SlideShare a Scribd company logo
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics
Y-POING
Chole’sNote
Genetic
ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม
1 . ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม
2 . คา ศั พ ท์ พื้น ฐ า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า ง
พั น ธุ ก ร ร ม
3 . ก ฎ ข อ ง เ ม น เ ด ล
4 . ค ว า ม น่ า จ ะ เ ป็ น กั บ ห ลั ก พั น ธุ ศ า ส ต ร์
5 . ส่ ว น ข ย า ย ข อ ง ก ฎ เ ม น เ ด ล
6 . ยี น บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ พ ศ
7 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ย พั น ธุ ป ร ะ วั ติ
8 . ยี น ที่ อ ยู่ บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ ดี ย ว กั น
9 . พั น ธุ ก ร ร ม ที่ ขึ้น กั บ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง เ พ ศ
1 0 . พั น ธุ ก ร ร ม จา กั ด เ พ ศ
...
โคลอี้..
เธอทา
อะไรหน่
ะ
ฉันกาลังสรุปเรื่องการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมอยู่ล่ะ
ต้องไปนาเสนอในคาบอ่ะ
ว่าแต่..
ลักษณะทาง
พันธุกรรมมัน
คืออะไรน่ะ
ลักษณะทาง
พันธุกรรมคือ
ลักษณะที่ถูก
ควบคุมโดยยีนไง
,กรีซ
…
ก็ลักษณะที่
สามารถถ่ายทอด
จากรุ่นสู่รุ่นได้อ่ะ
โคลอี้
คือพวกเราไม่
เข้าใจ...
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics
อืม.. ฉันได้สรุป
เรื่องลักษณะทาง
พันธุกรรมไว้บ้าง
แล้ว
งั้นฉันจะ
อธิบายให้
พวกนายฟัง
เอง
เอาละ มาเริ่มกัน
เลยดีกว่า
ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) คือ ลักษณะที่ถูกควบคุม
โดยยีน และสามารถ่ายทอดจากอีกรุ่นสู่อีกรุ่นได้ โดยลักษณะทางพันธุกรรมใน
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดอาจจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป เรียกว่าความแปรผัน
ทางพันธุกรรม (genetic variation) ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท
1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง
- สามารถแยกรูปแบบ (trait) ได้ชัดเจน
- ตัวอย่างเช่น หมู่เลือด สีของเมล็ดถั่วลันเตา มีติ่งหู ลักยิ้ม เป็นต้น
ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม
Genetic character
2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง
- ไม่สามารถแยกรูปแบบ (trait) ออกเป็นกลุ่มได้ชัดเจน
- ตัวอย่างเช่น สีผิว สีตา ความสูง สีของเมล็ดข้าวสาลี เป็นต้น
- ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบนี้จะถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า 1 คู่
(polygene)
เฮเทอโรไซกัส อัลลีล
(heterozygous
allele)
คู่อัลลีลที่ประกอบด้วยอัลลีลที่มีรูปแบบต่างกัน
เช่น Tt
ลักษณะเด่น
(dominant)
ลักษณะที่แสดงออกมาเมื่อยู่ในสภาพ
heterozygote
ลักษณะด้อย
(recessive)
ลักษณะที่ไม่แสดงออกมาหรือถูกข่มเมื่ออยู่ใน
สภาพheterozygote
ยีน
(gene)
หน่วยที่ทาหน้าที่ในการกาหนดลักษณะทาง
พันธุกรรม ยีนเป็นส่วนหนึ่งของ DNA
อัลลีล
(alleles)
รูปแบบแต่ละแบบของยีน โดยทั่วไปจะกาหนด
โดยใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ โดยยีนที่เป็นคู่อัล
ลีล (allelic gene) จะมีตาแหน่ง (locus)
ตรงกันบน homologous chromosome
allelic gene
ตย. ยีนที่ควบคุมความสูงในถั่วลันเตามีอัลลีล 2
รูปแบบคืออัลลีล T ควบคุมลักษณะต้นสูง
ขณะที่ t ควบคุมลักษณะต้นเตี้ย
ลักษณะ
(character)
ประกอบขึ้นจากรูปแบบของลักษณะ
(trait)หลายรูปแบบเช่น ความสูงจัดเป็นลักษณะ
ที่ประกอบด้วยรูปแบบของลักษณะ(trait)2แบบ
คือต้นสูงและต้นเตี้ย
จีโนไทป์
(genotype)
ชุดของอัลลีลที่อยู่เป็นคู่ๆ  เช่น Tt
ฟีโนไทป์
(phenotupe)
ลักษณะที่แสดงออกเนื่องจากจีโนไทป์ นั้นๆ  เช่น
ต้นถั่วลันเตาที่มีจีโนไทป์ เป็น Tt จะมีพีโนไทป์
เป็นต้นสูง
คา ศัพ ท์ พื้น ฐ า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด
ลัก ษ ณ ะ ท า ง พัน ธุ ก ร ร ม
T t ว้าว
**เหตุที่เลือกต้นถั่วลันเตา**
เพราะมีข้อดีหลายอย่าง เช่น เพาะปลูกง่าย
มีวงชีวิตสั้น สามารถเจริญเติบโตได้รวดเร็ว และลักษณะของดอกถั่ว
ลันเตามีลักษณะเป็นโครงสร้างเป็นดอกปิด ดังนั้นในธรรมชาติต้นถั่ว
ลันเตาจึงเป็นพืชที่มีการปฏิสนธิภายในดอกเดียวกัน (self-
fertilization) ลักษณะของดอกเช่นนี้ทาให้เมนเดลสามารถ
ควบคุมการทดลองและการป้องกันการผสมละอองเรณูจากดอกของ
ต้นถั่วลันเตาต้นอื่นได้
กฎของเมน เด ล
เกรเกอร์ เมนเดล
(Grego Mendel)
บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ ได้ทาการศึกษารูปแบบของการ
ถ่ายทอดลักษณะในต้นถั่วลันเตา (garden pea : Pisum
sativum)
การทดลองของเมนเดลทาโดยการนาต้นถั่วลันเตามาตัดเกสรตัวผู้
ออก เพื่อป้องกันการปฏิสนธิภายในดอกเดียว (self-fertilization) แล้วนา
พู่กันไปแตะเอาละอองเรณูของต้นถั่วลันเตาที่ต้องการศึกษามาวางไว้บนเกสร
ตัวเมียของดอกที่ถูกตัดเกสรตัวผู้ออก จากนั้นจึงนาเอาเมล็ดที่เกิดจากการ
ปฏิสนธิไปเพาะแล้วตรวจนับทางสถิติเพื่อวิเคราะห์ผลการทาลอง ซึ่งลักษณะ
ของถั่วลันเตาที่เมนเดลทาการพิจารณามี 7 ลักษณะดังตาราง โดยแต่ละ
ลักษณะเป็นยีนที่อยู่บนคนละโครโมโซม
