพราะรายงานเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทาง 
ชีวภาพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ด้านความรู้ด้านทักษะและการสืบเสาะหาความรู้ 
ทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี 
ถ้ารายงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใดก็ต้องขออภัย ณ โอกาสนี้ 
(นางสาวสุชาดา บุญวงศ์) 
ผู้จัดทา 
9 ตุลาคม 2557
เอ๊ะ

More Related Content

What's hot

2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ไพฑูรย์ ทิพย์สันเทียะ
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรม1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
pitsanu duangkartok
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
kaew3920277
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมkrapong
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
kasidid20309
 

What's hot (13)

2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรม1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 

Similar to เอ๊ะ

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Janistar'xi Popae
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
Natthinee Khamchalee
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
rathachokharaluya
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมRoongroeng
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
Wichai Likitponrak
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
Pinutchaya Nakchumroon
 

Similar to เอ๊ะ (20)

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
New genetics1
New genetics1New genetics1
New genetics1
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 

เอ๊ะ

  • 1. บทที่3 เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ ความหมายของพันธุกรรม พันธุกรรม (Heredity) หมายถึง การถา่ยทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่น หนึ่งไปยังรุ่นหนึ่ง หรือจากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน เชน่ ลักษณะสีผิว ลักษณะเส้นผม ลักษณะสีตา เป็น ต้น ถ้านักเรียนสังเกตจะเห็นวา่ในบางครั้งอาจมี คนทักวา่มีลักษณะ เส้นผมเหมือนพอ่ ลักษณะสีตาคล้ายกบัแมซ่ึ่งลักษณะตา่งๆ เหลา่นี้จะถูกส่งผา่นจาก พอ่แมไ่ป ยังลูกได้ หรือส่งผา่นจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคน รุ่นตอ่ไป เราเรียกลักษณะ ดังกลา่ววา่ ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) ในการพิจารณาลักษณะ ตา่งๆ วา่ลักษณะใดเป็นลักษณะทาง พันธุกรรมนั้น จะต้องพิจารณาหลายๆ รุ่น หรือหลายชั่วอายุ เพราะลักษณะทาง พันธุกรรมบางอยา่งอาจไมป่รากฏในรุ่นลูก แตอ่าจปรากฏในรุ่นหลานได้ ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม กรรมพันธุ์หรือลักษณะตา่งๆในสิ่งมีชีวิตสามารถถา่ยทอดไปสู่รุ่นต่อไปได้โดย ผา่นทางเซลล์สืบพันธุ์ กลา่วคือ เมอื่เกิดการปฏิสนธิระหวา่งเซลล์ไข่ของแมแ่ละอสุจิของพอ่ ลักษณะตา่ง ๆ ของพอ่และแมจ่ะถา่ยทอดไปยังลูก ตัวอยา่งลักษณะทางพันธุกรรม ได้แก่ ผมหยักศก หรอ ผมตรง จากที่กลา่วมาแล้วนั้นไมไ่ด้หมายความวา่ลักษณะตา่งๆทุกอยา่งจะเป็น ลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะบางอยา่งเราไมถื่อวา่เป็นลักษณะทาง