ลักษณะของดอกถั่วลันเตา ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย
สีของดอกถั่วลันเตา
(flower color)
ดอกสีม่วง ดอกสีขาว
ตาแหน่งของดอกบนต้น
(flower position)
ด้านข้างลาต้น
(axial)
ปลายยอด
(terminal)
สีของเมล็ด
(seed color)
เมล็ดสีเหลือง เมล็ดสีเขียว
รูปร่างของเมล็ด
(seed shape)
เมล็ดเรียบ เมล็ดขรุขระ
สีของฝัก
(pod color)
ฝักสีเขียว ฝักสีเหลือง
รูปร่างของฝัก
(pod shape)
ฝักพองกลม
(inflated)
ฝักขรุขระ
(constricted)
ความสูงของลาต้น
(stem height)
ต้นสูง
(tall)
ต้นเตี้ย
(dwarf)
กฎแห่งการแยก (Law of segregation)
อัลลีลที่อยู่เป็นคู่อัลลีลกันบน homologous chromosome จะแยกออก
จากกันในระหว่างการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์จะได้รับ
เพียงอัลลีลใด
อัลลีลหนึ่งเท่านั้นจากคูอัลลีลเดียวกัน กฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ (Law of independent
assortment)
ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ  ที่อยู่บนคนละคู่ของโครโมโซม สามารถเกิดการจับ
กลุ่มได้อย่างอิสระระหว่างกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์
เมนเดลทาการทดลองโดยการนาต้นที่เป็นพันธุ์แท้ของ
ลักษณะใดลักษณะหนึ่งมาผสมกันเป็นรุ่นพ่อแม่ (P
generation) พบว่าลูกที่เกิดในรุ่น F1 จะมีลักษณะเด่นทั้งหมด
จากนั้นนาลูกรุ่นที่ F1 ที่เกิดขึ้นมาผสมพันธุ์กันเอง จะพบว่า F2
จะมีลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อย เป็น 3 : 1 เสมอ
การผสมพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยพิจารณาลักษณะ
เพียงอย่างเดียวเรียกว่า monohybrid และ
จากการทดลองนี้ทาให้เมนเดลตั้งเป็นกฎข้อที่
หนึ่ง หรือ กฎแห่งการแยก (Law of
segregation)
นอกเหนือจากนี้เมนเดลได้ทาการทดลองผสมต้นถั่วลันเตา
แต่พิจารณา 2 ลักษณะ เรียกการผสมแบบนี้ว่า dihybrid cross
เช่น ถ้าทาการผสมพันธุ์ระหว่างถั่วลันเตาที่มีลักษณะเมล็ดกลมสี
เหลือง (ลักษณะเด่นทั้งคู่) เข้ากับต้นถั่วลันเตาที่มีลักษณะเมล็ด
ขรุขระสีเขียว (ลักษณะด้อยทั้งคู่) ในรุ่นพ่อแม่ พบว่ารุ่นลูก F1 ที่เกิด
จะมีลักษะเมล็ดกลมสีเหลืองทั้งหมด และถ้านารุ่นลูก F1 ผสมพันธุ์
กันเอง พบว่ารุ่นลูก F2 ที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเมล็ดกลมสีเหลือง :
เมล็ดกลมสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว เท่ากับ
9:3:3:1 ดังตาราง Punnett’s square
รุ่นพ่อแม่ เมล็ดกลมสีเหลือง (RRYY) X เมล็ดขรุขระสีเขียว
(rryy)
รุ่นลูก F1 เมล็ดกลมสีเหลือง (RrYy)
รุ่นลูก
F2
RY Ry rY ry
RY RRY
Y
RRY
y
RrY
Y
RrYy
Ry RRY
y
RRy
y
RrYy RrYy
rY RRY
Y
RrYy rrYY rrYy
ry RRY
y
Rryy rrYy rryy
จากการผสมพันธุ์แบบ dihybrid cross ทาให้เมนเดล
ตั้งกฎข้อที่สอง หรือกฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ
(Law of independent assortment)
**ข้อสังเกตเพิ่มเติม**
กฎข้อที่หนึ่งของเมนเดลจะสอดคล้องกับการแบ่งเซลล์ใน
ระยะ anaphase I ของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
กฎข้อที่สองของเมนเดลจะสอดคล้องกับการแบ่งเซลล์ใน
ระยะ metaphase I ของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
การผสมทดสอบ (testcross)
เป็นการตรวจสอบหาจีโนไทป์ ของสิ่งมีชีวิตี่มีลักษณะเด่นว่ามี
ลักษณะของจีโนไทป์ เป็นแบบ homozygous dominant หรือ
heterozygous โดยนาสิ่งมีชีวิตที่สงสัยมาผสมพันธุ์กับสิ่งมีชีวิตที่
เป็น homozygous recessive(ตัวทดสอบ) แล้วดูจากลูกที่
เกิดขึ้น จะมีได้ 2 กรณี ดังนี้กรณี 1 ลักษณะเด่นทั้งหมด สิ่งมีชีวิตที่สงสัยมีลักษณะเป็น
homozygous dominant
กรณี 2 ลักษณะเด่น : ลักษณะด้อย = 1 : 1 สิ่งมีชีวิตที่สงสัยมีลักษณะ
เป็น heterozygous
การผสมพันธุ์ย้อนกลับ (backcross)
เป็นการผสมพันธุ์ที่นาลูกที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 ผสมพันธุ์กับพ่อหรือ
แม่ตัวใดตัวหนึ่ง หรือสิ่งมีชีวิตตัวอื่นที่มีจีโนไทป์ แบบกับพ่อและแม่
โดยทั่วไปการทา backcross จะทากับพ่อหรือแม่ที่มีจีโนไทป์ ที่
ดีที่สุด (elite characters) เพื่อรักษาจีโนไทป์ เอาไว้ไม่ให้
หายไปจากสายพันธุ์ เทคนิคนี้จึงนิยมนามาปรับปรุงพันธุ์พืชและ
สัตว์
ค ว า ม น่ า จ ะ เ ป็ น กั บ ห ลัก พัน ธุ ศ า ส ต ร์
ความน่าจะเป็น (probability) เป็นแนวโน้มของเหตุการณ์ที่อาจจะ
เกิดขึ้นได้ โดยกฎความน่าจะเป็น 2 ข้อหลักที่จะนามาประยุกต์ใช้ในการ
คานวณทางพันธุ์ศาสตร์ คือ
1. กฎแห่งการคูณ (multiplication rule)
- เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรือมากกว่า
- เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน
- เรียกเหตุการณ์นี้ว่า Independent events โอกาสที่จะเกิด
เหตุการณ์ AและBพร้อมกัน = P(A)xP(B)
2. กฎแห่งการบวก (addition rule)
- เหตุการณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆ กันได้
- เรียกเหตุการณ์นี้ว่า mutually exclusive events
- โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวกของโอกาสที่
จะเกิดแต่ละเหตุการณ์ P(เหตุการณ์ AหรือBอย่างใดอย่างหนึ่ง ) =
P(A)+P(B)
3. มัลติเปิลอัลลีล (multiple allele)
ส่ ว น ข ย า ย ข อ ง ก ฎ เ ม น เ ด ล
( E x t e n s i o n o f M e n d a l a i n G e n e t i c s )
1. การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete
dominance)
2. การข่มร่วมกัน
(codominance)
- การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่สิ่งมีชีวิตเป็น heterozygote
สามารถแสดงลักษระของอัลลีลสองรูปแบบซึ่งเป็นลักษณะเด่นได้เท่าๆ กัน ไม่
สามารถแยกลักษณะเด่นและด้อยได้
- ตัวอย่างเช่น ระบบหมูเลือด MN ถูกควบคุมโดยอัลลีล 𝐿 𝑀
และ 𝐿 𝑁
𝐿 𝑀
𝐿 𝑀
แสดงลักษณะหมู่เลือด M
𝐿 𝑁
𝐿 𝑁
แสดงลักษณะหมู่เลือด N
𝐿 𝑀
𝐿 𝑁
แสดงลักษณะหมู่เลือด MN (แสดงออกทั้ง M และ
N)
- การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ลักษณะหนึ่งไม่สามารถข่มอีก
ลักษณะหนึ่งได้อย่างสมบูรณ์
- จะมีจีโนไทป์ เป็นแบบ heterozygous จะมีลักษณะก้ากึ่งระหว่างสอง
ลักษณะ
- อัตราส่วนฟีโนไทป์ ของลูกที่เกิดขึ้นจากการผสมกันระหว่าง
heterozygous จะไม่เป็น 3:1 แต่จะเป็น 1:2:1 โดย 2 ส่วนจะเป็น
heterozygous
- ตัวอย่างเช่น ลักษณะเส้นผมในคน ถูกควบคุมด้วยจีโนไทป์ ดังนี้
HH แสดงลักษณะผมหยิก
H’ H’ แสดงลักษณะผมตรง
HH’ แสดงลักษณะผมหยักศก (ลักษณะก้ากึ่งระหว่าง
ผมหยิกและผมตรง)
- ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนตาแหน่งเดียว (single locus) แต่มีรูปแบบ
ของ
อัลลีลมากกว่า 2 แบบ
- ตัวอย่างเช่น ระบบหมู่เลือด ABO ถูกควบคุมด้วยอัลลีล 3 รูปแบบ คือ
𝐼 𝐴
, 𝐼 𝐵
และ i ดังนี้
หมู่เลือด A จีโนไทป์ อาจจะเป็น 𝐼 𝐴
𝐼 𝐴
หรือ 𝐼 𝐴
i
หมูเลือด B จีโนไทป์ อาจจะเป็น 𝐼 𝐵
𝐼 𝐵
หรือ 𝐼 𝐵
i
หมู่เลือด AB จีโนไทป์ เป็น 𝐼 𝐴
𝐼 𝐵
หมู่เลือด O จีโนไทป์ เป็น ii
จากการทดลองจะเห็นว่าเพศของแมลงหวี่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได้ เรียกลักษณะของยีนที่อยู่บน
โครโมโซมเพศนี้ว่า sex-linked gene สามารถแบ่งออกได้เป็น 2
กลุ่ม
4. พอลียีน
(polygene)
- ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่หนึ่งลักษณะถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า 1 คู่
(polygene trait) โดยทั่วไปจะเป็นลักษณะที่มีความแปรผัน
แบบต่อเนื่อง (continuous variation) สามารถวัดออกมาเป็นเชิง
ปริมาณได้ บางครั้งจึงเรียกลักษณะที่เกิดขึ้นนี้ว่า quantitative trait
- ตัวอย่างเช่น H.Nilsson-Ehle ได้ทาการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมของสีเมล็ดข้าวสาลี ซึ่งถูกควบคุมโดยยีน 3 คู่ ถ้า
กาหนดให้ R1,R2 และ R3 ควบคุมสีแดง และ r1,r2 และ r3 ควบคุม
สีขาว ถ้าจีโนไทป์ เป็น R1R1R2R2R3R3 ทาให้เมล็ดข้าวสาลีมีสี
แดงเข้มมากสุด แต่ถ้ามีจีโนไทป์ เป็น r1r1r2r2r3r3 จะทาให้เมล็ดข้าว
มีสีข้าว โดยถ้ามียีน R น้อยกว่า 6 ยีน ก็จะทาให้มีสีแดงอ่อนลงลดหลั่น
กันไปตามลาดับ เป็นต้น
5. ปรากฏการณ์
(pleiotropy)
- ปรากฏการณ์ที่ยีน 1 ยีน สามารถควบคุมได้มากกว่าหนึ่งลักษณะ
- ตัวอย่างเช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะสีของดอกถั่วลันเตา (สีม่วงหรือขาว) ยัง
สามารถควบคุมสีของเมล็ดถั่วลันเตาที่เกิดขึ้นได้อีกด้วย เป็นต้น
ยี น บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ พ ศ
( S e x - l i n k e d g e n e )
การทดลองของ T.H Morgan และคณะโดยดารทดลองเลี้ยงแมลงหวี่
(Drosophila melanogaster) ซึ่งมีโครโมโซม 4 คู่ โดย 3 คู่เป็น
โครโมโซมร่างกายหรือออโตโซม (autosome) อีกคู่หนึ่งเป็นโครโมโซมเพศ
(sex chromosome)
ถ้าเป็น XX จะเป็นแมลงหวี่เพศเมีย แต่ถ้าเป็น XY จะเป็นแมลงหวี่เพศผู้
การทดลองของ T.H Morgan สรุปได้ดังนี้
F2
รุ่นพ่อแม่
F1
แมลงหวี่เพศผู้ตาสีขาว X แมลงหวี่เพศเมียตาสีแดง
แมลงหวี่ทุกตัวมีตาสีแดง (ผสมกันเอง)
แมลงหวี่เพศผู้อาจมีตาสีขาวหรือแดง แต่แมลงหวี่เพศเมียมีตาสีแดงเท่านั้น
1. Sex linked recessive (x-linked recessive)
- ความผิดปกติของโรคทางพันธุกรรมอยู่บนโครโมโซม X
- จะแสดงออกเมื่อมีจีโนไทป์ เป็น homozygous recessive
- ตัวอย่างเช่น โรคตาบอดสี โรคฮิโมฟีเลีย โรคภาวะพร่องเอมไซม์
G6PD
2. Sex linked dominance (x-linked dominance)
- ความผิดปกติของโรคทางพันธุกรรมอยู่บนโครโมโซม X
- จะแสดงออกเมื่อมีจีโนไทป์ เป็น homozygous dominance
หรือ heterozygous พบได้น้อยในธรรมชาติ
- ตัวอย่างเช่น โรคขนยาวรุงรังตามใบหน้า ลาตัว และแขนขา
ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ย พัน ธุ ป ร ะ วัติ
( P e d i g r e e A n a l y s i s )
การศึกษารูปแบบการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมในมนุษย์เป็นไปได้
ยากกว่าในสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตอื่นมาก เนื่องจากมนุษย์มีลูกได้คราวละไม่มาก
และไม่สามารถทดลองได้เหมือนกับสัตว์ทดลองอื่น ดังนั้น การสร้างสายพันธุ์
ประวัติ (pedigree) โดยการสารวจบรรพบุรุษและญาติที่ใกล้ชิดเขียนเป็นผัง
ขึ้นมาแล้วดูแนวโน้มในการเกิดโรคนั้นๆ  ในรุ่นลูกหลานต่อไป
เพศชายลักษณะปกติ
เพศหญิงลักษณะปกติ
เพศชายที่เป็นพาหะ
เพศหญิงที่เป็นพาหะ
เพศชายแสดงอาการของโรค
เพศหญิงแสดงอาการของโรค
คู่แต่งงานสามีภรรยา
คู่แต่งงานในครอบครัว
เดียวกัน
1. Autosomal dominant inheritance
- ลักษณะความผิดปกติที่เกิดขึ้นมักไม่ข้ามรุ่น (no skip
generation)
- เพศชายและหญิงมีโอกาสเกิดเท่าๆ กัน