  • 2. พันธุกรรม เพราะลักษณะบางอยา่งอาจเกิดขึ้นภายหลัง ไมไ่ด้เกิดขึ้นจากการ ถา่ยทอดลักษณะจากบรรพบุรุษ เชน่ ลักษณะที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ เชน่ แผลที่เกิดจากมีดบาด หรือเกิดจา กการทา ศัลยกรรมตกแตง่เพิ่มเติมทาง การแพทย์ เป็นต้น ความแปรผันทางพันธุกรรม นักวิทยาศาสตร์จา แนกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดออกจากกนั โดยดูจากความ คล้ายคลึง และแตกตา่งของสิ่งมีชีวิตเหลา่นั้น ความแตกตา่งของสิ่งมีชีวิตที่ ตา่งชนิดกนั มกัจะมองเห็นได้อยา่งชัดเจน เชน่ โลมาจะตา่งไปจากลิง เป็นอยา่งมาก ถึงแมสั้ตว์ทั้งสองชนิดนี้จะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเหมือนกนั นอกจากนี้ยังพบวา่ ความแตก ตา่งเกิดขึ้นจากความแปรผันภายใน สิ่งมีชีวิต ชนิดเดียวกนัได้ แตจ่ะมีความแตกตา่งน้อยกวา่ที่เกิดขึ้นระหวา่งสิ่งมีชีวิตตา่งชนิดกนั เราทั้งหลายถูกจัดอยูใ่นกลุม่ของมนุษย์ เนื่องจากเรามีลักษณะหลายอยา่ง เหมือนกนั และมนุษย์แตล่ะคนมีความแตกตา่งกนั แมแ้ตฝ่าแฝดที่เป็นแฝดร่วมไข่ ถึงแมว้า่จะมีหน้าตาใกล้ เคียงกนัมากที่สุด ก็ยังมีลักษณะแตกตา่งกนั ความแตกตา่งดังกลา่วเรียกวา่ “ความแปรผันทางพันธุกรรม” (genetic variable) ความแปรผันทางพันธุกรรม จา แนกได้ 2 ประเภท คือ 1. ลักษณะทมีี่ความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง ลักษณะที่มีความแปรผันแบบไมต่่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกตา่งได้อยา่งชัดเจน ลักษณะความแปรผันไม่ ตอ่เนื่องเกิดจากอิทธิพลทางพันธุกรรมเพียงอยา่งเดียว เชน่ ลักษณะลักยิ้ม (มีลักยิ้มหรือไมมี่ลักยิ้ม) ติ่งหู (มีติ่งหูหรือไมมี่ติ่งหู) ห่อลิ้น (หอ่ลิ้นได้หรือห่อลิ้นไมไ่ด้) เป็นต้น
  • 3. ห่อลิ้นได้ ลักษณะทมีี่ความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง 2. ลักษณะทมีี่ความแปรผันแบบต่อเนื่อง ลักษณะที่มีความแปรผันแบบตอ่เนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไมส่ามารถแยก ความแตกตา่งได้เดน่ชัด เชน่ ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกร รม และสิ่งแวดล้อมร่วมกนั เชน่ความสูงของคน ถ้าเราได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ มีการออกกา ลังกาย จะทา ให้เรามีร่างกายสูงขึ้นได้ โครโมโซม หน่วยพื้นฐานที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตคือ เซลล์ ภายในประกอบด้วยไซโทพลาสซึม และนิวเคลียสอยูต่รงกลางเซลล์ ภายในนิวเคลียสจะมีโครโมโซม ซึ่งมีลักษณะ เป็นเส้นใยบาง ๆ พันกนัอยูููู่่
  • 4. แตล่ะโครโมโซมจะมียีนที่กา หนดลักษณะตา่งๆ ของสิ่งมีชีวิตในสิ่งมีชีวิตแตล่ะชนิด จะมีจา นวนโครโมโซมแตกตา่งกนัออกไป โครโมโซมของร่างกายคนเรามีอยู่ 46 โครโมโซม เมอื่นามาจัดเป็นคูไ่ด้ 23 คู่ มีโครโมโซมอยู่ 22 คู่ ที่เหมือนกนัทั้งเพศหญิงและเพศชาย เรียกโครโมโซมทั้ง 22 คูน่ี้วา่ โครโมโซมร่างกาย (autosome) ส่วนคูที่่ 23 จะตา่งกนัในเพศหญิง และเพศชายคือ ในเพศหญิงโครโมโซมคูน่ี้จะเหมือนกนั เรียกวา่ โครโมโซม XX ส่วนในเพศชายโครโมโ ซมหนึ่งแทง่ของคูที่่ 23 จะเหมือนโครโมโซม X ในเพศหญิง ส่วนอีกโครโมโซมมีลักษณะแตกตา่งกนัออกไป เรียกวา่ โครโมโซม Y ส่วนโครโมโซมคู่ที่ 23 ในเพศชาย เรียกวา่ โครโมโซม XY ดังนั้นโครโมโซมคูที่่ 23 ทั้งในเพศหญิงและในเพศชาย จึงเป็นคูโ่ครโมโซมที่กา หนดเพศใน มนุษย์จึงเรียกวา่ โครโมโซมเพศ (sex chromosome) การแบง่เซลล์ในสิ่งมีชีวิตมี 2 แบบ คือ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส เป็นการแบง่นิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย โดยการแบง่เซลล์เดิมออกเป็น 2 เซลล์ใหม่ โดยที่นิวเคลียสของทั้ง 2 เซลล์จะเทา่กบัเซลล์เดิมด้วยเชน่กนั มีวิธีแบง่เป็นระยะตา่งๆ ดังภาพ
  • 5. ระยะอินเตอร์เฟส โครโมโซมมีลักษณะคล้ายเส้นใย เรียกวา่ เส้นใยโครมาติน (a) ระยะโปรเฟส โครโมโซมหดสั้นเข้า จึงมองเห็นเป็นเส้นโครโมโซมสั้นลง และมีการสร้างเส้นใยสปินเดิล (b – c) ระยะเมทาเฟส โครโมโซมเรียงตัวกนักลางเซลล์ (d) ระยะแอนาเฟส โครมาติดของแตล่ะโครโมโซมถูกดึงแยกจากกนั โดยเส้นใยสปินเดิล (e) ระยะเทโลเฟส เกิดการแบง่ไซโทพลาสซึมโดยเยื่อหุ้มเซลล์คอดเข้าหากนั จนกระทั่งเซลล์แยกออกจากกนั (f) การแบ่งแบบไมโอซีส เป็นการแบง่เซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ กลา่วคือเป็นการแบง่นิวเคลียสของเซลล์ไข่ (egg) และเซลล์อสุจิ (sperm) การแบง่เซลล์ดังกลา่วนี้นิวเคลียสมีการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน คือ ไมโอซีส I เซลล์เดิมแบง่ออกเป็นเซลล์ใหม่ โดยนิวเคลียสของเซลล์ใหมจ่ะมีจา นวนโครโมโซมครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิ ม ไมโอซีส II เป็นการแบง่เซลล์เหมือนกบัการแบง่เซลล์แบบไมโทซีส หลังจากมีการแบง่เซลล์ในขั้นนี้แล้วจะได้เซลล์ ใหม่4 เซลล์ และมีจา นวนเซลล์เพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม ซึ่งมีวิธีแบง่เซลล์ดังภาพ
  • 6. ยีน (GENE)คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยูบ่นโครโมโซม มีลักษณะเรียงกนัเหมือนสร้อยลูกปัด ทา หน้าที่ควบคุมลักษณะตา่งๆ ทางพันธุกรรมจากพอ่แมโ่ดยผา่นเซลล์สืบพันธุ์ ไปยังลูกหลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 ยีน ซึ่งยีนแตล่ะตัวจะควบคุม ลักษณะตา่งๆ ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญเป็น กรดนิวคลีอิก ชนิดที่เรียกวา่ ดีเอนเอ (deoxyribonucleic acid : DNA) อันเกิดจากการตอ่กนัเป็นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรียกวา่นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ส่วนเส้นโมเลกุลจะสั้นหรือยาวเทา่ใด ขึ้นอยูก่บัปริมาณของโมเลกุลยอ่ยซึ่ง เราสามารถ อธิบายได้ง่ายๆวา่ one gene one expression ซึ่งหมายถึง 1 ยีนสามารถแสดงออกได้ 1 ลักษณะเทา่นั้น คู่ของยีน เซลล์ของร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะมีโครโมโซมที่ทา หน้าที่ถา่ยทอดข้อมูลทางพันธุกรรมอยู่ 2 ชุดเข้าด้วยกนั เรียกวา่โครโมโซมคูเ่หมือน และจากที่กลา่วมาแล้ววา่ ยีนซึ่งเป็นตัวควบคุมลักษณะทางพัน ธุกรรมจะอยูบ่นโครโมโซม ด้วยเหตุนี้ ถ้าพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เชน่ ลัก ษณะสีของดอก จะพบวา่ถ้ามียีนที่ควบคุมลักษณะสีของดอกอยู่บนโครโมโซมแทง่หนึ่ง โครโมโซมที่เป็น คูเ่หมือนก็จะมียีนที่ควบคุมลักษณะสีของดอกอยู่ด้วยเชน่กนั
  • 7. อัลลีล (allele) คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกนัแต่ตา่งรูปแบบกนั ถึงแมจ้ะอยูบ่นโครโมโซมคูเ่หมือนตรงตาแหน่ งเดียวกนัก็ตาม เชน่ ลักษณะติ่งหู จะมียีนที่ควบคุมอยู่2 อัลลีล หรือ 2 แบบ คืออัลลีลที่ควบคุมการมีติ่งหู (ให้สัญลักษณ์เป็น B ) และอัลลีลที่ควบคุมการไมมี่ติ่งหู (ให้สัญลักษณ์เป็น b) จีโนไทป์ (genotype) คือลักษณะการจับคู่กนัของอัลลีลของยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งมี 2 ลักษณะได้แก่ 1. ลักษณะพันธุ์แท้ (homozygouse) เป็นการจับคูก่นัของยีนที่มีอัลลีลเหมือนกนั เชน่ อัลลีลควบคุมการมีติ่งหู 2 อัลลีลจับคูก่นั (BB) อัลลีลที่ควบคุมการไมมี่ติ่งหูจับคูก่นั (bb) 2. ลักษณะพันธุ์ทาง (heterozygouse) เป็นการจับคูก่นัของยีนที่มีอัลลีลตา่งกนั เชน่ อัลลีลควบคุมการมีติ่งหูจับคูกั่บอัล ลีลที่ควบคุมการไมมี่ติ่งหู (Bb) ฟีโนไทป์ (phenotype) หมายถึง ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่อยูภ่ายใต้การควบคุมของจีโนไทป์ ซึ่งแสดงออกมาให้เห็นหรือปรากฏแกภ่ายนอก เชน่จา นวนชั้นของหนังตา ลักษณะสีตา สีผิว ความสูง เป็ นต้น การแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรม จากการทดลองการถา่ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดลกลา่ววา่ “เมอื่ มีอัลลีลที่แตกตา่งกนั 2 อัลลีล อัลลีลหนึ่งจะแสดงออกมาได้ดีกวา่ อีกอัลลีลหนึ่ง อัลลีลที่แสดงออกมาได้ดีกวา่ เรียกว่า อัลลีลเด่น (dominant allele) จะบดบังอัลลีลที่แสดงออกมาไมดี่เทา่ เรียกว่า อัลลีลด้อย (recessive allele)" หรือกลา่วได้วา่ ลักษณะตา่งๆ ทางพันธุกรรมที่เกิด จากการจับคูข่องยีน จากพอ่และแม่ และถา่ยทอดมาสู่รุ่นลูกหลาน จะมีการแสดงออกได้ 2 ลักษณะดังนี้ o ลักษณะเดน่ (dominant) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในทุก ๆ รุ่นอยา่งเดน่ชัด ซึ่งเกิดจากการจับคูข่องอัลลีลที่ควบคุมลักษณะเดน่ เหมือนกนัจับคูก่นัหรืออาจเกิดจากการที่อัลลีลด้อยถูกข่มด้วยอัลลีลเดน่ที่จับคู่กนั
  • 8. o ลักษณะด้อย (recessive) หมายถึง ลักษณะที่แอบแฝงไมแ่สดงออกมาให้เห็น เมอื่อยูคู่ก่บัลักษณะเดน่ แตจ่ะแสดงออกเมอื่มีการเข้าคูกั่บลักษณะด้อย เหมือนกนั ซึ่งโอกาสที่จะแสดงออกให้เห็นจะมีน้อยกวา่การแสดงออก ของลักษณะเดน่ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ (อังกฤษ: Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหลง่ที่อยูอ่าศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกนัทั่วโลก หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (อังกฤษ: Species) สายพันธุ์ (อังกฤษ: Genetic) และระบบนิเวศ (อังกฤษ: Ecosystem) ที่แตกตา่งหลากหลายบนโลก ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหวา่งสายพันธุ์ ระหวา่งชนิดพันธุ์ และระหวา่งระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหวา่งสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกตา่งระหวา่งพันธุ์พืชและสัตว์ตา่งๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกตา่งหลากหลายระหวา่งสายพันธุ์ ทา ให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไมมี่ความหลากหลายของสายพันธุ์ตา่งๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตา ปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกตา่งที่มีอยูใ่นสายพันธุ์ตา่งๆ ยังชว่ยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เชน่ ไกพั่นธุ์เนื้อ ไกพั่นธุ์ไขด่ก ววัพันธุ์นม และววัพันธุ์เนื้อ เป็นต้น ความหลากหลายระหวา่งชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกตา่งระหวา่งพืชและสัตว์แตล่ะชนิด ไมว่า่จะเป็นสัตว์ที่อยูใ่กล้ตัว เชน่ สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยูใ่นป่าเขาลา เนาไพร เชน่ เสือ ช้าง กวาง กระจง เกง้ ลิง ชะนี หมีและววัแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหลง่ที่อยูอ่าศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกตา่งหลากหลาย แตว่า่มนุษย์ได้นาเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกวา่ร้อยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบวา่มนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีทอ่ลา เลียง (อังกฤษ: vascular plant) ที่มีอยูท่ั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีทอ่ลา เลียงนี้สามารถนามาบริโภคได้ สาหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นาเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995)