- ถ่ายทอดจากพ่อไปลูกชาย(male-to-male) และแม่ไปสู่ลูกสาว
(female-to-female)
- ลูกที่เกิดขึ้นจะเป็นโรคความผิดปกติ จะต้องมีพ่อหรือแม่เป็นอย่าง
น้อย 1 คน
2. Autosomal recessive inheritance
- โรคมักไม่ได้เกิดในทุกรุ่น ส่วนใหญ่มีการข้ามรุ่น (skip
generation)
- เพศชายและหญิงมีโอกาสเกิดเท่าๆ กัน
- ลูกที่เกิดขึ้นจะเป็นโรคหรือความผิดปกติ อาจจะเกิดจากพ่อแม่ที่ไม่
เป็นโรคเลย แต่เป็นพาหะทั้งคู่
- ถ้าพ่อและแม่แสดงอาการของโรคหรือความผิดปกติ ลูกที่เกิดขึ้นทุก
คนต้องเป็นโรค
3. X-linked dominant inheritance
- ลักษณะหรือความผิดปกติที่เกิดไม่เกิดข้ามรุ่น (no skip
generation)
- เพศหญิงมีโอกาสเกิดโรคมากกว่าเพศชาย
- ไม่มีโอกาสถ่ายทอดลักษณะความผิดปกติจากพ่อไปสู่ลูกชาย
(male-to-male transmission)
- ถ้าพ่อไม่เป็นโรค ลูกสาวทุกคนจะเป็นโรคหรือแสดงความผิดปกติขึ้น
4. X-linked recessive inheritance
- ลักษณะหรือความผิดปกติที่เกิดเกิดข้ามรุ่น (skip generation)
- เพศชายมีโอกาสเกิดมากกว่าเพศหญิง
- ไม่มีโอกาสถ่ายทอดลักษณะความผิดปกติจากพ่อไปสู่ลูกชาย
(male-to-male transmission)
- ลูกชายที่เป็นโรคเกิดจากแม่ที่เป็นโรคหรือเป็นพาหะ
(heterozygous)
- ถ้าแม่เป็นโรค ลูกชายทุกคนต้องเป็นโรคทั้งหมด แต่ลูกสาวอาจจะ
เป็นหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับพ่อว่าเป็นโรคหรือไม่ ถ้าพ่อเป็นโรค ลูกสาวทุก
คนต้องเป็นโรค แต่ถ้าพ่อไม่เป็นโรคลูกสาวจะเป็นพาหะ
ยี น ที่ อ ยู่ บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ ดี ย ว กั น
( L i n k e d G e n e )
จากการศึกษาของเมนเดล ถ้าหากยีนทุกยีนเป็นไปตามกฎข้อที่สองของเมน
เดล แสดงว่าในกรณีของมนุษย์จะมียีนได้เพียง 23 ยีนเท่านั้น แต่ในความเป็น
จริงมนุษย์มียีนจานวนมาก สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะยีนจานวนมากอยู่บน
โครโมโซมแท่งเดียวกัน เรียกยีนที่อยู่บนโครโมโซมแท่งเดียวกันนี้ว่า ลิงค์ยีน
(Linked gene) และเรียกโครโมโซม 1 แท่งที่มียีนอยู่จานวนมากนี้ว่า
linkage group
กาหนดให้ ยีน B ควบคุมลักษณะขนสีน้าตาลอ่อนและ
ยีน b ควบคุมลักษณะขนสีดาเป็นยีนด้อย
ยีน C ควบคุมลักษณะปีกตรง และ ยีน c ควบคุมลักษณะปีกโค้งเป็นยีน
ด้อย
ตัวอย่างการศึกษาลิงค์ยีนในแมลงหวี่
F1
ผลการ
ทดลอง
รุ่นพ่อแม่
F1
ตามทฤษฏี
แมลงหวี่ตัวสีน้าตาลปีกตรง X แมลงหวี่ตัวสีดาปีกโค้ง
(BbCc) (bbcc)
B
C
b
c
b
c
b
c
แมลงหวี่ตัวสีน้าตาลปีก
ตรง (BbCc)
X แมลงหวี่ตัวสีดาปีกโค้ง
(bbcc)
ตัวสาน้าตาลปีกตรง:ตัวสีดาปีกโค้ง
Parental progeny
ตัวสีน้าตาลปีกโค้ง:ตัวสีดาปีก
ตรง
Recombinant Progeny
>>
มันก็
ประมาณนี้
แหละ
สาเหตุที่ผลการทดลองจริงแมลงหวี่รุ่นลูกที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 มี
ลักษณะ 4 ลักษณะ นอกเหนือไปจากลักษณะที่ควรจะเป็นเนื่องในธรรมชาติ
เพราะในช่วงของการสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบไม่โอซิสระยะ prophase I จะ
ทาให้มีการจับคู่กันของ homologous chromosome และเกิดการ
แลกเปลี่ยนชิ้นส่วนกัน (crossing over) ทาให้มีเซลล์สืบพันธุ์จานวนหนึ่ง
ที่มีลักษณะผสมคือ Bc และ bC อย่างไรก็ตาม การเกิด crossing over
นี้มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยกว่ามาก ดังนั้นจึงทาให้ลูกส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมีฟีโน
ไทป์ เหมือนพ่อและแม่เป็นหลักจะเรียนลุกกลุ่มเหล่านี้ว่า Parental
progeny ขณะที่ลูกที่มีลักษณะที่เกิดขึ้นใหม่จะเรียกว่า Recombinant
Progeny
พัน ธุ ก ร ร ม ที่ ขึ้น กั บ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง เ พ ศ
( s e x - i n f l u e n c e d t r a i t )
พันธุกรรมที่ขึ้นกับอิทธิพลของเพศ (sex- influenced
trait)
- ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนในโครโมโซมร่างกาย (autosome) ที่จะแสดง
ลักษณะเด่นในเพศหนึ่ง และแสดงลักษณะด้อยในอีกเพศหนึ่ง โดยจะเห็นได้ชัดเมื่อ
ยีนนั้นอยู่ในรูปของ heterozygous ซึ่งการแสดงออกนี้ได้รับอิทธิพลจากฮอร์โมน
เพศเป็นตัวควบคุม
- เช่น ให้ B ควบคุมลักษณะหัวล้าน และ b ควบคุมลักษณะหัวไม่ล้าน
Genotype Phenotype
เพศชาย เพศหญิง
BB หัวล้าน หัวล้าน
Bb หัวล้าน หัวไม่ล้าน
bb หัวไม่ล้าน หัวไม่ล้าน
พัน ธุ ก ร ร ม จา กั ด เ พ ศ
( S e x - l i m i t e d t r a i t )
พันธุกรรมจากัดเพศ (Sex-limited trait)
- ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมร่างกาย แต่จะ
สามารถแสดงออกเฉพาะเพศใดเพศหนึ่งเท่านั้น
- ตัวอย่างเช่น ลักษณะขนหางไก่ ให้ยีน H ควบคุมขนหางสั้น
และ h ควบคุมขนหางยาว
Genotype Phenotype
ไก่ตัวผู้ ไก่ตัวเมีย
BB ขนหางสั้น ขนหางสั้น
Bb ขนหางสั้น ขนหางสั้น
bb ขนหางยาว ขนหางสั้น
ให้ตายสิโคลอี้
เธอจะจามัน
ทั้งหมดนี้นะหรอ
แต่ยังไงก็ขอให้
เธอโชคดีกับการ
นาเสนองานนะ
ขอบใจ
นะ
วันนาเสนองาน...
สวัสดีค่ะ
วันนี้ดิฉันจะมา
นาเสนอเรื่อง..
ฮึบ..
ว้าว สุดยอดไปเลย
นั่นมันเจ๋งมาก
เลยไม่ใช่หรอ
เยี่ยม
มากเลย
ละ
เธอทาได้ดี
มากเลยนะ
เฮ้ โคลอี้
พวกเรายินดี
ด้วยนะ
คือพวกเราอยากจะฃ
วนโคลอี้ไปดูคนอวดผี
ที่บ้านคืนนี้อ่ะ
ไปด้วยกันไหม
โอ้ ได้เลย
นี่รายการโปรด
ฉันละ
เ ย้ ! !