  • 9. ความหลากหลายระหวา่งระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกตา่งระหวา่งระบบนิเวศประเภทตา่งๆ เชน่ ป่าดงดิบ ทุง่หญ้า ป่าชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เชน่ ทุง่นา อา่งเก็บน้า หรือแมก้ระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหลา่นี้ สิ่งมีชีวิตก็ตา่งชนิดกนั และมีสภาพการอยูอ่าศัยแตกตา่งกนั ความแตกตา่งหลากหลายระหวา่งระบบนิเวศ ทา ให้โลกมีถิ่นที่อยูอ่าศัยเหมาะสมสาหรับสิ่งมีชีวิตชนิดตา่งๆ ระบบนิเวศแตล่ะประเภทให้ประโยชน์แกก่ารดา รงชีวิตของมนุษย์แตกตา่งกนั หรืออีกนัยหนึ่งให้ 'บริการทางสิ่งแวดล้อม' (อังกฤษ: environmental service) ตา่งกนัด้วย อาทิเชน่ ป่าไมท้า หน้าที่ดูดซับน้า ไมใ่ห้เกิดน้าทว่มและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทา หน้าที่เก็บตะกอนไมใ่ห้ไปทบถมจนบริเวณปากอา่วตื้นเขิน ตลอดจนป้องกนัการกดัเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่นด้วย เป็นต้น อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ จากการประชุมสหประชาชาติวา่ด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development) หรือการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม (Earth Summit) ณ กรุงริโอ เดอ เจเนโร ประเทศบราซิล เมอื่วนัที่ 5 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรองอนุสัญญาวา่ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีทั้งสิ้น 157 ประเทศร่วมลงนาม อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมอื่วนัที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ปัจจุบันมีภาคี 191 ประเทศ ในส่วนของประเทศไทย ได้ลงนามในอนุสัญญาเมอื่วนัที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 และให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีเมอื่วนัที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้เมอื่วนัที่ 29 มกราคม พ.ศ.2547 อนุสัญญาฯ เป็นความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหวา่งประเทศ ที่มีเจตนารมย์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดตอ่การรักษาวินัยสิ่งแวดล้อม อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เป็นอนุสัญญานานาชาติฉบับแรกที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ ทั้งพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ และระบบนิเวศ โดยมีวตัถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 2. เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอยา่งยั่งยืน 3. เพื่อแบง่ปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอยา่งเทา่เทียมและยุติธรรม
  • 10. รายงาน เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ วิชา ชีววิทยาพื้นฐาน ว30103 จัดทาโดย นางสาวสุชาดา บุญวงศ์ เลขที่ 49 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/5 เสนอ นายพงศธร เข็มศรี (นักศึกษาฝึกประสบการณ์) รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา” วิทยาศาสตร์” โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