[บรรณานุกรม
ศุภณัฐ ไพโรหกุล. Essential Biology. กรุงเทพฯ: บริษัทแอคทีฟพริ้น
จากัด, 2558
[จัดทาโดย
นางสาวธนภรณ์ ธนูศร เลขที่ 10
นางสาวกุลภรณ์ มั่นกตัญญู เลขที่ 20
นางสาวจณิสตา พิมพาทอง เลขที่ 21
นางสาวปัณทิรา จันทะศิรา เลขที่ 22
นางสาวศุภิสรา กันยาทอง เลขที่ 23
นางสาวชัชฎาพร ขาวเกิด เลขที่ 29
นางสาวสมพร อินทศร เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
ครูพัชราผลหมู่
โรงเรียนแก่งคอย อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
Yaovaree Nornakhum
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
pitsanu duangkartok
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
natthineechobmee
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ไพฑูรย์ ทิพย์สันเทียะ
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
Pinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมBiobiome
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์สงบจิต สงบใจ
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
zidane36
 

What's hot (20)

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
 

Similar to Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Kanyaphat Sarunratchatanon
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
rathachokharaluya
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
Moukung'z Cazino
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
Wichai Likitponrak
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 

Similar to Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (20)

Aaa
AaaAaa
Aaa
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
 
เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
1
11
1
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
Gene
GeneGene
Gene
 
Test
TestTest
Test
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 

Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม

  • 2. Genetic ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม 1 . ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม 2 . คา ศั พ ท์ พื้น ฐ า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม 3 . ก ฎ ข อ ง เ ม น เ ด ล 4 . ค ว า ม น่ า จ ะ เ ป็ น กั บ ห ลั ก พั น ธุ ศ า ส ต ร์ 5 . ส่ ว น ข ย า ย ข อ ง ก ฎ เ ม น เ ด ล 6 . ยี น บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ พ ศ 7 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ย พั น ธุ ป ร ะ วั ติ 8 . ยี น ที่ อ ยู่ บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ ดี ย ว กั น 9 . พั น ธุ ก ร ร ม ที่ ขึ้น กั บ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง เ พ ศ 1 0 . พั น ธุ ก ร ร ม จา กั ด เ พ ศ
  • 3. ... โคลอี้.. เธอทา อะไรหน่ ะ ฉันกาลังสรุปเรื่องการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมอยู่ล่ะ ต้องไปนาเสนอในคาบอ่ะ ว่าแต่.. ลักษณะทาง พันธุกรรมมัน คืออะไรน่ะ ลักษณะทาง พันธุกรรมคือ ลักษณะที่ถูก ควบคุมโดยยีนไง ,กรีซ … ก็ลักษณะที่ สามารถถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่นได้อ่ะ โคลอี้ คือพวกเราไม่ เข้าใจ... การถ่ายทอดทางพันธุกรรม Genetics
  • 4. อืม.. ฉันได้สรุป เรื่องลักษณะทาง พันธุกรรมไว้บ้าง แล้ว งั้นฉันจะ อธิบายให้ พวกนายฟัง เอง เอาละ มาเริ่มกัน เลยดีกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) คือ ลักษณะที่ถูกควบคุม โดยยีน และสามารถ่ายทอดจากอีกรุ่นสู่อีกรุ่นได้ โดยลักษณะทางพันธุกรรมใน สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดอาจจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป เรียกว่าความแปรผัน ทางพันธุกรรม (genetic variation) ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท 1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง - สามารถแยกรูปแบบ (trait) ได้ชัดเจน - ตัวอย่างเช่น หมู่เลือด สีของเมล็ดถั่วลันเตา มีติ่งหู ลักยิ้ม เป็นต้น ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม Genetic character 2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง - ไม่สามารถแยกรูปแบบ (trait) ออกเป็นกลุ่มได้ชัดเจน - ตัวอย่างเช่น สีผิว สีตา ความสูง สีของเมล็ดข้าวสาลี เป็นต้น - ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบนี้จะถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า 1 คู่ (polygene)
  • 5. เฮเทอโรไซกัส อัลลีล (heterozygous allele) คู่อัลลีลที่ประกอบด้วยอัลลีลที่มีรูปแบบต่างกัน เช่น Tt ลักษณะเด่น (dominant) ลักษณะที่แสดงออกมาเมื่อยู่ในสภาพ heterozygote ลักษณะด้อย (recessive) ลักษณะที่ไม่แสดงออกมาหรือถูกข่มเมื่ออยู่ใน สภาพheterozygote ยีน (gene) หน่วยที่ทาหน้าที่ในการกาหนดลักษณะทาง พันธุกรรม ยีนเป็นส่วนหนึ่งของ DNA อัลลีล (alleles) รูปแบบแต่ละแบบของยีน โดยทั่วไปจะกาหนด โดยใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ โดยยีนที่เป็นคู่อัล ลีล (allelic gene) จะมีตาแหน่ง (locus) ตรงกันบน homologous chromosome allelic gene ตย. ยีนที่ควบคุมความสูงในถั่วลันเตามีอัลลีล 2 รูปแบบคืออัลลีล T ควบคุมลักษณะต้นสูง ขณะที่ t ควบคุมลักษณะต้นเตี้ย ลักษณะ (character) ประกอบขึ้นจากรูปแบบของลักษณะ (trait)หลายรูปแบบเช่น ความสูงจัดเป็นลักษณะ ที่ประกอบด้วยรูปแบบของลักษณะ(trait)2แบบ คือต้นสูงและต้นเตี้ย จีโนไทป์ (genotype) ชุดของอัลลีลที่อยู่เป็นคู่ๆ เช่น Tt ฟีโนไทป์ (phenotupe) ลักษณะที่แสดงออกเนื่องจากจีโนไทป์ นั้นๆ เช่น ต้นถั่วลันเตาที่มีจีโนไทป์ เป็น Tt จะมีพีโนไทป์ เป็นต้นสูง คา ศัพ ท์ พื้น ฐ า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลัก ษ ณ ะ ท า ง พัน ธุ ก ร ร ม T t ว้าว
  • 6. **เหตุที่เลือกต้นถั่วลันเตา** เพราะมีข้อดีหลายอย่าง เช่น เพาะปลูกง่าย มีวงชีวิตสั้น สามารถเจริญเติบโตได้รวดเร็ว และลักษณะของดอกถั่ว ลันเตามีลักษณะเป็นโครงสร้างเป็นดอกปิด ดังนั้นในธรรมชาติต้นถั่ว ลันเตาจึงเป็นพืชที่มีการปฏิสนธิภายในดอกเดียวกัน (self- fertilization) ลักษณะของดอกเช่นนี้ทาให้เมนเดลสามารถ ควบคุมการทดลองและการป้องกันการผสมละอองเรณูจากดอกของ ต้นถั่วลันเตาต้นอื่นได้ กฎของเมน เด ล เกรเกอร์ เมนเดล (Grego Mendel) บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ ได้ทาการศึกษารูปแบบของการ ถ่ายทอดลักษณะในต้นถั่วลันเตา (garden pea : Pisum sativum) การทดลองของเมนเดลทาโดยการนาต้นถั่วลันเตามาตัดเกสรตัวผู้ ออก เพื่อป้องกันการปฏิสนธิภายในดอกเดียว (self-fertilization) แล้วนา พู่กันไปแตะเอาละอองเรณูของต้นถั่วลันเตาที่ต้องการศึกษามาวางไว้บนเกสร ตัวเมียของดอกที่ถูกตัดเกสรตัวผู้ออก จากนั้นจึงนาเอาเมล็ดที่เกิดจากการ ปฏิสนธิไปเพาะแล้วตรวจนับทางสถิติเพื่อวิเคราะห์ผลการทาลอง ซึ่งลักษณะ ของถั่วลันเตาที่เมนเดลทาการพิจารณามี 7 ลักษณะดังตาราง โดยแต่ละ ลักษณะเป็นยีนที่อยู่บนคนละโครโมโซม ลักษณะของดอกถั่วลันเตา ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย สีของดอกถั่วลันเตา (flower color) ดอกสีม่วง ดอกสีขาว ตาแหน่งของดอกบนต้น (flower position) ด้านข้างลาต้น (axial) ปลายยอด (terminal) สีของเมล็ด (seed color) เมล็ดสีเหลือง เมล็ดสีเขียว รูปร่างของเมล็ด (seed shape) เมล็ดเรียบ เมล็ดขรุขระ สีของฝัก (pod color) ฝักสีเขียว ฝักสีเหลือง รูปร่างของฝัก (pod shape) ฝักพองกลม (inflated) ฝักขรุขระ (constricted) ความสูงของลาต้น (stem height) ต้นสูง (tall) ต้นเตี้ย (dwarf)
  • 7. กฎแห่งการแยก (Law of segregation) อัลลีลที่อยู่เป็นคู่อัลลีลกันบน homologous chromosome จะแยกออก จากกันในระหว่างการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์จะได้รับ เพียงอัลลีลใด อัลลีลหนึ่งเท่านั้นจากคูอัลลีลเดียวกัน กฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ (Law of independent assortment) ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ที่อยู่บนคนละคู่ของโครโมโซม สามารถเกิดการจับ กลุ่มได้อย่างอิสระระหว่างกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เมนเดลทาการทดลองโดยการนาต้นที่เป็นพันธุ์แท้ของ ลักษณะใดลักษณะหนึ่งมาผสมกันเป็นรุ่นพ่อแม่ (P generation) พบว่าลูกที่เกิดในรุ่น F1 จะมีลักษณะเด่นทั้งหมด จากนั้นนาลูกรุ่นที่ F1 ที่เกิดขึ้นมาผสมพันธุ์กันเอง จะพบว่า F2 จะมีลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อย เป็น 3 : 1 เสมอ การผสมพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยพิจารณาลักษณะ เพียงอย่างเดียวเรียกว่า monohybrid และ จากการทดลองนี้ทาให้เมนเดลตั้งเป็นกฎข้อที่ หนึ่ง หรือ กฎแห่งการแยก (Law of segregation) นอกเหนือจากนี้เมนเดลได้ทาการทดลองผสมต้นถั่วลันเตา แต่พิจารณา 2 ลักษณะ เรียกการผสมแบบนี้ว่า dihybrid cross เช่น ถ้าทาการผสมพันธุ์ระหว่างถั่วลันเตาที่มีลักษณะเมล็ดกลมสี เหลือง (ลักษณะเด่นทั้งคู่) เข้ากับต้นถั่วลันเตาที่มีลักษณะเมล็ด ขรุขระสีเขียว (ลักษณะด้อยทั้งคู่) ในรุ่นพ่อแม่ พบว่ารุ่นลูก F1 ที่เกิด จะมีลักษะเมล็ดกลมสีเหลืองทั้งหมด และถ้านารุ่นลูก F1 ผสมพันธุ์ กันเอง พบว่ารุ่นลูก F2 ที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเมล็ดกลมสีเหลือง : เมล็ดกลมสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว เท่ากับ 9:3:3:1 ดังตาราง Punnett’s square รุ่นพ่อแม่ เมล็ดกลมสีเหลือง (RRYY) X เมล็ดขรุขระสีเขียว (rryy) รุ่นลูก F1 เมล็ดกลมสีเหลือง (RrYy) รุ่นลูก F2 RY Ry rY ry RY RRY Y RRY y RrY Y RrYy Ry RRY y RRy y RrYy RrYy rY RRY Y RrYy rrYY rrYy ry RRY y Rryy rrYy rryy จากการผสมพันธุ์แบบ dihybrid cross ทาให้เมนเดล ตั้งกฎข้อที่สอง หรือกฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ (Law of independent assortment) **ข้อสังเกตเพิ่มเติม** กฎข้อที่หนึ่งของเมนเดลจะสอดคล้องกับการแบ่งเซลล์ใน ระยะ anaphase I ของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส กฎข้อที่สองของเมนเดลจะสอดคล้องกับการแบ่งเซลล์ใน ระยะ metaphase I ของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
  • 8. การผสมทดสอบ (testcross) เป็นการตรวจสอบหาจีโนไทป์ ของสิ่งมีชีวิตี่มีลักษณะเด่นว่ามี ลักษณะของจีโนไทป์ เป็นแบบ homozygous dominant หรือ heterozygous โดยนาสิ่งมีชีวิตที่สงสัยมาผสมพันธุ์กับสิ่งมีชีวิตที่ เป็น homozygous recessive(ตัวทดสอบ) แล้วดูจากลูกที่ เกิดขึ้น จะมีได้ 2 กรณี ดังนี้กรณี 1 ลักษณะเด่นทั้งหมด สิ่งมีชีวิตที่สงสัยมีลักษณะเป็น homozygous dominant กรณี 2 ลักษณะเด่น : ลักษณะด้อย = 1 : 1 สิ่งมีชีวิตที่สงสัยมีลักษณะ เป็น heterozygous การผสมพันธุ์ย้อนกลับ (backcross) เป็นการผสมพันธุ์ที่นาลูกที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 ผสมพันธุ์กับพ่อหรือ แม่ตัวใดตัวหนึ่ง หรือสิ่งมีชีวิตตัวอื่นที่มีจีโนไทป์ แบบกับพ่อและแม่ โดยทั่วไปการทา backcross จะทากับพ่อหรือแม่ที่มีจีโนไทป์ ที่ ดีที่สุด (elite characters) เพื่อรักษาจีโนไทป์ เอาไว้ไม่ให้ หายไปจากสายพันธุ์ เทคนิคนี้จึงนิยมนามาปรับปรุงพันธุ์พืชและ สัตว์ ค ว า ม น่ า จ ะ เ ป็ น กั บ ห ลัก พัน ธุ ศ า ส ต ร์ ความน่าจะเป็น (probability) เป็นแนวโน้มของเหตุการณ์ที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ โดยกฎความน่าจะเป็น 2 ข้อหลักที่จะนามาประยุกต์ใช้ในการ คานวณทางพันธุ์ศาสตร์ คือ 1. กฎแห่งการคูณ (multiplication rule) - เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรือมากกว่า - เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน - เรียกเหตุการณ์นี้ว่า Independent events โอกาสที่จะเกิด เหตุการณ์ AและBพร้อมกัน = P(A)xP(B) 2. กฎแห่งการบวก (addition rule) - เหตุการณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆ กันได้ - เรียกเหตุการณ์นี้ว่า mutually exclusive events - โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวกของโอกาสที่ จะเกิดแต่ละเหตุการณ์ P(เหตุการณ์ AหรือBอย่างใดอย่างหนึ่ง ) = P(A)+P(B)