  • 11. อ้างอิง กระโดดขนึ้ ↑ Lamarck, J-B (2008). In Encyclopædia Britannica. Retrieved from Encyclopædia Britannica Online on 16 March 2008. 1. กระโดดขนึ้ ↑ Peter J. Bowler, The Mendelian Revolution: The Emergency of Hereditarian Concepts in Modern Science and Society (Baltimore: Johns Hopkins University Press, 1989) : chapters 2 & 3. 2. Blumberg, Roger B. "Mendel's Paper in English". 3. genetics, n., Oxford English Dictionary, 3rd ed. 4. Bateson W. "Letter from William Bateson to Alan Sedgwick in 1905". The John Innes Centre. สบืคน้เมอื่ 15 March 2008. 5. genetic, adj., Oxford English Dictionary, 3rd ed. 6. Bateson, W (1907). "The Progress of Genetic Research". In Wilks, W. Report of the Third 1906 International Conference on Genetics: Hybridization (the cross-breeding of genera or species), the cross-breeding of varieties, and general plant breeding. London: Royal Horticultural Society. 7. Moore, John A. (1983). "Thomas Hunt Morgan—The Geneticist". Integrative and Comparative Biology 23: 855. doi:10.1093/icb/23.4.855. 8. Sturtevant AH (1913). "The linear arrangement of six sex-linked factors in Drosophila, as shown by their mode of association". Journal of Experimental Biology 14: 43–59. 9. Avery, OT; MacLeod, CM; McCarty, M (1944). "STUDIES ON THE CHEMICAL NATURE OF THE SUBSTANCE INDUCING TRANSFORMATION OF PNEUMOCOCCAL TYPES : INDUCTION OF TRANSFORMATION BY A DESOXYRIBONUCLEIC ACID FRACTION ISOLATED FROM PNEUMOCOCCUS TYPE III.". The Journal of experimental medicine 79 (2): 137–58. doi:10.1084/jem.79.2.137. PMC 2135445. PMID 19871359. Reprint: Avery, OT; Macleod, CM; Mccarty, M (1979). "Studies on the chemical nature of the substance inducing transformation of pneumococcal types. Inductions of transformation by a desoxyribonucleic acid fraction isolated from pneumococcus type III.". The Journal of experimental medicine 149 (2): 297–326. doi:10.1084/jem.149.2.297. PMC 2184805. PMID 33226.
  • 12. ดังนั้นวัคซีนกับเซรุ่มต่างกันคือ ผ้ไูด้รับวัคซีนจะไม่เกิดอาการแพ้ที่รุนแรง และทาให้ร่างกานมีภูมิคุ้มกันโรคอยู่ได้นาน แต่วัคซีนร่างกายไม่สามารถนาไปใช้ได้ทันที ส่วนผ้ทูี่ได้รับเซรุ่มอาจเกิดอาการแพ้ที่รุนแรงได้ แต่ร่างกายสามารถนาเซรุ่มไปใช้ต้านทานโรคได้ทันที โดยธรรมชาติเมื่อร่างกายของคนเราได้รับสิ่งแปลกปลอมเช่น เชือ้โรค หรือสารเคมีเข้าไปในร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) ซึ่งเป็นระบบป้องกันภัยของร่างกาย จะสร้างกลไกในการต่อต้าน ไม่ให้สิ่งแปลกปลอมนัน้ทาอันตรายต่อร่างกายได้ แต่ไฉนเลย อยู่ๆกันไป ภูมิคุ้มกันเพื่อนตาย กลับกลายมาเป็นภูมิสังหารตนเองไปได้ จนเกิดโรคประหลาดที่ชื่อว่า แพ้ภูมิตนเอง หรือภูมิทาลายตนเองขึน้มา
  • 13. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ “วิทยาศาสตร์”วิชาพนื้ฐาน ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีท4ี่-6 รายงานเล่มนี้จัดทา เพอื่ให้ผู้ทสี่นใจได้ศึกษาค้นคว้าจากรายงานเล่มนี้ เพราะรายงานเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทาง ชีวภาพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ด้านความรู้ด้านทักษะและการสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ถ้ารายงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใดก็ต้องขออภัย ณ โอกาสนี้ (นางสาวสุชาดา บุญวงศ์) ผู้จัดทา 9 ตุลาคม 2557