  • 9. 3. มัลติเปิลอัลลีล (multiple allele) ส่ ว น ข ย า ย ข อ ง ก ฎ เ ม น เ ด ล ( E x t e n s i o n o f M e n d a l a i n G e n e t i c s ) 1. การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete dominance) 2. การข่มร่วมกัน (codominance) - การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่สิ่งมีชีวิตเป็น heterozygote สามารถแสดงลักษระของอัลลีลสองรูปแบบซึ่งเป็นลักษณะเด่นได้เท่าๆ กัน ไม่ สามารถแยกลักษณะเด่นและด้อยได้ - ตัวอย่างเช่น ระบบหมูเลือด MN ถูกควบคุมโดยอัลลีล 𝐿 𝑀 และ 𝐿 𝑁 𝐿 𝑀 𝐿 𝑀 แสดงลักษณะหมู่เลือด M 𝐿 𝑁 𝐿 𝑁 แสดงลักษณะหมู่เลือด N 𝐿 𝑀 𝐿 𝑁 แสดงลักษณะหมู่เลือด MN (แสดงออกทั้ง M และ N) - การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ลักษณะหนึ่งไม่สามารถข่มอีก ลักษณะหนึ่งได้อย่างสมบูรณ์ - จะมีจีโนไทป์ เป็นแบบ heterozygous จะมีลักษณะก้ากึ่งระหว่างสอง ลักษณะ - อัตราส่วนฟีโนไทป์ ของลูกที่เกิดขึ้นจากการผสมกันระหว่าง heterozygous จะไม่เป็น 3:1 แต่จะเป็น 1:2:1 โดย 2 ส่วนจะเป็น heterozygous - ตัวอย่างเช่น ลักษณะเส้นผมในคน ถูกควบคุมด้วยจีโนไทป์ ดังนี้ HH แสดงลักษณะผมหยิก H’ H’ แสดงลักษณะผมตรง HH’ แสดงลักษณะผมหยักศก (ลักษณะก้ากึ่งระหว่าง ผมหยิกและผมตรง) - ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนตาแหน่งเดียว (single locus) แต่มีรูปแบบ ของ อัลลีลมากกว่า 2 แบบ - ตัวอย่างเช่น ระบบหมู่เลือด ABO ถูกควบคุมด้วยอัลลีล 3 รูปแบบ คือ 𝐼 𝐴 , 𝐼 𝐵 และ i ดังนี้ หมู่เลือด A จีโนไทป์ อาจจะเป็น 𝐼 𝐴 𝐼 𝐴 หรือ 𝐼 𝐴 i หมูเลือด B จีโนไทป์ อาจจะเป็น 𝐼 𝐵 𝐼 𝐵 หรือ 𝐼 𝐵 i หมู่เลือด AB จีโนไทป์ เป็น 𝐼 𝐴 𝐼 𝐵 หมู่เลือด O จีโนไทป์ เป็น ii
  • 10. จากการทดลองจะเห็นว่าเพศของแมลงหวี่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได้ เรียกลักษณะของยีนที่อยู่บน โครโมโซมเพศนี้ว่า sex-linked gene สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม 4. พอลียีน (polygene) - ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่หนึ่งลักษณะถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า 1 คู่ (polygene trait) โดยทั่วไปจะเป็นลักษณะที่มีความแปรผัน แบบต่อเนื่อง (continuous variation) สามารถวัดออกมาเป็นเชิง ปริมาณได้ บางครั้งจึงเรียกลักษณะที่เกิดขึ้นนี้ว่า quantitative trait - ตัวอย่างเช่น H.Nilsson-Ehle ได้ทาการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมของสีเมล็ดข้าวสาลี ซึ่งถูกควบคุมโดยยีน 3 คู่ ถ้า กาหนดให้ R1,R2 และ R3 ควบคุมสีแดง และ r1,r2 และ r3 ควบคุม สีขาว ถ้าจีโนไทป์ เป็น R1R1R2R2R3R3 ทาให้เมล็ดข้าวสาลีมีสี แดงเข้มมากสุด แต่ถ้ามีจีโนไทป์ เป็น r1r1r2r2r3r3 จะทาให้เมล็ดข้าว มีสีข้าว โดยถ้ามียีน R น้อยกว่า 6 ยีน ก็จะทาให้มีสีแดงอ่อนลงลดหลั่น กันไปตามลาดับ เป็นต้น 5. ปรากฏการณ์ (pleiotropy) - ปรากฏการณ์ที่ยีน 1 ยีน สามารถควบคุมได้มากกว่าหนึ่งลักษณะ - ตัวอย่างเช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะสีของดอกถั่วลันเตา (สีม่วงหรือขาว) ยัง สามารถควบคุมสีของเมล็ดถั่วลันเตาที่เกิดขึ้นได้อีกด้วย เป็นต้น ยี น บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ พ ศ ( S e x - l i n k e d g e n e ) การทดลองของ T.H Morgan และคณะโดยดารทดลองเลี้ยงแมลงหวี่ (Drosophila melanogaster) ซึ่งมีโครโมโซม 4 คู่ โดย 3 คู่เป็น โครโมโซมร่างกายหรือออโตโซม (autosome) อีกคู่หนึ่งเป็นโครโมโซมเพศ (sex chromosome) ถ้าเป็น XX จะเป็นแมลงหวี่เพศเมีย แต่ถ้าเป็น XY จะเป็นแมลงหวี่เพศผู้ การทดลองของ T.H Morgan สรุปได้ดังนี้ F2 รุ่นพ่อแม่ F1 แมลงหวี่เพศผู้ตาสีขาว X แมลงหวี่เพศเมียตาสีแดง แมลงหวี่ทุกตัวมีตาสีแดง (ผสมกันเอง) แมลงหวี่เพศผู้อาจมีตาสีขาวหรือแดง แต่แมลงหวี่เพศเมียมีตาสีแดงเท่านั้น 1. Sex linked recessive (x-linked recessive) - ความผิดปกติของโรคทางพันธุกรรมอยู่บนโครโมโซม X - จะแสดงออกเมื่อมีจีโนไทป์ เป็น homozygous recessive - ตัวอย่างเช่น โรคตาบอดสี โรคฮิโมฟีเลีย โรคภาวะพร่องเอมไซม์ G6PD 2. Sex linked dominance (x-linked dominance) - ความผิดปกติของโรคทางพันธุกรรมอยู่บนโครโมโซม X - จะแสดงออกเมื่อมีจีโนไทป์ เป็น homozygous dominance หรือ heterozygous พบได้น้อยในธรรมชาติ - ตัวอย่างเช่น โรคขนยาวรุงรังตามใบหน้า ลาตัว และแขนขา
  • 11. ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ย พัน ธุ ป ร ะ วัติ ( P e d i g r e e A n a l y s i s ) การศึกษารูปแบบการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมในมนุษย์เป็นไปได้ ยากกว่าในสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตอื่นมาก เนื่องจากมนุษย์มีลูกได้คราวละไม่มาก และไม่สามารถทดลองได้เหมือนกับสัตว์ทดลองอื่น ดังนั้น การสร้างสายพันธุ์ ประวัติ (pedigree) โดยการสารวจบรรพบุรุษและญาติที่ใกล้ชิดเขียนเป็นผัง ขึ้นมาแล้วดูแนวโน้มในการเกิดโรคนั้นๆ ในรุ่นลูกหลานต่อไป เพศชายลักษณะปกติ เพศหญิงลักษณะปกติ เพศชายที่เป็นพาหะ เพศหญิงที่เป็นพาหะ เพศชายแสดงอาการของโรค เพศหญิงแสดงอาการของโรค คู่แต่งงานสามีภรรยา คู่แต่งงานในครอบครัว เดียวกัน 1. Autosomal dominant inheritance - ลักษณะความผิดปกติที่เกิดขึ้นมักไม่ข้ามรุ่น (no skip generation) - เพศชายและหญิงมีโอกาสเกิดเท่าๆ กัน - ถ่ายทอดจากพ่อไปลูกชาย(male-to-male) และแม่ไปสู่ลูกสาว (female-to-female) - ลูกที่เกิดขึ้นจะเป็นโรคความผิดปกติ จะต้องมีพ่อหรือแม่เป็นอย่าง น้อย 1 คน 2. Autosomal recessive inheritance - โรคมักไม่ได้เกิดในทุกรุ่น ส่วนใหญ่มีการข้ามรุ่น (skip generation) - เพศชายและหญิงมีโอกาสเกิดเท่าๆ กัน - ลูกที่เกิดขึ้นจะเป็นโรคหรือความผิดปกติ อาจจะเกิดจากพ่อแม่ที่ไม่ เป็นโรคเลย แต่เป็นพาหะทั้งคู่ - ถ้าพ่อและแม่แสดงอาการของโรคหรือความผิดปกติ ลูกที่เกิดขึ้นทุก คนต้องเป็นโรค
  • 12. 3. X-linked dominant inheritance - ลักษณะหรือความผิดปกติที่เกิดไม่เกิดข้ามรุ่น (no skip generation) - เพศหญิงมีโอกาสเกิดโรคมากกว่าเพศชาย - ไม่มีโอกาสถ่ายทอดลักษณะความผิดปกติจากพ่อไปสู่ลูกชาย (male-to-male transmission) - ถ้าพ่อไม่เป็นโรค ลูกสาวทุกคนจะเป็นโรคหรือแสดงความผิดปกติขึ้น 4. X-linked recessive inheritance - ลักษณะหรือความผิดปกติที่เกิดเกิดข้ามรุ่น (skip generation) - เพศชายมีโอกาสเกิดมากกว่าเพศหญิง - ไม่มีโอกาสถ่ายทอดลักษณะความผิดปกติจากพ่อไปสู่ลูกชาย (male-to-male transmission) - ลูกชายที่เป็นโรคเกิดจากแม่ที่เป็นโรคหรือเป็นพาหะ (heterozygous) - ถ้าแม่เป็นโรค ลูกชายทุกคนต้องเป็นโรคทั้งหมด แต่ลูกสาวอาจจะ เป็นหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับพ่อว่าเป็นโรคหรือไม่ ถ้าพ่อเป็นโรค ลูกสาวทุก คนต้องเป็นโรค แต่ถ้าพ่อไม่เป็นโรคลูกสาวจะเป็นพาหะ ยี น ที่ อ ยู่ บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม เ ดี ย ว กั น ( L i n k e d G e n e ) จากการศึกษาของเมนเดล ถ้าหากยีนทุกยีนเป็นไปตามกฎข้อที่สองของเมน เดล แสดงว่าในกรณีของมนุษย์จะมียีนได้เพียง 23 ยีนเท่านั้น แต่ในความเป็น จริงมนุษย์มียีนจานวนมาก สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะยีนจานวนมากอยู่บน โครโมโซมแท่งเดียวกัน เรียกยีนที่อยู่บนโครโมโซมแท่งเดียวกันนี้ว่า ลิงค์ยีน (Linked gene) และเรียกโครโมโซม 1 แท่งที่มียีนอยู่จานวนมากนี้ว่า linkage group กาหนดให้ ยีน B ควบคุมลักษณะขนสีน้าตาลอ่อนและ ยีน b ควบคุมลักษณะขนสีดาเป็นยีนด้อย ยีน C ควบคุมลักษณะปีกตรง และ ยีน c ควบคุมลักษณะปีกโค้งเป็นยีน ด้อย ตัวอย่างการศึกษาลิงค์ยีนในแมลงหวี่ F1 ผลการ ทดลอง รุ่นพ่อแม่ F1 ตามทฤษฏี แมลงหวี่ตัวสีน้าตาลปีกตรง X แมลงหวี่ตัวสีดาปีกโค้ง (BbCc) (bbcc) B C b c b c b c แมลงหวี่ตัวสีน้าตาลปีก ตรง (BbCc) X แมลงหวี่ตัวสีดาปีกโค้ง (bbcc) ตัวสาน้าตาลปีกตรง:ตัวสีดาปีกโค้ง Parental progeny ตัวสีน้าตาลปีกโค้ง:ตัวสีดาปีก ตรง Recombinant Progeny >>
  • 13. มันก็ ประมาณนี้ แหละ สาเหตุที่ผลการทดลองจริงแมลงหวี่รุ่นลูกที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 มี ลักษณะ 4 ลักษณะ นอกเหนือไปจากลักษณะที่ควรจะเป็นเนื่องในธรรมชาติ เพราะในช่วงของการสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบไม่โอซิสระยะ prophase I จะ ทาให้มีการจับคู่กันของ homologous chromosome และเกิดการ แลกเปลี่ยนชิ้นส่วนกัน (crossing over) ทาให้มีเซลล์สืบพันธุ์จานวนหนึ่ง ที่มีลักษณะผสมคือ Bc และ bC อย่างไรก็ตาม การเกิด crossing over นี้มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยกว่ามาก ดังนั้นจึงทาให้ลูกส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมีฟีโน ไทป์ เหมือนพ่อและแม่เป็นหลักจะเรียนลุกกลุ่มเหล่านี้ว่า Parental progeny ขณะที่ลูกที่มีลักษณะที่เกิดขึ้นใหม่จะเรียกว่า Recombinant Progeny พัน ธุ ก ร ร ม ที่ ขึ้น กั บ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง เ พ ศ ( s e x - i n f l u e n c e d t r a i t ) พันธุกรรมที่ขึ้นกับอิทธิพลของเพศ (sex- influenced trait) - ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนในโครโมโซมร่างกาย (autosome) ที่จะแสดง ลักษณะเด่นในเพศหนึ่ง และแสดงลักษณะด้อยในอีกเพศหนึ่ง โดยจะเห็นได้ชัดเมื่อ ยีนนั้นอยู่ในรูปของ heterozygous ซึ่งการแสดงออกนี้ได้รับอิทธิพลจากฮอร์โมน เพศเป็นตัวควบคุม - เช่น ให้ B ควบคุมลักษณะหัวล้าน และ b ควบคุมลักษณะหัวไม่ล้าน Genotype Phenotype เพศชาย เพศหญิง BB หัวล้าน หัวล้าน Bb หัวล้าน หัวไม่ล้าน bb หัวไม่ล้าน หัวไม่ล้าน พัน ธุ ก ร ร ม จา กั ด เ พ ศ ( S e x - l i m i t e d t r a i t ) พันธุกรรมจากัดเพศ (Sex-limited trait) - ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมร่างกาย แต่จะ สามารถแสดงออกเฉพาะเพศใดเพศหนึ่งเท่านั้น - ตัวอย่างเช่น ลักษณะขนหางไก่ ให้ยีน H ควบคุมขนหางสั้น และ h ควบคุมขนหางยาว Genotype Phenotype ไก่ตัวผู้ ไก่ตัวเมีย BB ขนหางสั้น ขนหางสั้น Bb ขนหางสั้น ขนหางสั้น bb ขนหางยาว ขนหางสั้น
  • 17. [บรรณานุกรม ศุภณัฐ ไพโรหกุล. Essential Biology. กรุงเทพฯ: บริษัทแอคทีฟพริ้น จากัด, 2558
  • 18. [จัดทาโดย นางสาวธนภรณ์ ธนูศร เลขที่ 10 นางสาวกุลภรณ์ มั่นกตัญญู เลขที่ 20 นางสาวจณิสตา พิมพาทอง เลขที่ 21 นางสาวปัณทิรา จันทะศิรา เลขที่ 22 นางสาวศุภิสรา กันยาทอง เลขที่ 23 นางสาวชัชฎาพร ขาวเกิด เลขที่ 29 นางสาวสมพร อินทศร เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ ครูพัชราผลหมู่ โรงเรียนแก่งคอย อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี