SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
Download to read offline
พันธ ุกรรมและความหลากหลายของสิงมีชีวิต
• พันธ ุกรรม หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะต่างๆของสิงมีชวิต     ี
   จากบรรพบุรษไปสูร่นลูกรุนหลาน หรือการถ่ายทอดลักษณะ
                ุ    ่ ุ    ่
   ต่างๆ จากรุ่นหนึงไปสูอีกรุ่นหนึง เรียกอีกอย่างว่า กรรมพันธ์ ุ
                         ่
  เช่น ความห่างของคิ(ว ความถนัดซ้าย – ขวา ลักษณะเส้นผม

• พันธุกรรมเหล่านีจะถูกควบคุมโดยหน่วยควบคุมลักษณะที
                   (
  เรียกว่า ยีน ยีนจะมีอยู่เป็ นจํานวนมาก ในเซลล์ทกเซลล์
                                                 ุ
ลักษณะทีถ่ายทอดทางพันธ ุกรรม

• กรรมพันธุ์ หรือลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรม เป็ นลักษณะที
   สามารถถ่ายทอดไปสูร่นต่อๆ ไปได้ โดยผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์
                      ่ ุ
   ของพ่อและแม่ ซึง * เซลล์สืบพันธุของพ่อ(อสุจิ)
                                     ์
                       * เซลล์สืบพันธุของแม่(ไข่)
                                       ์
  แต่ลกษณะบางอย่างเกิดขึนภายหลัง เช่น แผลจากอุบตเิ หตุ
      ั                   (                       ั
   หรือเกิดจากการทําศัลยกรรม
การปฏิสนธิระหว่างอส ุจิ+ไข่

• อสุจิ(1ตัว) + ไข่ (1 ใบ) จะได้ลก 1 คน
                                 ู
(ถ้าหากมีการแบ่งและจําลองเซลล์อีก       แฝดแท้)

• อสุจิ(2ตัว) + ไข่ (2 ใบ) จะได้ลกแฝด 2 คน
                                 ู
(ถ้าหากมีการแบ่งและจําลองเซลล์อีก      แฝดเทียม)
ความแปรผันทางพันธ ุกรรม มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ

• 1. ความแปรผันลักษณะทางพันธ ุกรรม ทีไม่ต่อเนือง
  (discontinuous variation)

    เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีสามารถแยกความแตกต่างได้
  อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุเ์ พียงอย่างเดียว
  เช่น มีลกยิ(ม-ไม่มลกยิ(ม มีตงหู-ไม่มตงหู ห่อลิ(นได้-ห่อลิ(นไม่ได้
            ั       ี ั       ิ       ี ิ
  ความห่างของคิ(ว ความถนัดซ้าย-ขวา ฯลฯ
2. ความแปรผันทางพันธ ุกรรมแบบต่อเนือง
(continuous variation)

    เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีไม่สามารถแยกความแตกต่างได้
อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง นําหนัก โครงร่าง สีผว ซึงเกิดจาก
                            (                 ิ
อิทธิพลของกรรมพันธุและสิงแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูง ถ้า
                      ์
ได้รบสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการ และมีการออกกําลัง
     ั
กายก็จะทําให้มร่างกายสูงได้
               ี
โครโมโซมและยีน
• โครโมโซม คือ สารพันธุกรรมในร่างกายของมนุษย์
  เป็ นตัวกําหนดลักษณะต่างๆ เช่น สีตา สีผม ลักษณะ
  เส้นผม ลักษณะดวงตา ความสูง และควบคุมการ
  ทํางานของร่างกาย โครโมโซมจะอยูในเซลล์ทกเซลล์ใน
                                  ่       ุ
  ร่างกาย ในคนทัวไปแต่ละเซลล์จะมีจานวนโครโมโซม
                                    ํ
  อยู่ 23 คู่ หรือ 46 แท่ง
จํานวนโครโมโซมของสิงมีชีวิต
ควาย            30 คู่ 60 แท่ง
แมว             19 คู่ 38 แท่ง   ไก่         39 คู่ 78 แท่ง
ส ุนัข          39 คู่ 78 แท่ง   ไก่งวง      40 คู่ 80แท่ง
แพะ             30 คู่ 60 แท่ง   แมลงหวี     4 คู่ 8แท่ง
ม้า             32 คู่ 64 แท่ง   กบ          13 คู่ 26แท่ง
หมู             19 คู่ 38 แท่ง   หนู         21 คู่ 42แท่ง
แกะ             27 คู่ 54 แท่ง   วัว         30 คู่ 60แท่ง
อ ูฐ            35 คู่ 70 แท่ง   คน          23 คู่ 46แท่ง
ค้างคาว         22 คู่ 44 แท่ง   ถัวลันเตา   7 คู่ 14แท่ง
สลามันเดอร์     12 คู่ 24 แท่ง   หัวหอม      8 คู่ 16แท่ง
คางคก           18 คู่ 36 แท่ง
โครโมโซมของมนุษย์มทงหมด 23 คู่
                  ี ั(           ลักษณะของโครโมโซม
ลักษณะของโครโมโซม
• โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วย
          โครมาทิด(chromatid) 2 โครมาทิดทีเหมือนกัน
  ซึงเกิดจากการทีโครโมโซมจําลองตัว โครมาทิดทังสองมีสวนทีติดกันอยู่
                                              (      ่
  เรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere)
           โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีรปร่างลักษณะทีเหมือนกันเป็ นคู่
                                       ู
  ๆ แต่ละคู่ เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous
   chromosome)
   chromosome
           สําหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน
   โดยขึนอยูกบ ตําแหน่งของเซนโทรเมียร์หรือโคนีโทคอร์
        ( ่ ั
   (chinetochore) ซึงทําหน้าทีเป็ นแกนหลักสําคัญสําหรับ
   การเคลือนไหวของโครโมโซมภายในเซลล์ ขณะทีโครโมโซมเคลือนทีเข้าสู่
  ขัวเซลล์ในช่วงระยะการแบ่งเซลล์
    (
ชนิดของโครโมโซม
• โครโมโซมในร่างกายมนุษย์ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
        1. ออโตโซม (auto some) เป็ นโครโมโซมทีควบคุม
  ลักษณะต่างๆ ของร่างกาย ในเซลล์ของเพศชายและเพศหญิง
  จะมีออโตโซมเหมือนกัน มี 22 คู่
  (จะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส = 2n)
       2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome เป็ นโครโมโซม
                          sex chromosome)
  ทีทําหน้าทีควบคุมหรือกําหนดเพศ มีอยู่ 1 คู่ คือคูที 23 (จะมี
                                                  ่
  การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส= n)ได้แก่
         โดยในเพศหญิงมีโครโมโซมเพศแบบ XX
             และเพศชายมีโครโมโซมเพศแบบ XY
การแบ่งเซลล์ไมโทซิส (เซลล์รางกาย)
                           ่
                   1.ระยะอินเตอร์เฟส คือโครโมโซม มี
                  ลักษณะคล้ายเส้นใยเรียกว่า เส้นใย โครมา
                  ทิน
                   2.ระยะโพรเฟส คือ โครโมโซมหดสันเข้าจึง
                                                   6
                  มองเห็นเส้นโครโมโซมสันลง และมีการสร้าง
                                       6
                  เส้นใยสปนเดิล
                          ิ
                   3.ระยะเมทาเฟสคือโครโมโซมเรียงตัวกัน
                  กลางเซลล์
                   4.ระยะแอนาเฟสคือโครมาติดของแต่ละ
                  โครโมโซมถ ูกดึงแยกจากกัน โดยเส้นใย สปน
                                                       ิ
                  เดิล
                   5.ระยะเทโลเฟส คือ เกิดการแบ่ง ไซ
                  โทพลาซึม โดยเยือหมเซล์คอดเข้าหากัน
                                    ุ้
                  จนกระทังเซลล์แยกจากกัน
การแบ่งเซลล์ไมโอซิส (เซลล์สืบพันธ)์ ุ




1.ไมโอซิส 1 คือเซลล์เดิมแบ่งออกเปนเซลล์ใหม่ โดยนิวเคลียสของเซลล์ใหม่
                                     ็
จะมีจํานวนโครโมโซมเพียงครึงหนึงของเซลล์เดิม
2.ไมโอซิส 2 คือเปนการแบ่งเซลล์เหมือนกับการแบ่งไมโทซิส หลังจากมีการ
                    ็
แบ่งเซลล์ในชันนี6แล้วจะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ และมีจํานวนโครโมโซม
             6
     เพียงครึงหนึงของเซลล์เดิม
การเปรียบเทียบการแบ่งเซลล์




 เซลล์รางกาย
       ่         เซลล์สืบพันธ ุ์
การเปรียบเทียบการแบ่งเซลล์
รูปโครโมโซมเพศชายและเพศหญิง



                รูปโครโมโซมเพศหญิง




                 รูปโครโมโซมเพศชาย
การกําเนิดเพศชาย - เพศหญิง
•     เซลล์เพศทีถูกสร้างขึนมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียว
                            (
    โดยที
         -เซลล์สืบพันธุเ์ พศชาย (สเปิ ร์ม) จะมีเซลล์สืบพันธุ์ ซึงมีโครโมโซม
    2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y
           -เซลล์สืบพันธุของเพศหญิง จะมีโครโมโซมได้เพียงชนิดเดียว คือ
                          ์
    22+X ดังนันโอกาสในการเกิด
                    (
                - ทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX)
                -ทารกเพศชาย (โครโมโซม 44+XY) จึงเท่ากัน ขึนอยู่กบ    (    ั
    สเปิ ร์มทีเข้าผสมกับไข่จะเป็ นสเปิ ร์มชนิดใด
การกําเนิดเพศชายxy   การกําเนิดเพศหญิงxx
ยีน
• ยีน (Gene) หมายถึง ส่วนของ DNA ทีทําหน้าทีถ่ายทอดลักษณะทาง
  พันธุกรรม
• โครโมโซม เป็ นโครงสร้างทีมี DNA และโปรตีนเป็ นองค์ประกอบ
• โครโมโซมจึงเป็ นทีอยูของยีน และในแต่ละโครโมโซมมียีนอีกมากมายมาเรียง
                       ่
  ต่อๆ กัน
• ยีนเป็ นส่วนของ DNA ทีสามารถควบคุมการแสดงออกได้ สิงมีชีวิตแต่ละ
  ชนิดจะมีจานวนยีนแตกต่างกัน เช่น
             ํ
      - แบคทีเรีย มียีนประมาณ 4,000 ยีน
       - แมลงหวี 20,000 ยีน
          -มนุษย์ประมาณ 30,000 กว่ายีน
• ดังนัน ยีนจึงเป็ นเอกลักษณ์ของสิงมีชีวิต
       (
• ยีนอยูบนโครโมโซมทีมี อยูในเซลล์ของสิงมีชีวิตทีเป็ นยูคาริโอต
         ่                 ่
• ยีนอยูบนโครโมโซมทีมี อยูในเซลล์ของสิงมีชีวิตและอยูบน DNA ของ
         ่                   ่                     ่
  สิงมีชีวิตทีเป็ นโพรคาริโอต

• เนืองจากยีนเป็ นส่วนหนึงของ DNA ซึงเป็ นองค์ประกอบของโครโมโซม
• ดังนันยีนขึนอยู่บนโครโมโซม
       (     (
      ทอมัส ฮันต์มอร์แกน ได้พบความสัมพันธ์ของกฎและกลไกทาง
   พันธุกรรมและได้ทาการวิจยทีระบุวา ตําแหน่งของยีนนันอยู่บนโครโมโซม
                   ํ      ั       ่                 (
ประเภทของยีน
• ยีนทีควบคุมลักษณะบางอย่าง มีอยู่ 2 ชนิด คือ ยีนเด่น และ
  ยีนด้อย
•          ยีนเด่น (Dominant) คือ ยีนทีสามารถแสดงลักษณะ
  นันออกมาได้ แม้มยีนเพียงยีนเดียว เช่น ยีนผมหยิกอยู่คกบ
    (                  ี                               ู่ ั
  ยีนผม เหยียด แต่แสดงลักษณะผมหยิกออกมา แสดงว่า ยีนผม
  หยิกเป็ นยีนเด่น เช่น T=ความสูง, R=สีแดง, B=ผิวดํา
•          ยีนด้อย (Recessive) คือ ยีนทีสามารถแสดง
  ลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ก็ตอเมือบนคูของโครโมโซมนัน ปรากฏ
                              ่        ่             (
  แต่ยีนด้อย เช่นการแสดงออกของลักษณะผมเหยียด จะต้องมียีน
  ผมเหยียดบนโครโมโซมทังคู่ เช่น เตีย=t, ดํา=b, สีขาว=w
                          (        (
DNA
• ดีเอ็นเอ (DNA) เป็ นสารพันธุกรรม มีชอเต็มว่า กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก
                                      ื
  (Deoxyribonucleic acid) ซึงเป็ นกรดนิวคลีอิก กรดทีพบในใจกลางของ
  เซลล์ทกชนิด
         ุ

• ดีเอ็นเอ (DNA)คือการเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์ ( Nucleotide ) นิวคลีโอไทด์เป็ น
  โมเลกุลทีประกอบด้วย
              1.นําตาลเพนโทส ( Deoxyribose Sugar ) คาร์บอน 5 อะตอม
                  (
              2.หมู่
              2. ฟอสเฟต ( Phosphate ) (ฟอสฟอรัสและออกซิเจน)
              3.ไนโตรเจนเบส (Nitrogenous Base) เบสในนิวคลีโอ
   ไทด์มอยู่ 4 ชนิด ได้แก่ อะดีนน (adenine, A), ไทมีน (thymine,T),
         ี                      ี
            ไซโทซีน (cytosine,C)และกัวนีน (guanine, G)
ขาหรือราวของบันไดสองข้างหรือนิวคลีโอไทด์ถกเชือมด้วยเบส
                                             ู
                         โดยที A จะเชือมกับ T
                           และ C จะเชือมกับ G
(ในกรณีของดีเอ็นเอ) และข้อมูลทางพันธุกรรมในสิงมีชวิตชนิดต่างๆ
                                                   ี
   เกิดขึนจากการเรียงลําดับของเบสในดีเอ็นเอนันเอง
         (
• ผูคนพบดีเอ็นเอ คือ ฟรีดริช มีเชอร์ ในปี พ.ศ. 2412 (ค.ศ.
     ้ ้
   1869) แต่ยงไม่ทราบว่ามีโครงสร้างอย่างไร
                 ั
• จนในปี พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เจมส์ ดี. วัตสัน และฟรานซิส
   คริก เป็ นผูรวบรวมข้อมูล และสร้างแบบจําลองโครงสร้างของดี
               ้
   เอ็นเอ (DNA Structure Model)จนทําให้ได้รบรางวัลโนเบล
                                                     ั
   และนันนับเป็ นจุดเริมต้นของยุคเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
ภาพของยีนทีรวมกันเป็ น DNA
สร ุปคือ
• ในเซลล์(นิวเคลียส)   โครโมโซม     ดีเอ็นเอ   ยีน

  *ในเซลล์ร่างกายของคน 1 เซลล์ เมือนําดีเอ็นเอทังหมดมาเรียง
                                                (
  ต่อกันจะมีความยาวรวมถึง 2.2 เมตร

  *ดังนันโครโมโซมแต่ละแท่ง มีความยาวเฉลียเพียง 6 ไมโครเมตร
        (
  ประกอบด้วยสายดีเอ็นเอทีมีความยาวเฉลียถึง 4.8 เซนติเมตร
  หรือ 48, 000 ไมโครเมตรซึงจะต้องบรรจุสายดีเอ็นเอทีมี
  ความยาวถึง 8,000 เท่าของโครโมโซม จึงมี
   การใช้โปรตีน(ฮีสโทน) มาช่วยในการขดตัว ของสายดีเอ็นเอให้
          สันลง
            (
ภาพจําลองภายในของโครโมโซม
โครงสร้างภายในของ DNA
* ดีเอ็นเอเป็ นส่วนประกอบของโครโมโซม เพราะฉะนันยีนจึงมีตาแหน่งอยู่บนโครโมโซม
                                                   (      ํ
 * ยีนในตําแหน่งเดียวกันบนโฮโมโลกัสโครโมโซมแต่ละคูจะควบคุมลักษณะเดียวกันซึง
                                                       ่
อาจมีหลาย
       รูปแบบ เรียกยีนทีควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ให้รปแบบของลักษณะต่างกันว่า แอล
                                                     ู
ลีล
  * ลักษณะทางพันธุกรรมทีปรากฏจะขึนอยู่กบแอลลีลในแต่ละโครโมโซม เช่น
                                      (        ั
ยีนทีควบคุมลักษณะคางบุม มี 2 แบบ คือ N และ n
                          ๋
ดังนัน
     (
       - แบบของคูยีนทีควบคุมลักษณะคางบุม หรือจีโนไทป์ (ยีนภายใน) ของลักษณะ
                   ่                         ๋
คางบุมจึงมีได้ 3 แบบ คือ NN Nn และ nn
        ๋
       - ส่วนลักษณะทีแสดงออก เรียกว่าฟโนไทป์ (ส่วนทีแสดงออก)ในกรณีนมีได้ 2
                                        ี                               ี(
แบบ คือ ลักษณะคางบุมและลักษณะคางไม่บม
                       ๋                  ุ๋
กระบวนการถ่ายทอดทางพันธ ุกรรม
• ยีน (Gene) สามารถเป็ นได้ทง (DNA)หรือ (RNA) ก็ได้
                                 ั(
• แต่ในสิงมีชวิตชันสูงนันจะเป็ น DNA หมดเพราะเสถียรมากเหมาะแก่การเก็บ
             ี (        (
  ข้อมูล ขณะที RNA จะพบในพวกไวรัส

• ยีน (Gene) ทังหมดของสิงมีชวิตหรือเซลล์จะรวมเรียกว่า จีโนม (Genome)
                  (              ี
  และโครงสร้างของจีโนม (Genome)ในพวกโพรคารีโอต(ชันตํา=พวกไม่มเี ยือหุม
                                                          (          ้
  เซลล์) และยูคารีโอต(เซลล์สลับซับซ้อน=สัตว์ชนสูง) จะแตกต่างกัน
                                             ั(

• ถ้ายีน (Gene)เกิดผิดไปจากปกติเรียกว่า การกลายพันธ์ ุ (Mutation) ซึง
  เกิดเองตามธรรมชาติหรือถูกกระตุนให้เกิดก็ได้ โดยส่วนมากแล้วเมือยีนเกิด
                                      ้
  ผิดปกติไปจะส่งผลเสียต่อสิงมีชวิตนันมากกว่าผลดี เช่น ในคน สามารถทําให้ป่วย
                                   ิ (
  เจ็บไข้ หรือถึงแก่ชวิตได้ โรคทีเกิดจากสาเหตุนเี( รียกว่า โรคทางพันธ ุกรรม
                     ี
  (Genetic Disease) ซึงจะถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปหรือไม่ก็ได้
• บิดาแห่งพันธุศาสตร์ คือ เกรเกอร์ เมนเดล
• เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) เกิดทีเมืองไฮน์เซนดรอฟ ออสเตรีย เป็ นบุตรชายคนเดียวใน
  จํานวนพีน้อง 3 คน ของชาวนายากจนคนหนึง โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รบตําแหน่งรับผิดชอบดูแล
                                                                                 ั
  สวน
• ในปี พ.ศ. 2390 เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ทีเขายังคงสอนหนังสือเพือชดเชยความ
  ผิดหวัง เขาทํางานในสวนของวัดทุกเวลาทีว่าง ทีนันมีพนธุพืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง
                                                    ั ์
  ความแตกต่างนี( ทําให้เกรเกอร์นกสงสัย เขาได้ผสมพันธุถวเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็ นจํานวนแตกต่างถึง 22
                                ึ                    ์ ั
  ชนิดของต้นถัว เพือศึกษาลักษณะทังหมด เป็ นเวลารวม 8 ปี เต็มในการทดลองร่วมพันครัง พบได้ 3 สิง ดังนี(
                                   (                                                   (

• สิงแรก เช่น ผสมพันธุถัวเมล็ดสีเหลืองกับเมล็ดสีแดง จะได้ผลิตพันธุเ์ มล็ดสีเหลืองออกมา
                         ์
• สิงที 2 เมือผสมพันธุตางชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทังสองชนิด ต้นทีมีเมล็ดสีเขียวทุกๆ
                        ์ ่                                              (
  ต้นจะมีสามต้นทีมีเมล็ดสีเหลือง (แสดงว่าหน่วยถ่ายพันธุทีผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็ นหน่วยถ่ายพันธุที เด่น คือ โด
                                                         ์                                  ์
  มิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุทีผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุดอย)
                             ์                                                      ์ ้

• สิงทีสาม ค้นพบกฎข้อทีสาม สมมติว่าเขาผสมพันธุถัวทีมีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุถัวทีมีเมล็ดหยาบสีเขียว
                                                     ์                             ์
  รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็ นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน เมล็ดหยาบสี
                                                          ั
  เขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน
    หลังจากนัน เมนเดลได้สงผลการทดลองนีไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึง แต่กลับไม่มีผทีสนใจเลย เขาเก็บ
             (             ่               (                                         ู้
               รายงานนีไว้ทีห้องสมุดและทําการทดลองต่อไป จนกระทังถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427
                       (

•
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธ ุกรรม



         • XY            XX




       XY       XX       XY     XX
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธ ุกรรม


พ่อผิวดํา(BB)            แม่ผวขาว(Wb)
                             ิ



  BW              Bb           BW         Bb
  สองสี         ดํา    สองสี        ดํา
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธ ุกรรม
• พันธุแท้ เรียกว่า โฮโมไซกัสโครโมโซม(ยีน) เช่น TT,tt
      ์
• พันธุทาง เรียกว่า เฮเตอโรไซกัสโครโมโซม(ยีน) เช่น Tt
        ์
   พ่อสูง(Tt)             แม่เตีย (tt)
                                (



    Tt               Tt               tt           tt
 สูง(ทาง)       สูง(ทาง)       เตีย(แท้) เตีย(แท้)
                                  (         (
ยีนของหมูเลือด
                    ่
• โดยกําหนดให้เลือด
• เลือดกรุป A เป็ น I
         ๊            AIA หรือ IAi

• เลือดกรุป B เป็ น I
               ๊      BIB หรือ IBi

• เลือดกรุป AB เป็ น IAIB
           ๊
• เลือดกรุป O เป็ น ii
             ๊
• หรือกําหนดให้เลือด
   เลือดกรุป A เป็ น AA(แท้) หรือ Ao (ทาง)
            ๊
   เลือดกรุป B เป็ น BB (แท้) หรือ Bo (ทาง)
              ๊
   เลือดกรุป AB เป็ น AB (แท้)
                ๊
  เลือดกรุป O เป็ น oo (แท้)
          ๊
  • ถ้ากําหนดให้
    พ่อAA(แท้)          แม่ Ao (ทาง)



      AA           Ao         AA          Ao
• ถ้ากําหนดให้
  พ่อAB(แท้)          แม่ Bo (ทาง)




      AB                Ao    BB     Bo
      จะได้หมูเ่ ลือดAB 25%
           หมูเ่ ลือด A    25%
      หมูเ่ ลือด B 50%
      AB: A:B
       1 : 1 :2
การพิจารณาการให้เลือด




หมายเหต ุ แอนติเจน =เชื6 อโรค
 แอนติบอดี=ภ ูมิคมกัน
                 ุ้
***ระวังไม่ให้แอนติเจนผูรบตรงกับแอนติบอดีผใู้ ห้
                           ้ ั
สรุปการให้เลือด
•   หมูเ่ ลือด A ให้ได้แต่ A รับได้ A,O
•   หมูเ่ ลือด B ให้ได้แต่ B รับได้ B,O
•   หมูเ่ ลือด AB ให้ได้แต่ AB รับได้ทกหมู่
                                        ุ
•   หมูเ่ ลือด O ให้ได้ทกหมู่ รับได้เฉพาะ O
                         ุ
•     แบบฝึ กหัด(กระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรม)
1. พ่อA(ทาง) และ แม่ AB
2. พ่อA(ทาง) และ แม่ B(ทาง)
3. พ่อtt และ แม่ Tt
4. พ่อWB และ แม่ WB
5. พ่อพันธุหนูตะเภา(Bb)และแม่พนธุของหนูตะเภา(Bb)
             ์                   ั ์
   โดยกําหนด B ลักษณะสีดาํ
               b ลักษณะสีขาว จะได้ลกสีดาและสีขาวเป็ นเท่าไร
                                   ู ํ
6. การผสมพันธุตนถัวพ่อพันธุ์ (กลม,เหลือง) และ แม่พนธุ์ (ขรุขระ, เขียว)
                ์ ้                               ั
โดย กลม=R ขรุขระ=r เหลือง=Y เขียว=y (หารุ่น หลาน)
พ่อพันธุ์ RrYy *แม่พนธุ์ RrYy
                      ั
RrYy     RY      Ry      rY          ry

 RY    RRYY    RRYy    RrYY       RrYy


 Ry    RRYy    RRyy    RrYy       Rryy


  rY   RrYY    RrYy    rrYY       rrYy


  ry   RrYy    Rryy    rrYy       rryy
สรุปคําตอบ

•   กลม, เหลือง : 9
•   กลม, เขียว : 3
•   ขรุ ขระ, เหลือง : 3
•   ขรุ ขระ, เขียว : 1
• ปั จจัยทีทําให้เกิดมิวเทชัน(การกลายพันธุ)
                                         ์
• ตัวกระตุนหรือชักนําให้เกิดมิวเทชัน จะเรียกว่าสิงก่อกลายพันธุ์ (mutagen) เช่น
            ้
• รังสี (radiation) รังสีทีกระตุนให้เกิดมิวเทชันมี 2 ชนิดคือ
                                   ้
   – Ionizing Radiation เช่น รังสีบีตา, รังสีแกมมา, รังสีเอกซ์
                                                 ้
   – Non-Ionizing Radiation เช่น รังสีอลตร้าไวโอเลต    ุ
• สารเคมี เช่น สารโคลซิซิน (colchicine) มีผลทําให้มการเพิมจํานวนชุดของ
                                                         ี
  โครโมโซม ผลดังกล่าวนีทาให้ผลผลิตพืชเพิมขึน สารไดคลอวอส (dichlovos) ที
                         ( ํ                   (
  ใช้กาจัดแมลงและพาราควอต (paraquat) ทีใช้กาจัดวัชพืช ก็สามารถทําให้เกิด
       ํ                                             ํ
  การผิดปกติของโครโมโซมในคนและสัตว์ได้ สิงก่อกลายพันธุหรือมิวทาเจนหลายชนิด
                                                           ์
  เป็ นสารก่อมะเร็ง (carcinogen) เช่น สารอะฟลาทอกซิน (aflatoxins)
  จากเชือราบางชนิดทําให้เกิดมะเร็งทีตับ
         (
• การจัดเรียงเบสในกระบวนการสังเคราะห์ดเี อ็นเอผิดพลาด มีผลทําให้เกิดการเพิม
           หรือลดจํานวนเบสในคูสาย และทําให้เกิดการเลือนของสายDNA
                               ่
• ประเภทของมิวเทชัน มิวเทชันเกิดกับเซลล์ 2 ลักษณะ คือ

• เซลล์ร่างกาย (Somatic cell) เซลล์ชนิดนีเ( มือเกิดมิวเทชัน
  แล้ว จะไม่ถ่ายทอดไปยังรุนต่อไป
                         ่

• เซลล์สืบพันธุ์ (Sex cell) เซลล์เหล่านีเ( มือเกิดมิวเทชันแล้ว
    จะถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้ ซึงมีผลต่อการเปลียนแปลงสปี ชีส์
     ของสิงมีชวิตมากทีสุด และส่งผลต่อวิวฒนาการของ
                ี                          ั
        สิงมีชวิตด้วย
              ี
การกลายพันธของสิงมีชีวิต
           ุ์
การกลายพันธุของสิงมีชวิต
           ์         ี
โรคทางพันธ ุกรรมมาจากการผิดปกติของ
       โครโมโซมร่างกายและโครโมโซมเพศ
1. ความผิดปกติของโครโมโซมร่างกาย เช่น กลุมอาการดาวน์
                                               ่
กลมอาการดาวน์ โรคนีจะมีโครโมโซมจํานวน 47 แท่งโดยมีโครโมโซมคูที 21
  ุ่                    (                                       ่
     เกินมา 1 แท่งถือเป็ นความผิดปกติทางกรรมพันธุทีพบได้บอยทีสุด
                                                 ์       ่
     อัตราส่วน 1:800 ของทารกแรกเกิด พบในทุกเชือชาติ สามารถเกิดได้กบ
                                                   (              ั
     ทุกๆ คน

เด็กจะมีลกษณะทีเฉพาะ เช่น ใบหน้ามักจะกลม ศีรษะค่อนข้างเล็กและท้ายทอย
         ั
     แบน ดังจมูกแบน หางตาเฉียงขึนบน นิวมือและนิวเท้ามักจะสัน กล้ามเนือที
              (                    (     (        (        (         (
     อ่อนนิม มีพฒนาการและการเจริญเติบโตทีล่าช้า ซึงความรุนแรงจะมาก
                 ั
     น้อยแตกต่างกัน ในแต่ละคน พบความผิดปกติทางร่างกายของระบบต่างๆ
     ร่วมด้วย เช่น โรคหัวใจพิการแต่กาเนิด ภาวะต่อมธัยรอยด์บกพร่อง
                                     ํ
           ปั ญหาด้านการได้ยินและด้านสายตา
ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ(ดาวน์)
• กลมอาการ คริด ูชาต์ (Cri-du-chat
    ุ่                                 syndrome หรือ
  Cat-cry syndrome)
          เป็ นความผิดปกติของโครโมโซมคูที 5 ผิดปกติไป 1
                                      ่
  โครโมโซม โดยมีสวนหนึงของโครโมโซมขาดหายไปทําให้มแขน
                   ่                                  ี
  ข้างสันของโครโมโซมสันกว่าปกติ พบในเด็กหญิงมากกว่า
        (              (
  เด็กชาย
  ลักษณะของผูป่วย คือ มีปัญญาอ่อนศีรษะเล็กกว่าปกติ
                 ้
  การเจริญเติบโตช้าหน้ากลม ใบหูอยู่ตากว่าปกติและมีเสียงร้อง
                                    ํ
  แหลมคล้ายเสียงแมวร้อง
ลักษณะของโครโมโซมและ
  คนทีผิดปกติ(คริด ูชาต์)
• กลมอาการเอ็ดเวิรด (Edward's syndrome) เกิดจาก
       ุ่              ์
  ความผิดปกติของออโทโซมโดยคูที 18 เกินมา 1 โครโมโซม
                                  ่
• ลักษณะทีปรากฏ จะมีลกษณะหัวเล็ก หน้าผากแบน คางเว้า
                          ั
  หูผดปกติ ตาเล็ก นิวมือบิดงอ และกําเข้าหากันแน่น หัวใจ
     ิ               (
  พิการ ปอดและระบบย่อยอาหารผิดปกติ มีลกษณะปั ญญา
                                             ั
  อ่อนร่วมอยูดวย ผูทีป่ วยเป็ นโรคนีมกจะเสียชีวิตก่อนอายุ 1
            ่ ้    ้                ( ั
  ขวบ
ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ(เอ็ดเวิรด )
                                        ์




         คที 18 เกินมา 1 แท่ง
          ู่
• กลมอาการพาเทา (Patau's syndrome)
       ุ่
      เกิดจากความผิดปกติของออโทโซมคูที 13 เกินมา
                                      ่
   1 โครโมโซม
ลักษณะทีปรากฏจะพบว่ามีอาการปั ญญาอ่อน ปากแหว่ง
   เพดานโหว่ หูหนวก นิวเกิน ตาอาจพิการ หรือตาบอด
                      (
  ส่วนใหญ่อายุสนมาก
                ั(
ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ(พาเทา )




คที 13 เกินมา
 ู่
2. ความผิดปกติของโครโมโซมเพศกลม(X)
                              ุ่
2.1กลมอาการเทอร์เนอร์ (Turner's syndrome)
        ุ่
 โครโมโซม X ขาดหายไป 1 โครโมโซม ทําให้เหลือโครโมโซม X
 เพียงแท่งเดียว และเหลือโครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 45 แท่ง พบ
 ได้ในเพศหญิงเป็ นแบบ 44+XO
ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ(เทอร์เนอร์ )

                         •ลักษณะของผูปวย คือ
                                           ้่
                         •ตัวเตีย คอมีพงพืดกางเป็ นปี ก
                                (        ั
                         • แนวผมท้ายทอยอยู่ตา   ํ
                         •หน้าอกกว้าง หัวนมเล็กและอยู่ห่างกัน
                         •ใบหูใหญ่อยู่ตามีรปร่างผิดปกติ
                                        ํ ู
                         •แขนคอก รังไข่ไม่เจริญ
                         •ไม่มประจําเดือน เป็ นหมัน
                              ี
                         •มีอายุยืนยาวเท่าๆ กับคนปกติทวๆ ไป
                                                        ั
2.2 ซ ูเปอร์ฟเมล (Super female) โครโมโซม
               ี
เพศ เป็ น XXX หรือ XXXX จึงทําให้โครโมโซมใน
เซลล์ร่างกายเป็ น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม
ดังนันโครโมโซมจึงเป็ นแบบ 44+XXX หรือ
     (
44+XXXX

ลักษณะของผูปวย ในเพศหญิงทัวไปดูปกติ สติปัญญาตํา
              ้่
กว่าระดับปกติ ลูกทีเกิดมาจากแม่ทีมีโครโมโซมแบบนีอาจมี
                                                (
ความผิดปกติเช่นเดียวกับแม่
2.3 กลมอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's
         ุ่
  syndrome) ในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็ น XXY หรือ
  XXXY จึงทําให้มโี ครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็ น 47
  โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนันโครโมโซมจึงเป็ นแบบ
                                 (
  44+XXY หรือ 44+XXXY
ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ (ไคลน์เฟลเตอร์)
                        ลักษณะของผูปวย ในเพศชาย มี
                                      ้่
                        ลักษณะคล้ายเพศหญิง
                         *สะโพกพาย
                         *หน้าอกโตจะสูงมากกว่าชายปกติ
                         *ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มอสุจิ เป็ นหมัน
                                           ี
2.ความผิดปกติทีเกิดกับโครโมโซมเพศ กลม Y
                                    ุ่

 • ซ ูเปอร์เมน (Super men) ความผิดปกติทีเกิดกับโครโมโซม
   Y โดยมีโครโมโซม Y เกินมาจากปกติ โครโมโซมเพศ จึงเป็ น
   แบบ XYY จึงทําให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็ น 47
   โครโมโซมเป็ นแบบ 44+XYY
ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ (ซ ูเปอร์เมน )


                           ลักษณะของผูปวย ในเพศชาย
                                         ้่
                           *จะมีรปร่างสูงใหญ่กว่าปกติ
                                 ู
                           *มีอารมณ์ราย โมโหง่าย
                                      ้
                           *บางรายมีจิตใจปกติ และไม่เป็ น
                           หมัน
โรคความผิดปกติทางพันธ ุกรรมได้แก่
• # โรคซีสติกไฟโบรซีส (Cystic fibrosis) เป็ นความผิดปกติที
  ทําให้ร่างกายสร้างเยือเมือกทีหนามากผิดปกติในปอดและลําไส้ ผูทีเป็ นโรค
                                                                 ้
  นีจะหายใจลําบากเพราะปอดเต็มไปด้วยเยือเมือกหนาและอาจทําให้ปอดติด
    (
  เชือเป็ นอันตรายจากแบคทีเรียทีเจริญเติบโตในเยือเมือกนัน ถ้าเยือเมือก
      (                                                 (
  หนาในลําไส้ทาให้ยอยอาหารได้ยากลําบาก
                ํ ่
  สาเหตุ คือ การผ่าเหล่าในอัลลีลลักษณะด้อย อัลลีลทีก่อให้เกิดโรคนีพบ(
  มาก ในหมูคนทีมาจากยุโรปตอนเหนือ
              ่

• ปั จจุบนยังไม่มีทางใดทีจะรักษาโรคซีสติกไฟโบรซีสให้หายขาดได้ มีเพียง
         ั
  การบรรเทาโดยการใช้ยาเพือปองกันการติดเชือจากการทํากายภาพบําบัด
                               ้             (
  เพือสลายเยือเมือกในปอด
• โรคซิกเกิลเซลล์ (Sickle-cell) เป็ นความผิดปกติทางพันธุกรรม
  ทีเกิดขึนกับเลือด ความผิดปกตินเี( กิดจากการผ่าเหล่าทีส่งผลกระทบต่อ
          (
  การสังเคราะห์เฮโมโกลบิน ซึงเป็ นโปรตีนสําคัญทีทําหน้าทีนําออกซิเจน
  ภายในเซลล์เม็ดเลือดแดง
• คนทีเป็ นโรคซิกเกิลเซลล์จะสร้างเฮโมโกลบินให้มรปร่างผิดปกติ เมือ
                                               ี ู
  ความเข้มข้นของออกซิเจนตํา เซลล์เม็ดเลือดแดงจะมีรปร่างผิดปกติเป็ น
                                                     ู
  รูปเคียว ดังรูป
• เมือเซลล์เม็ดเลือดแดงมีรปร่างแบบรูปเคียวจะไม่สามารถลําเลียง
                          ู
  ออกซิเจนได้มากเท่ากับเซลล์เม็ดเลือดแดง ซึงมีรปร่างปกติ การที
                                               ู
  รูปร่างผิดปกติจะทําให้หลอดเลือดเกิดการอุดตัน คนทีเป็ นโรคนีตอง
                                                             ( ้
  ทุกข์ทรมานมากกับการขาดออกซิเจนในเลือด และอ่อนเพลียไม่คอยมี  ่
  แรง

• ปั จจุบนยังไม่มีวิธีใดทีจะรักษาโรคซิกเกิลเซลล์ได้ บุคคลทีเป็ นโรคนีจะ
         ั                                                           (
  ได้รบยาเพือช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดและปองกันการอุดตันของ
      ั                                       ้
  หลอดเลือดเท่านัน  (
• # โรคฮีโมฟเลีย (Hemophilia) คือ โรคทีเกิดจาก
                   ิ
  ความผิดปกติทางพันธุกรรม ทําให้เลือดแข็งตัวได้ชามาก้
  หรือไม่แข็งตัวเลย เพราะคนทีเป็ นโรคนีไ( ม่สามารถสร้างโปรตีน
  ชนิดทีจําเป็ นต่อการแข็งตัวของเลือดตามปกติได้
• คนทีเป็ นโรคนีถามีบาดแผลเลือดจะไหลไม่หยุดจะตายได้
                  ( ้
  นอกจากนีการกระทบกระแทกเพียงเล็กน้อยก็อาจทําให้เกิด
                (
  การฟกชําและมีอนตรายสูงจากการมีเลือดไหลภายในได้
            (         ั
• โรคฮีโมฟิ เลียเป็ นความผิดปกติเกียวเนืองกับเพศ ทําให้ผชาย
                                                        ู้
  เป็ นโรคนีมากกว่าผูหญิง
              (         ้
โรคตาบอดสี
• สาเหตุของตาบอดสีทีเป็ นมาแต่กาเนิด ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
                                 ํ
  โดยโครโมโซม X ทําให้เพศชายถ้ามีหน่วยพันธุกรรม X ทีทําให้
  เกิดตาบอดสี ก็จะแสดงอาการของตาบอดสีออกมา ในขณะทีเพศ
  หญิงถ้าหน่วย X นีผดปกติเพียงหนึงหน่วย ก็ยงสามารถมองเห็น
                      ( ิ                       ั
  ได้ปกติเห็นปกติได้ ถ้าหน่วย X อีกตัวหนึงไม่ทาให้เกิด ตาบอดสี
                                              ํ
ตัวอย่างแบบทดสอบตาบอดสี
โรคเบาหวาน
• 1 ปัจจัยเสียงต่อการเกิดโรคเบาหวาน มีอยู่ 2 อย่าง คือ              ปั จจัย
  ทางด้านพันธุกรรม และปั จจัยทางสิงแวดล้อม
• 1.1 ปัจจัยทางพันธ ุกรรม ขณะนียงไม่พบความผิดปกติของยีนตัวใด
                                         ( ั
  ตัวหนึงทีจะอธิบายการเกิดโรคเบาหวานได้ในผูป่วยทุกราย
                                                  ้
• ปั จจัยทางพันธุกรรมทีมีการค้นพบในปั จจุบน คือ ั
• การมี mutation ของ insulin พบว่าเป็ นสาเหตุของ โรคเบาหวาน
  ในผูป่วยเพียงส่วนน้อยเท่านัน
       ้                       (
• ส่วน mutation ของยีนอืน ก็มในผูป่วยบางเชือชาติเท่านัน และไม่ใช่
                                      ี ้            (        (
  สาเหตุสาคัญในผูป่วยส่วนใหญ่
           ํ        ้
• ในปั จจุบนจึงยังไม่อาจชี(ชดถึงยีนทีทําให้เกิดโรคเบาหวานได้ อาจเป็ นไปได้
             ั              ั
  ว่าผูป่วย มีความผิดปกติของยีนหลายๆ ตัว ทีเกียวข้องกับการนํานําตาล
         ้                                                             (
  ไปใช้ให้เกิดพลังงาน
• 1.2 ปัจจัยทีเกียวข้องกับสิงแวดล้อม พบว่า มีปัจจัยทีเกียวข้องกับ
  สิงแวดล้อมบางอย่างทีอาจเพิมอัตราเสียงต่อการเกิดโรคเบาหวานได้
• ปั จจัยเหล่านี( ได้แก่ ความอ้วน โดยเฉพาะ upper body
  obesity, การขาดการออกกําลังกาย,การเปลียนแปลงวิถีการ
  ดําเนินชีวิต โดยเฉพาะ การบริโภคอาหารประเภทไขมันในปริมาณสูง
โรคธาลัสซีเมีย
โรคธาลัสซีเมีย เกิดจากความผิดปกติของการสังเคราะห์
  เฮโมโกลบินทีเกิดจากความเปลียนแปลงในอัตราการสร้างสาย
  โปรตีนโกลบิน การทีมีอตราการสร้างสายโกลบินชนิดหนึงๆ
                         ั
  หรือหลายชนิดลดลงจะรบกวนการสร้างเฮโมโกลบินและทําให้
  เกิดความไม่สมดุลในการสร้างสายโกลบินปกติอืน
**แบ่งออกเป็ น 2 กลุมใหญ่ ได้แก่ แอลฟาธาลัสซีเมีย และ
                     ่
  เบต้าธาลัสซีเมีย
• แอลฟาธาลัสซีเมีย เป็ นยีนด้อยทีอยูบนโครโมโซมคูที 16
                                       ่            ่
• เบต้าธาลัสซีเมีย เป็ นยีนด้อยทีอยู่บนโครโมโซมคูที 11
                                                ่
โรคท้ าวแสนปม
โรคผิวเผือก
เทคโนโลยีชีวภาพ ( Biotechnology)

• เทคโนโลยีชีวภาพ ( Biotechnology) คือ การใช้ความรู้
    เกียวกับสิงมีชีวิตและผลิตผลของสิงมีชีวิตให้เป็ นประโยชน์กบมนุษย์
                                                                ั
    ได้แก่
•   ผงซักฟอกชนิดใหม่ทีมีเอนไซม์
•   การทําปุ๋ ยไว้ใช้เองจากวัสดุเกษตรเหลือทิ(ง เช่น ฟางข้าว มูลสัตว์
•   การขจัดปั ญหาสิงแวดล้อมเสือมโทรม เช่น ปั ญหานําทิ(งจากโรงงาน
                                                       (
    อุสาหกรรม โดยการนํานําเสียไปใช้ประโยชน์แทนทีจะปล่อยทิ(งให้เน่าเหม็น
                              (
•   รวมทังการถ่ายฝากตัวอ่อนสัตว์เพือให้ได้สตว์พนธุดไว้ใช้ดวยต้นทุนทีตํา
           (                                   ั ั ์ ี        ้
    กว่าเดิม
เทคนิคทางพันธ ุวิศวกรรม ( Genetic                        engineering)

 • เทคนิคทางพันธ ุวิศวกรรม ( Genetic engineering) เป็ นการนํายีน
   หรือ ดี เอ็น เอ จากสิงมีชวิตต่างชนิดมาต่อเข้าด้วยกัน เพือให้แสดงลักษณะทาง
                              ี
   พันธุกรรมทีต้องการออกมา ซึงมีวิธีการ ดังนี(
         1. สกัด ดีเอ็นเอ ทีต้องการออกจากเซลล์ของสิงมีชวิต   ี
         2. ตัด ดีเอ็นเอ ทีไม่ตองการออกโดยใช้เอ็นไซม์ตดเฉพาะ (restriction
                                 ้                         ั
   enzyme) คุณสมบัตตดสายดีเอ็นเอ ซึงเอ็นไซม์นนมีความจําเพาะต่อลําดับของเบสใน
                          ิ ั                         ั(
   สาย ดีเอ็นเอ
         3. เชือมต่อ ดีเอ็นเอ ทีตัดเข้ากับ ดีเอ็นเอ พาหะ (DNA vector) ซึงมีปลายสาย
   ทีต่อเชือมมีลาดับเบสเข้า คูกนได้ เพือทําให้เกิด ดีเอ็นเอ สายผสม โดยใช้เอ็นไซม์ดี เอ็น
                 ํ              ่ ั
   เอไลเกส (DNA ligase)
         4. เพิมจํานวนดีเอ็นเอทีต้องการ โดยการนําชินส่วนดีเอ็นเอทีตัดต่อแล้ว ใส่เข้าไป
                                                         (
   ในเซลล์ของสิงมีชวิต (host cell) ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย เมือเพิม
                     ี
   จํานวนเซลล์ให้มากขึนก็จะแสดงลักษณะทาง พันธุกรรมออกมาได้
                        (
         5. คัดเลือกหาเซลล์ของสิงมีชวิตทีจะได้รบดีเอ็นเอสายผสม ซึงจะแสดงออกมาโดย
                                        ี           ั
   วิธีการตรวจสอบหาการสอดใส่ยีนทีต้องการในดีเอ็นเอพาหะ และมีสมบัตตามที     ิ
            ต้องการไปผสมพันธุกน     ์ ั
การตัดแต่งพันธ ุกรรม
ภาพแสดงวิธีการทําพันธ ุวิศวกรรมถ่ายโอนยีนจากแมงกะพร ุนไปสูลิงโดยใช้ไวรัสพาหะ
                                                         ่
การดัดแปลงทางพันธ ุกรรม
• สิงมีชวิตทีได้รบการดัดแปลงพันธุกรรมโดยใช้เทคนิควิธีพนธุวิศวกรรมว่า
          ี       ั                                     ั
  สิงมีชวิตจีเอ็มโอ ซึงคําว่าจีเอ็มโอ (GMOs)มาจากคําว่า
        ี
   Genetically Modified Organisms

• สําหรับสิงมีชวิตทีได้รบการดัดแปลงพันธุกรรมอาจเป็ นจุลินทรีย์ พืช หรือสัตว์ก็ได้
                ี       ั
  ถ้ามีการนําสิงมีชวิตดัดแปลงพันธุกรรมเหล่านีมาใช้ในขณะทียังมีชวิต อาจเรียกอีก
                   ี                         (                  ี
  อย่างได้ว่า แอลเอ็มโอ (LMOs) ซึงย่อมาจากคําว่า
  Living Modified Organisms

• อย่างไรก็ตามการดัดแปลงพันธุกรรมโดยการใช้วิธีทางพันธุวิศวกรรมในสิงมีชวิตก็
                                                                      ี
  ยังมีขอกําจัด เช่น
        ้
      *ลักษณะบางอย่างของพืชถูกควบคุมด้วยยีนหลายตัวทีมีความแตกต่างกัน
      *สัตว์ไม่สามารถงอกใหม่
      *ชินส่วนเพียงส่วนเดียวของร่างกายต้องใช้เวลานานในการเจริญเติบโต
          (
ตัวอย่างพืชทีมีการตัดแต่งพันธ ุกรรม
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
• การทําเด็กหลอดแก้ว เป็ นวิธีการรักษาผูมบตรยากทีเก่าแก่และทํากัน
                                        ้ ี ุ
  มากทีสุดในโลก
• สําเร็จครังแรกในโลกเมือปี ค.ศ. 1978 ทีประเทศอังกฤษ
            (
• หลักการของเด็กหลอดแก้ว คือ การนําไข่และตัวสเปอร์มออกมาพบกัน
  เพือเกิดการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย
   ทําไมต้องปฏิสนธินอกร่างกาย ก็เพราะมีความผิดปกติบางอย่าง
   ทีขัดขวางหรือไม่เหมาะสมต่อการปฏิสนธิกน แบบธรรมชาติภายใน
                                            ั
   ร่างกาย เช่น ท่อนําไข่อดตัน หรือถูกตัดไป เยือบุโพรงมดลูกอยูผดที
                          ุ                                  ่ ิ
   พังผืดในอุงเชิงกราน เชืออสุจินอย หรือไม่แข็งแรง ในรายทีหาสาเหตุไม่
             ้              (    ้
   พบ
• ขันตอนการทําเด็กหลอดแก้ว
    6
      1. ให้ยาฮอร์โมน เพือกระตุนให้ไข่สกหลาย ๆ ฟอง
                                   ้    ุ
      2. ตรวจสอบและควบคุมการตอบสนองของรังไข่ให้เหมาะสม เพือ
 ปรับขนาดยาให้ถกต้อง
                  ู
      3. ดูดเก็บไข่ ซึงใช้เวลา 10 - 30 นาที โดยใช้ยาชาหรือยาระงับ
 ความรูสึก
         ้
      4. เก็บคัดเชืออสุจิในวันเดียวกับทีดูดเก็บไข่
                    (
      5. ทําการปฏิสนธิของไข่กบสเปริมในห้องปฏิบตการ นาน
                                 ั                 ั ิ
 ประมาณ 48 - 72 ชัวโมง
      6.
      6 การย้ายตัวอ่อนกลับเข้าสูโ่ พรงมดลูกเพือรอการฝังตัว
      7. ตรวจสอบผลการตังครรภ์ ประมาณ 10-14 วัน หลังการใส่
                              (
 ตัวอ่อน




                                    หล ุยส์บราวน์ เด็กหลอดแก้วคนแรก
• การทํากิฟต์ การนําเซลล์สืบพันธุไ์ ปใส่ไว้ทีท่อนําไข่ หรือทีรูจกแพร่หลาย
                                                               ้ั
   โดยทัวไปว่า กิฟต์ (GIFT) หมายถึง การนําเอาไข่และตัวอสุจิไปใส่ไว้ทีท่อนําไข่
   เพือให้เกิดการปฏิสนธิหรือรวมตัวกันตามธรรมชาติ
  (เป็ นวิธีการทีสิ(นเปลืองค่าใช้จายและเวลาต่างๆ มาก นอกจากนัน ยังอาจเกิด
                                  ่                          (
   ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษาได้อีกด้วย)
   หลักการทํากิฟต์ คือนําไข่และอสุจิมารวมกัน และฉีดเข้าท่อนําไข่โดยผ่านทาง
   ปลายของท่อให้มการปฏิสนธิ การแบ่งตัวของตัวอ่อนและการฝังตัวเกิดขึนเองตาม
                      ี                                                (
   ธรรมชาติ
   ขันตอนใหญ่ๆ ของการทํากิฟท์ แบ่งออกเป็น 3 ขันตอน ดังนี(
      6                                                  6
         1. การนําไข่ออกมาจากรังไข่
         2. การเตรียมอสุจิ
         3. การนําไข่และอสุจิมาใส่ไว้ทีท่อนําไข่




                              ภาพการฉีดอส ุจิทีท่อรังไข่
• การผสมเทียมแบบไฮเทค (Intracytoplasmic
  Sperm Injection) เป็ นเทคโนโลยีชวภาพทีพัฒนามาจาก
                                        ี
  การผสมในหลอดแก้ว โดยการนําอสุจิเพียงเซลล์เดียวฉีดเข้าไป
  ในชัน ไซโตพลาสซึมของเซลไข่ ซึงวิธีนมโี อกาสสําเร็จ 68%
      (                              ี(




             ภาพการฉีดอส ุจิเข้าในชันไซโทพลาซึม
                                    6
• การโคลน หมายถึงการสร้างสิงมีชวิตขึนมาใหม่ โดยไม่ได้อาศัย
                                      ี (
  การปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุเ์ พศผู้ คือสเปิ ร์ม กับเซลล์สืบพันธุ์
  เพศเมีย คือไข่ ซึงเป็ นการสืบพันธุตามปกติ แต่ใช้เซลล์ร่างกาย
                                    ์
  (Somatic cell) ในการสร้างสิงมีชวิตขึนมาใหม่
                                          ี (
แกะดอลลีสตว์ตวแรกทีถกโคลน
         ั ั        ู
          2540
• การโคลนในพืชหรือการเพาะเลี6ยงเนื6อเยือพืช คือ
• การนําเอาเซลล์หรือเนือเยือหรืออวัยวะบางส่วนของพืช เช่น ยอด ลําต้น
                         (
  ใบ ราก ส่วนต่าง ๆ ของดอกหรือส่วนของผล มาเลี(ยงบนอาหาร
  สังเคราะห์ ซึงมีทงอาหารกึงแข็งและอาหารเหลวในสภาพทีปลอดเชือ
                    ั(                                          (
• ประโยชน์ คือ
• นําไปใช้ทางด้านปรับปรุงพันธุ์
• คัดเลือกพันธุพืชให้ได้พืชทีทนต่อโรค แมลง ยากําจัดวัชพืชหรือทนต่อ
                ์
  ดินเค็ม
• การขยายพันธุพืชให้ได้ประมาณมากในระยะเวลาอันรวดเร็ว
                  ์
• ไม่กลายพันธุ์ การเก็บรักษาพันธุพืช และประหยัดเวลาแรงงาน
                                   ์
  งบประมาณ
• ขันตอนการเพาะเลี6ยงเนื6อเยือพืช ดังนี(
    6
 1.เพาะเลี(ยงเพือกระตุนให้ชนพืชเกิดยอดใหม่
                      ้ ิ(
  2.เพาะเลี(ยงเพือกระตุนให้เกิดราก
                       ้
  3.เพาะเลี(ยงเพือกระตุนให้ชนพืชจํานวนมาก
                         ้ ิ(
  4.เก็บรักษาเนือเยือไว้ทีห้องทีควบคุมอุณหภูมิ 24 องศาเซลเซียส มี
                 (
  ความเข้มแสง 2,000 ลักซ์ และให้แสงนาน 14 ชม./วัน
  5.ย้ายปลูกและปรับสภาพต้นในวัสดุปลูกทีเป็ นขีเ( ถ้าแกลบ และเก็บรักษา
  ไว้ในห้องทีควบคุมอุณหภูมิ 24 องศาเซลเซียส
  6. ย้ายปลูกลงถุงดําทีมีวสดุเพาะ
                            ั
• ต่อด้วยเรื อง ความหลากหลายของสิ งมีชีวิต

More Related Content

What's hot

สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 

What's hot (20)

ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 

Similar to pantugam

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxssuser4ff757
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 

Similar to pantugam (20)

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Division[1]
Division[1]Division[1]
Division[1]
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 

More from krudararad

ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 

More from krudararad (6)

Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Elect
ElectElect
Elect
 
Elect
ElectElect
Elect
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 

pantugam

  • 1. พันธ ุกรรมและความหลากหลายของสิงมีชีวิต • พันธ ุกรรม หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะต่างๆของสิงมีชวิต ี จากบรรพบุรษไปสูร่นลูกรุนหลาน หรือการถ่ายทอดลักษณะ ุ ่ ุ ่ ต่างๆ จากรุ่นหนึงไปสูอีกรุ่นหนึง เรียกอีกอย่างว่า กรรมพันธ์ ุ ่ เช่น ความห่างของคิ(ว ความถนัดซ้าย – ขวา ลักษณะเส้นผม • พันธุกรรมเหล่านีจะถูกควบคุมโดยหน่วยควบคุมลักษณะที ( เรียกว่า ยีน ยีนจะมีอยู่เป็ นจํานวนมาก ในเซลล์ทกเซลล์ ุ
  • 2.
  • 3. ลักษณะทีถ่ายทอดทางพันธ ุกรรม • กรรมพันธุ์ หรือลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรม เป็ นลักษณะที สามารถถ่ายทอดไปสูร่นต่อๆ ไปได้ โดยผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ ่ ุ ของพ่อและแม่ ซึง * เซลล์สืบพันธุของพ่อ(อสุจิ) ์ * เซลล์สืบพันธุของแม่(ไข่) ์ แต่ลกษณะบางอย่างเกิดขึนภายหลัง เช่น แผลจากอุบตเิ หตุ ั ( ั หรือเกิดจากการทําศัลยกรรม
  • 4. การปฏิสนธิระหว่างอส ุจิ+ไข่ • อสุจิ(1ตัว) + ไข่ (1 ใบ) จะได้ลก 1 คน ู (ถ้าหากมีการแบ่งและจําลองเซลล์อีก แฝดแท้) • อสุจิ(2ตัว) + ไข่ (2 ใบ) จะได้ลกแฝด 2 คน ู (ถ้าหากมีการแบ่งและจําลองเซลล์อีก แฝดเทียม)
  • 5. ความแปรผันทางพันธ ุกรรม มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ • 1. ความแปรผันลักษณะทางพันธ ุกรรม ทีไม่ต่อเนือง (discontinuous variation) เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีสามารถแยกความแตกต่างได้ อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุเ์ พียงอย่างเดียว เช่น มีลกยิ(ม-ไม่มลกยิ(ม มีตงหู-ไม่มตงหู ห่อลิ(นได้-ห่อลิ(นไม่ได้ ั ี ั ิ ี ิ ความห่างของคิ(ว ความถนัดซ้าย-ขวา ฯลฯ
  • 6.
  • 7. 2. ความแปรผันทางพันธ ุกรรมแบบต่อเนือง (continuous variation) เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีไม่สามารถแยกความแตกต่างได้ อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง นําหนัก โครงร่าง สีผว ซึงเกิดจาก ( ิ อิทธิพลของกรรมพันธุและสิงแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูง ถ้า ์ ได้รบสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการ และมีการออกกําลัง ั กายก็จะทําให้มร่างกายสูงได้ ี
  • 8.
  • 9. โครโมโซมและยีน • โครโมโซม คือ สารพันธุกรรมในร่างกายของมนุษย์ เป็ นตัวกําหนดลักษณะต่างๆ เช่น สีตา สีผม ลักษณะ เส้นผม ลักษณะดวงตา ความสูง และควบคุมการ ทํางานของร่างกาย โครโมโซมจะอยูในเซลล์ทกเซลล์ใน ่ ุ ร่างกาย ในคนทัวไปแต่ละเซลล์จะมีจานวนโครโมโซม ํ อยู่ 23 คู่ หรือ 46 แท่ง
  • 10. จํานวนโครโมโซมของสิงมีชีวิต ควาย 30 คู่ 60 แท่ง แมว 19 คู่ 38 แท่ง ไก่ 39 คู่ 78 แท่ง ส ุนัข 39 คู่ 78 แท่ง ไก่งวง 40 คู่ 80แท่ง แพะ 30 คู่ 60 แท่ง แมลงหวี 4 คู่ 8แท่ง ม้า 32 คู่ 64 แท่ง กบ 13 คู่ 26แท่ง หมู 19 คู่ 38 แท่ง หนู 21 คู่ 42แท่ง แกะ 27 คู่ 54 แท่ง วัว 30 คู่ 60แท่ง อ ูฐ 35 คู่ 70 แท่ง คน 23 คู่ 46แท่ง ค้างคาว 22 คู่ 44 แท่ง ถัวลันเตา 7 คู่ 14แท่ง สลามันเดอร์ 12 คู่ 24 แท่ง หัวหอม 8 คู่ 16แท่ง คางคก 18 คู่ 36 แท่ง
  • 11. โครโมโซมของมนุษย์มทงหมด 23 คู่ ี ั( ลักษณะของโครโมโซม
  • 12. ลักษณะของโครโมโซม • โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วย โครมาทิด(chromatid) 2 โครมาทิดทีเหมือนกัน ซึงเกิดจากการทีโครโมโซมจําลองตัว โครมาทิดทังสองมีสวนทีติดกันอยู่ ( ่ เรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere) โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีรปร่างลักษณะทีเหมือนกันเป็ นคู่ ู ๆ แต่ละคู่ เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) chromosome สําหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน โดยขึนอยูกบ ตําแหน่งของเซนโทรเมียร์หรือโคนีโทคอร์ ( ่ ั (chinetochore) ซึงทําหน้าทีเป็ นแกนหลักสําคัญสําหรับ การเคลือนไหวของโครโมโซมภายในเซลล์ ขณะทีโครโมโซมเคลือนทีเข้าสู่ ขัวเซลล์ในช่วงระยะการแบ่งเซลล์ (
  • 13.
  • 14. ชนิดของโครโมโซม • โครโมโซมในร่างกายมนุษย์ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 1. ออโตโซม (auto some) เป็ นโครโมโซมทีควบคุม ลักษณะต่างๆ ของร่างกาย ในเซลล์ของเพศชายและเพศหญิง จะมีออโตโซมเหมือนกัน มี 22 คู่ (จะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส = 2n) 2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome เป็ นโครโมโซม sex chromosome) ทีทําหน้าทีควบคุมหรือกําหนดเพศ มีอยู่ 1 คู่ คือคูที 23 (จะมี ่ การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส= n)ได้แก่ โดยในเพศหญิงมีโครโมโซมเพศแบบ XX และเพศชายมีโครโมโซมเพศแบบ XY
  • 15. การแบ่งเซลล์ไมโทซิส (เซลล์รางกาย) ่ 1.ระยะอินเตอร์เฟส คือโครโมโซม มี ลักษณะคล้ายเส้นใยเรียกว่า เส้นใย โครมา ทิน 2.ระยะโพรเฟส คือ โครโมโซมหดสันเข้าจึง 6 มองเห็นเส้นโครโมโซมสันลง และมีการสร้าง 6 เส้นใยสปนเดิล ิ 3.ระยะเมทาเฟสคือโครโมโซมเรียงตัวกัน กลางเซลล์ 4.ระยะแอนาเฟสคือโครมาติดของแต่ละ โครโมโซมถ ูกดึงแยกจากกัน โดยเส้นใย สปน ิ เดิล 5.ระยะเทโลเฟส คือ เกิดการแบ่ง ไซ โทพลาซึม โดยเยือหมเซล์คอดเข้าหากัน ุ้ จนกระทังเซลล์แยกจากกัน
  • 16. การแบ่งเซลล์ไมโอซิส (เซลล์สืบพันธ)์ ุ 1.ไมโอซิส 1 คือเซลล์เดิมแบ่งออกเปนเซลล์ใหม่ โดยนิวเคลียสของเซลล์ใหม่ ็ จะมีจํานวนโครโมโซมเพียงครึงหนึงของเซลล์เดิม 2.ไมโอซิส 2 คือเปนการแบ่งเซลล์เหมือนกับการแบ่งไมโทซิส หลังจากมีการ ็ แบ่งเซลล์ในชันนี6แล้วจะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ และมีจํานวนโครโมโซม 6 เพียงครึงหนึงของเซลล์เดิม
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22. รูปโครโมโซมเพศชายและเพศหญิง รูปโครโมโซมเพศหญิง รูปโครโมโซมเพศชาย
  • 23. การกําเนิดเพศชาย - เพศหญิง • เซลล์เพศทีถูกสร้างขึนมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียว ( โดยที -เซลล์สืบพันธุเ์ พศชาย (สเปิ ร์ม) จะมีเซลล์สืบพันธุ์ ซึงมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y -เซลล์สืบพันธุของเพศหญิง จะมีโครโมโซมได้เพียงชนิดเดียว คือ ์ 22+X ดังนันโอกาสในการเกิด ( - ทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX) -ทารกเพศชาย (โครโมโซม 44+XY) จึงเท่ากัน ขึนอยู่กบ ( ั สเปิ ร์มทีเข้าผสมกับไข่จะเป็ นสเปิ ร์มชนิดใด
  • 24. การกําเนิดเพศชายxy การกําเนิดเพศหญิงxx
  • 25. ยีน • ยีน (Gene) หมายถึง ส่วนของ DNA ทีทําหน้าทีถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม • โครโมโซม เป็ นโครงสร้างทีมี DNA และโปรตีนเป็ นองค์ประกอบ • โครโมโซมจึงเป็ นทีอยูของยีน และในแต่ละโครโมโซมมียีนอีกมากมายมาเรียง ่ ต่อๆ กัน • ยีนเป็ นส่วนของ DNA ทีสามารถควบคุมการแสดงออกได้ สิงมีชีวิตแต่ละ ชนิดจะมีจานวนยีนแตกต่างกัน เช่น ํ - แบคทีเรีย มียีนประมาณ 4,000 ยีน - แมลงหวี 20,000 ยีน -มนุษย์ประมาณ 30,000 กว่ายีน
  • 26. • ดังนัน ยีนจึงเป็ นเอกลักษณ์ของสิงมีชีวิต ( • ยีนอยูบนโครโมโซมทีมี อยูในเซลล์ของสิงมีชีวิตทีเป็ นยูคาริโอต ่ ่ • ยีนอยูบนโครโมโซมทีมี อยูในเซลล์ของสิงมีชีวิตและอยูบน DNA ของ ่ ่ ่ สิงมีชีวิตทีเป็ นโพรคาริโอต • เนืองจากยีนเป็ นส่วนหนึงของ DNA ซึงเป็ นองค์ประกอบของโครโมโซม • ดังนันยีนขึนอยู่บนโครโมโซม ( ( ทอมัส ฮันต์มอร์แกน ได้พบความสัมพันธ์ของกฎและกลไกทาง พันธุกรรมและได้ทาการวิจยทีระบุวา ตําแหน่งของยีนนันอยู่บนโครโมโซม ํ ั ่ (
  • 27. ประเภทของยีน • ยีนทีควบคุมลักษณะบางอย่าง มีอยู่ 2 ชนิด คือ ยีนเด่น และ ยีนด้อย • ยีนเด่น (Dominant) คือ ยีนทีสามารถแสดงลักษณะ นันออกมาได้ แม้มยีนเพียงยีนเดียว เช่น ยีนผมหยิกอยู่คกบ ( ี ู่ ั ยีนผม เหยียด แต่แสดงลักษณะผมหยิกออกมา แสดงว่า ยีนผม หยิกเป็ นยีนเด่น เช่น T=ความสูง, R=สีแดง, B=ผิวดํา • ยีนด้อย (Recessive) คือ ยีนทีสามารถแสดง ลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ก็ตอเมือบนคูของโครโมโซมนัน ปรากฏ ่ ่ ( แต่ยีนด้อย เช่นการแสดงออกของลักษณะผมเหยียด จะต้องมียีน ผมเหยียดบนโครโมโซมทังคู่ เช่น เตีย=t, ดํา=b, สีขาว=w ( (
  • 28. DNA • ดีเอ็นเอ (DNA) เป็ นสารพันธุกรรม มีชอเต็มว่า กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก ื (Deoxyribonucleic acid) ซึงเป็ นกรดนิวคลีอิก กรดทีพบในใจกลางของ เซลล์ทกชนิด ุ • ดีเอ็นเอ (DNA)คือการเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์ ( Nucleotide ) นิวคลีโอไทด์เป็ น โมเลกุลทีประกอบด้วย 1.นําตาลเพนโทส ( Deoxyribose Sugar ) คาร์บอน 5 อะตอม ( 2.หมู่ 2. ฟอสเฟต ( Phosphate ) (ฟอสฟอรัสและออกซิเจน) 3.ไนโตรเจนเบส (Nitrogenous Base) เบสในนิวคลีโอ ไทด์มอยู่ 4 ชนิด ได้แก่ อะดีนน (adenine, A), ไทมีน (thymine,T), ี ี ไซโทซีน (cytosine,C)และกัวนีน (guanine, G)
  • 29. ขาหรือราวของบันไดสองข้างหรือนิวคลีโอไทด์ถกเชือมด้วยเบส ู โดยที A จะเชือมกับ T และ C จะเชือมกับ G (ในกรณีของดีเอ็นเอ) และข้อมูลทางพันธุกรรมในสิงมีชวิตชนิดต่างๆ ี เกิดขึนจากการเรียงลําดับของเบสในดีเอ็นเอนันเอง ( • ผูคนพบดีเอ็นเอ คือ ฟรีดริช มีเชอร์ ในปี พ.ศ. 2412 (ค.ศ. ้ ้ 1869) แต่ยงไม่ทราบว่ามีโครงสร้างอย่างไร ั • จนในปี พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เจมส์ ดี. วัตสัน และฟรานซิส คริก เป็ นผูรวบรวมข้อมูล และสร้างแบบจําลองโครงสร้างของดี ้ เอ็นเอ (DNA Structure Model)จนทําให้ได้รบรางวัลโนเบล ั และนันนับเป็ นจุดเริมต้นของยุคเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
  • 31. สร ุปคือ • ในเซลล์(นิวเคลียส) โครโมโซม ดีเอ็นเอ ยีน *ในเซลล์ร่างกายของคน 1 เซลล์ เมือนําดีเอ็นเอทังหมดมาเรียง ( ต่อกันจะมีความยาวรวมถึง 2.2 เมตร *ดังนันโครโมโซมแต่ละแท่ง มีความยาวเฉลียเพียง 6 ไมโครเมตร ( ประกอบด้วยสายดีเอ็นเอทีมีความยาวเฉลียถึง 4.8 เซนติเมตร หรือ 48, 000 ไมโครเมตรซึงจะต้องบรรจุสายดีเอ็นเอทีมี ความยาวถึง 8,000 เท่าของโครโมโซม จึงมี การใช้โปรตีน(ฮีสโทน) มาช่วยในการขดตัว ของสายดีเอ็นเอให้ สันลง (
  • 33.
  • 35. * ดีเอ็นเอเป็ นส่วนประกอบของโครโมโซม เพราะฉะนันยีนจึงมีตาแหน่งอยู่บนโครโมโซม ( ํ * ยีนในตําแหน่งเดียวกันบนโฮโมโลกัสโครโมโซมแต่ละคูจะควบคุมลักษณะเดียวกันซึง ่ อาจมีหลาย รูปแบบ เรียกยีนทีควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ให้รปแบบของลักษณะต่างกันว่า แอล ู ลีล * ลักษณะทางพันธุกรรมทีปรากฏจะขึนอยู่กบแอลลีลในแต่ละโครโมโซม เช่น ( ั ยีนทีควบคุมลักษณะคางบุม มี 2 แบบ คือ N และ n ๋ ดังนัน ( - แบบของคูยีนทีควบคุมลักษณะคางบุม หรือจีโนไทป์ (ยีนภายใน) ของลักษณะ ่ ๋ คางบุมจึงมีได้ 3 แบบ คือ NN Nn และ nn ๋ - ส่วนลักษณะทีแสดงออก เรียกว่าฟโนไทป์ (ส่วนทีแสดงออก)ในกรณีนมีได้ 2 ี ี( แบบ คือ ลักษณะคางบุมและลักษณะคางไม่บม ๋ ุ๋
  • 36.
  • 38. • ยีน (Gene) สามารถเป็ นได้ทง (DNA)หรือ (RNA) ก็ได้ ั( • แต่ในสิงมีชวิตชันสูงนันจะเป็ น DNA หมดเพราะเสถียรมากเหมาะแก่การเก็บ ี ( ( ข้อมูล ขณะที RNA จะพบในพวกไวรัส • ยีน (Gene) ทังหมดของสิงมีชวิตหรือเซลล์จะรวมเรียกว่า จีโนม (Genome) ( ี และโครงสร้างของจีโนม (Genome)ในพวกโพรคารีโอต(ชันตํา=พวกไม่มเี ยือหุม ( ้ เซลล์) และยูคารีโอต(เซลล์สลับซับซ้อน=สัตว์ชนสูง) จะแตกต่างกัน ั( • ถ้ายีน (Gene)เกิดผิดไปจากปกติเรียกว่า การกลายพันธ์ ุ (Mutation) ซึง เกิดเองตามธรรมชาติหรือถูกกระตุนให้เกิดก็ได้ โดยส่วนมากแล้วเมือยีนเกิด ้ ผิดปกติไปจะส่งผลเสียต่อสิงมีชวิตนันมากกว่าผลดี เช่น ในคน สามารถทําให้ป่วย ิ ( เจ็บไข้ หรือถึงแก่ชวิตได้ โรคทีเกิดจากสาเหตุนเี( รียกว่า โรคทางพันธ ุกรรม ี (Genetic Disease) ซึงจะถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปหรือไม่ก็ได้
  • 39. • บิดาแห่งพันธุศาสตร์ คือ เกรเกอร์ เมนเดล • เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) เกิดทีเมืองไฮน์เซนดรอฟ ออสเตรีย เป็ นบุตรชายคนเดียวใน จํานวนพีน้อง 3 คน ของชาวนายากจนคนหนึง โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รบตําแหน่งรับผิดชอบดูแล ั สวน • ในปี พ.ศ. 2390 เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ทีเขายังคงสอนหนังสือเพือชดเชยความ ผิดหวัง เขาทํางานในสวนของวัดทุกเวลาทีว่าง ทีนันมีพนธุพืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ั ์ ความแตกต่างนี( ทําให้เกรเกอร์นกสงสัย เขาได้ผสมพันธุถวเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็ นจํานวนแตกต่างถึง 22 ึ ์ ั ชนิดของต้นถัว เพือศึกษาลักษณะทังหมด เป็ นเวลารวม 8 ปี เต็มในการทดลองร่วมพันครัง พบได้ 3 สิง ดังนี( ( ( • สิงแรก เช่น ผสมพันธุถัวเมล็ดสีเหลืองกับเมล็ดสีแดง จะได้ผลิตพันธุเ์ มล็ดสีเหลืองออกมา ์ • สิงที 2 เมือผสมพันธุตางชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทังสองชนิด ต้นทีมีเมล็ดสีเขียวทุกๆ ์ ่ ( ต้นจะมีสามต้นทีมีเมล็ดสีเหลือง (แสดงว่าหน่วยถ่ายพันธุทีผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็ นหน่วยถ่ายพันธุที เด่น คือ โด ์ ์ มิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุทีผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุดอย) ์ ์ ้ • สิงทีสาม ค้นพบกฎข้อทีสาม สมมติว่าเขาผสมพันธุถัวทีมีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุถัวทีมีเมล็ดหยาบสีเขียว ์ ์ รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็ นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน เมล็ดหยาบสี ั เขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน หลังจากนัน เมนเดลได้สงผลการทดลองนีไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึง แต่กลับไม่มีผทีสนใจเลย เขาเก็บ ( ่ ( ู้ รายงานนีไว้ทีห้องสมุดและทําการทดลองต่อไป จนกระทังถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427 ( •
  • 41. กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธ ุกรรม พ่อผิวดํา(BB) แม่ผวขาว(Wb) ิ BW Bb BW Bb สองสี ดํา สองสี ดํา
  • 42. กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธ ุกรรม • พันธุแท้ เรียกว่า โฮโมไซกัสโครโมโซม(ยีน) เช่น TT,tt ์ • พันธุทาง เรียกว่า เฮเตอโรไซกัสโครโมโซม(ยีน) เช่น Tt ์ พ่อสูง(Tt) แม่เตีย (tt) ( Tt Tt tt tt สูง(ทาง) สูง(ทาง) เตีย(แท้) เตีย(แท้) ( (
  • 43.
  • 44. ยีนของหมูเลือด ่ • โดยกําหนดให้เลือด • เลือดกรุป A เป็ น I ๊ AIA หรือ IAi • เลือดกรุป B เป็ น I ๊ BIB หรือ IBi • เลือดกรุป AB เป็ น IAIB ๊ • เลือดกรุป O เป็ น ii ๊
  • 45. • หรือกําหนดให้เลือด เลือดกรุป A เป็ น AA(แท้) หรือ Ao (ทาง) ๊ เลือดกรุป B เป็ น BB (แท้) หรือ Bo (ทาง) ๊ เลือดกรุป AB เป็ น AB (แท้) ๊ เลือดกรุป O เป็ น oo (แท้) ๊ • ถ้ากําหนดให้ พ่อAA(แท้) แม่ Ao (ทาง) AA Ao AA Ao
  • 46. • ถ้ากําหนดให้ พ่อAB(แท้) แม่ Bo (ทาง) AB Ao BB Bo จะได้หมูเ่ ลือดAB 25% หมูเ่ ลือด A 25% หมูเ่ ลือด B 50% AB: A:B 1 : 1 :2
  • 47. การพิจารณาการให้เลือด หมายเหต ุ แอนติเจน =เชื6 อโรค แอนติบอดี=ภ ูมิคมกัน ุ้ ***ระวังไม่ให้แอนติเจนผูรบตรงกับแอนติบอดีผใู้ ห้ ้ ั
  • 48. สรุปการให้เลือด • หมูเ่ ลือด A ให้ได้แต่ A รับได้ A,O • หมูเ่ ลือด B ให้ได้แต่ B รับได้ B,O • หมูเ่ ลือด AB ให้ได้แต่ AB รับได้ทกหมู่ ุ • หมูเ่ ลือด O ให้ได้ทกหมู่ รับได้เฉพาะ O ุ
  • 49. แบบฝึ กหัด(กระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรม) 1. พ่อA(ทาง) และ แม่ AB 2. พ่อA(ทาง) และ แม่ B(ทาง) 3. พ่อtt และ แม่ Tt 4. พ่อWB และ แม่ WB 5. พ่อพันธุหนูตะเภา(Bb)และแม่พนธุของหนูตะเภา(Bb) ์ ั ์ โดยกําหนด B ลักษณะสีดาํ b ลักษณะสีขาว จะได้ลกสีดาและสีขาวเป็ นเท่าไร ู ํ 6. การผสมพันธุตนถัวพ่อพันธุ์ (กลม,เหลือง) และ แม่พนธุ์ (ขรุขระ, เขียว) ์ ้ ั โดย กลม=R ขรุขระ=r เหลือง=Y เขียว=y (หารุ่น หลาน)
  • 50. พ่อพันธุ์ RrYy *แม่พนธุ์ RrYy ั RrYy RY Ry rY ry RY RRYY RRYy RrYY RrYy Ry RRYy RRyy RrYy Rryy rY RrYY RrYy rrYY rrYy ry RrYy Rryy rrYy rryy
  • 51. สรุปคําตอบ • กลม, เหลือง : 9 • กลม, เขียว : 3 • ขรุ ขระ, เหลือง : 3 • ขรุ ขระ, เขียว : 1
  • 52. • ปั จจัยทีทําให้เกิดมิวเทชัน(การกลายพันธุ) ์ • ตัวกระตุนหรือชักนําให้เกิดมิวเทชัน จะเรียกว่าสิงก่อกลายพันธุ์ (mutagen) เช่น ้ • รังสี (radiation) รังสีทีกระตุนให้เกิดมิวเทชันมี 2 ชนิดคือ ้ – Ionizing Radiation เช่น รังสีบีตา, รังสีแกมมา, รังสีเอกซ์ ้ – Non-Ionizing Radiation เช่น รังสีอลตร้าไวโอเลต ุ • สารเคมี เช่น สารโคลซิซิน (colchicine) มีผลทําให้มการเพิมจํานวนชุดของ ี โครโมโซม ผลดังกล่าวนีทาให้ผลผลิตพืชเพิมขึน สารไดคลอวอส (dichlovos) ที ( ํ ( ใช้กาจัดแมลงและพาราควอต (paraquat) ทีใช้กาจัดวัชพืช ก็สามารถทําให้เกิด ํ ํ การผิดปกติของโครโมโซมในคนและสัตว์ได้ สิงก่อกลายพันธุหรือมิวทาเจนหลายชนิด ์ เป็ นสารก่อมะเร็ง (carcinogen) เช่น สารอะฟลาทอกซิน (aflatoxins) จากเชือราบางชนิดทําให้เกิดมะเร็งทีตับ ( • การจัดเรียงเบสในกระบวนการสังเคราะห์ดเี อ็นเอผิดพลาด มีผลทําให้เกิดการเพิม หรือลดจํานวนเบสในคูสาย และทําให้เกิดการเลือนของสายDNA ่
  • 53. • ประเภทของมิวเทชัน มิวเทชันเกิดกับเซลล์ 2 ลักษณะ คือ • เซลล์ร่างกาย (Somatic cell) เซลล์ชนิดนีเ( มือเกิดมิวเทชัน แล้ว จะไม่ถ่ายทอดไปยังรุนต่อไป ่ • เซลล์สืบพันธุ์ (Sex cell) เซลล์เหล่านีเ( มือเกิดมิวเทชันแล้ว จะถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้ ซึงมีผลต่อการเปลียนแปลงสปี ชีส์ ของสิงมีชวิตมากทีสุด และส่งผลต่อวิวฒนาการของ ี ั สิงมีชวิตด้วย ี
  • 56. โรคทางพันธ ุกรรมมาจากการผิดปกติของ โครโมโซมร่างกายและโครโมโซมเพศ 1. ความผิดปกติของโครโมโซมร่างกาย เช่น กลุมอาการดาวน์ ่ กลมอาการดาวน์ โรคนีจะมีโครโมโซมจํานวน 47 แท่งโดยมีโครโมโซมคูที 21 ุ่ ( ่ เกินมา 1 แท่งถือเป็ นความผิดปกติทางกรรมพันธุทีพบได้บอยทีสุด ์ ่ อัตราส่วน 1:800 ของทารกแรกเกิด พบในทุกเชือชาติ สามารถเกิดได้กบ ( ั ทุกๆ คน เด็กจะมีลกษณะทีเฉพาะ เช่น ใบหน้ามักจะกลม ศีรษะค่อนข้างเล็กและท้ายทอย ั แบน ดังจมูกแบน หางตาเฉียงขึนบน นิวมือและนิวเท้ามักจะสัน กล้ามเนือที ( ( ( ( ( ( อ่อนนิม มีพฒนาการและการเจริญเติบโตทีล่าช้า ซึงความรุนแรงจะมาก ั น้อยแตกต่างกัน ในแต่ละคน พบความผิดปกติทางร่างกายของระบบต่างๆ ร่วมด้วย เช่น โรคหัวใจพิการแต่กาเนิด ภาวะต่อมธัยรอยด์บกพร่อง ํ ปั ญหาด้านการได้ยินและด้านสายตา
  • 58.
  • 59. • กลมอาการ คริด ูชาต์ (Cri-du-chat ุ่ syndrome หรือ Cat-cry syndrome) เป็ นความผิดปกติของโครโมโซมคูที 5 ผิดปกติไป 1 ่ โครโมโซม โดยมีสวนหนึงของโครโมโซมขาดหายไปทําให้มแขน ่ ี ข้างสันของโครโมโซมสันกว่าปกติ พบในเด็กหญิงมากกว่า ( ( เด็กชาย ลักษณะของผูป่วย คือ มีปัญญาอ่อนศีรษะเล็กกว่าปกติ ้ การเจริญเติบโตช้าหน้ากลม ใบหูอยู่ตากว่าปกติและมีเสียงร้อง ํ แหลมคล้ายเสียงแมวร้อง
  • 61. • กลมอาการเอ็ดเวิรด (Edward's syndrome) เกิดจาก ุ่ ์ ความผิดปกติของออโทโซมโดยคูที 18 เกินมา 1 โครโมโซม ่ • ลักษณะทีปรากฏ จะมีลกษณะหัวเล็ก หน้าผากแบน คางเว้า ั หูผดปกติ ตาเล็ก นิวมือบิดงอ และกําเข้าหากันแน่น หัวใจ ิ ( พิการ ปอดและระบบย่อยอาหารผิดปกติ มีลกษณะปั ญญา ั อ่อนร่วมอยูดวย ผูทีป่ วยเป็ นโรคนีมกจะเสียชีวิตก่อนอายุ 1 ่ ้ ้ ( ั ขวบ
  • 63. • กลมอาการพาเทา (Patau's syndrome) ุ่ เกิดจากความผิดปกติของออโทโซมคูที 13 เกินมา ่ 1 โครโมโซม ลักษณะทีปรากฏจะพบว่ามีอาการปั ญญาอ่อน ปากแหว่ง เพดานโหว่ หูหนวก นิวเกิน ตาอาจพิการ หรือตาบอด ( ส่วนใหญ่อายุสนมาก ั(
  • 65. 2. ความผิดปกติของโครโมโซมเพศกลม(X) ุ่ 2.1กลมอาการเทอร์เนอร์ (Turner's syndrome) ุ่ โครโมโซม X ขาดหายไป 1 โครโมโซม ทําให้เหลือโครโมโซม X เพียงแท่งเดียว และเหลือโครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 45 แท่ง พบ ได้ในเพศหญิงเป็ นแบบ 44+XO
  • 66. ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ(เทอร์เนอร์ ) •ลักษณะของผูปวย คือ ้่ •ตัวเตีย คอมีพงพืดกางเป็ นปี ก ( ั • แนวผมท้ายทอยอยู่ตา ํ •หน้าอกกว้าง หัวนมเล็กและอยู่ห่างกัน •ใบหูใหญ่อยู่ตามีรปร่างผิดปกติ ํ ู •แขนคอก รังไข่ไม่เจริญ •ไม่มประจําเดือน เป็ นหมัน ี •มีอายุยืนยาวเท่าๆ กับคนปกติทวๆ ไป ั
  • 67. 2.2 ซ ูเปอร์ฟเมล (Super female) โครโมโซม ี เพศ เป็ น XXX หรือ XXXX จึงทําให้โครโมโซมใน เซลล์ร่างกายเป็ น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนันโครโมโซมจึงเป็ นแบบ 44+XXX หรือ ( 44+XXXX ลักษณะของผูปวย ในเพศหญิงทัวไปดูปกติ สติปัญญาตํา ้่ กว่าระดับปกติ ลูกทีเกิดมาจากแม่ทีมีโครโมโซมแบบนีอาจมี ( ความผิดปกติเช่นเดียวกับแม่
  • 68. 2.3 กลมอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's ุ่ syndrome) ในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็ น XXY หรือ XXXY จึงทําให้มโี ครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็ น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนันโครโมโซมจึงเป็ นแบบ ( 44+XXY หรือ 44+XXXY
  • 69. ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ (ไคลน์เฟลเตอร์) ลักษณะของผูปวย ในเพศชาย มี ้่ ลักษณะคล้ายเพศหญิง *สะโพกพาย *หน้าอกโตจะสูงมากกว่าชายปกติ *ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มอสุจิ เป็ นหมัน ี
  • 70. 2.ความผิดปกติทีเกิดกับโครโมโซมเพศ กลม Y ุ่ • ซ ูเปอร์เมน (Super men) ความผิดปกติทีเกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y เกินมาจากปกติ โครโมโซมเพศ จึงเป็ น แบบ XYY จึงทําให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็ น 47 โครโมโซมเป็ นแบบ 44+XYY
  • 71. ลักษณะของโครโมโซมและคนทีผิดปกติ (ซ ูเปอร์เมน ) ลักษณะของผูปวย ในเพศชาย ้่ *จะมีรปร่างสูงใหญ่กว่าปกติ ู *มีอารมณ์ราย โมโหง่าย ้ *บางรายมีจิตใจปกติ และไม่เป็ น หมัน
  • 72. โรคความผิดปกติทางพันธ ุกรรมได้แก่ • # โรคซีสติกไฟโบรซีส (Cystic fibrosis) เป็ นความผิดปกติที ทําให้ร่างกายสร้างเยือเมือกทีหนามากผิดปกติในปอดและลําไส้ ผูทีเป็ นโรค ้ นีจะหายใจลําบากเพราะปอดเต็มไปด้วยเยือเมือกหนาและอาจทําให้ปอดติด ( เชือเป็ นอันตรายจากแบคทีเรียทีเจริญเติบโตในเยือเมือกนัน ถ้าเยือเมือก ( ( หนาในลําไส้ทาให้ยอยอาหารได้ยากลําบาก ํ ่ สาเหตุ คือ การผ่าเหล่าในอัลลีลลักษณะด้อย อัลลีลทีก่อให้เกิดโรคนีพบ( มาก ในหมูคนทีมาจากยุโรปตอนเหนือ ่ • ปั จจุบนยังไม่มีทางใดทีจะรักษาโรคซีสติกไฟโบรซีสให้หายขาดได้ มีเพียง ั การบรรเทาโดยการใช้ยาเพือปองกันการติดเชือจากการทํากายภาพบําบัด ้ ( เพือสลายเยือเมือกในปอด
  • 73. • โรคซิกเกิลเซลล์ (Sickle-cell) เป็ นความผิดปกติทางพันธุกรรม ทีเกิดขึนกับเลือด ความผิดปกตินเี( กิดจากการผ่าเหล่าทีส่งผลกระทบต่อ ( การสังเคราะห์เฮโมโกลบิน ซึงเป็ นโปรตีนสําคัญทีทําหน้าทีนําออกซิเจน ภายในเซลล์เม็ดเลือดแดง • คนทีเป็ นโรคซิกเกิลเซลล์จะสร้างเฮโมโกลบินให้มรปร่างผิดปกติ เมือ ี ู ความเข้มข้นของออกซิเจนตํา เซลล์เม็ดเลือดแดงจะมีรปร่างผิดปกติเป็ น ู รูปเคียว ดังรูป
  • 74. • เมือเซลล์เม็ดเลือดแดงมีรปร่างแบบรูปเคียวจะไม่สามารถลําเลียง ู ออกซิเจนได้มากเท่ากับเซลล์เม็ดเลือดแดง ซึงมีรปร่างปกติ การที ู รูปร่างผิดปกติจะทําให้หลอดเลือดเกิดการอุดตัน คนทีเป็ นโรคนีตอง ( ้ ทุกข์ทรมานมากกับการขาดออกซิเจนในเลือด และอ่อนเพลียไม่คอยมี ่ แรง • ปั จจุบนยังไม่มีวิธีใดทีจะรักษาโรคซิกเกิลเซลล์ได้ บุคคลทีเป็ นโรคนีจะ ั ( ได้รบยาเพือช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดและปองกันการอุดตันของ ั ้ หลอดเลือดเท่านัน (
  • 75. • # โรคฮีโมฟเลีย (Hemophilia) คือ โรคทีเกิดจาก ิ ความผิดปกติทางพันธุกรรม ทําให้เลือดแข็งตัวได้ชามาก้ หรือไม่แข็งตัวเลย เพราะคนทีเป็ นโรคนีไ( ม่สามารถสร้างโปรตีน ชนิดทีจําเป็ นต่อการแข็งตัวของเลือดตามปกติได้ • คนทีเป็ นโรคนีถามีบาดแผลเลือดจะไหลไม่หยุดจะตายได้ ( ้ นอกจากนีการกระทบกระแทกเพียงเล็กน้อยก็อาจทําให้เกิด ( การฟกชําและมีอนตรายสูงจากการมีเลือดไหลภายในได้ ( ั • โรคฮีโมฟิ เลียเป็ นความผิดปกติเกียวเนืองกับเพศ ทําให้ผชาย ู้ เป็ นโรคนีมากกว่าผูหญิง ( ้
  • 76.
  • 77. โรคตาบอดสี • สาเหตุของตาบอดสีทีเป็ นมาแต่กาเนิด ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ํ โดยโครโมโซม X ทําให้เพศชายถ้ามีหน่วยพันธุกรรม X ทีทําให้ เกิดตาบอดสี ก็จะแสดงอาการของตาบอดสีออกมา ในขณะทีเพศ หญิงถ้าหน่วย X นีผดปกติเพียงหนึงหน่วย ก็ยงสามารถมองเห็น ( ิ ั ได้ปกติเห็นปกติได้ ถ้าหน่วย X อีกตัวหนึงไม่ทาให้เกิด ตาบอดสี ํ
  • 79. โรคเบาหวาน • 1 ปัจจัยเสียงต่อการเกิดโรคเบาหวาน มีอยู่ 2 อย่าง คือ ปั จจัย ทางด้านพันธุกรรม และปั จจัยทางสิงแวดล้อม • 1.1 ปัจจัยทางพันธ ุกรรม ขณะนียงไม่พบความผิดปกติของยีนตัวใด ( ั ตัวหนึงทีจะอธิบายการเกิดโรคเบาหวานได้ในผูป่วยทุกราย ้ • ปั จจัยทางพันธุกรรมทีมีการค้นพบในปั จจุบน คือ ั • การมี mutation ของ insulin พบว่าเป็ นสาเหตุของ โรคเบาหวาน ในผูป่วยเพียงส่วนน้อยเท่านัน ้ ( • ส่วน mutation ของยีนอืน ก็มในผูป่วยบางเชือชาติเท่านัน และไม่ใช่ ี ้ ( ( สาเหตุสาคัญในผูป่วยส่วนใหญ่ ํ ้ • ในปั จจุบนจึงยังไม่อาจชี(ชดถึงยีนทีทําให้เกิดโรคเบาหวานได้ อาจเป็ นไปได้ ั ั ว่าผูป่วย มีความผิดปกติของยีนหลายๆ ตัว ทีเกียวข้องกับการนํานําตาล ้ ( ไปใช้ให้เกิดพลังงาน
  • 80. • 1.2 ปัจจัยทีเกียวข้องกับสิงแวดล้อม พบว่า มีปัจจัยทีเกียวข้องกับ สิงแวดล้อมบางอย่างทีอาจเพิมอัตราเสียงต่อการเกิดโรคเบาหวานได้ • ปั จจัยเหล่านี( ได้แก่ ความอ้วน โดยเฉพาะ upper body obesity, การขาดการออกกําลังกาย,การเปลียนแปลงวิถีการ ดําเนินชีวิต โดยเฉพาะ การบริโภคอาหารประเภทไขมันในปริมาณสูง
  • 81. โรคธาลัสซีเมีย โรคธาลัสซีเมีย เกิดจากความผิดปกติของการสังเคราะห์ เฮโมโกลบินทีเกิดจากความเปลียนแปลงในอัตราการสร้างสาย โปรตีนโกลบิน การทีมีอตราการสร้างสายโกลบินชนิดหนึงๆ ั หรือหลายชนิดลดลงจะรบกวนการสร้างเฮโมโกลบินและทําให้ เกิดความไม่สมดุลในการสร้างสายโกลบินปกติอืน **แบ่งออกเป็ น 2 กลุมใหญ่ ได้แก่ แอลฟาธาลัสซีเมีย และ ่ เบต้าธาลัสซีเมีย • แอลฟาธาลัสซีเมีย เป็ นยีนด้อยทีอยูบนโครโมโซมคูที 16 ่ ่ • เบต้าธาลัสซีเมีย เป็ นยีนด้อยทีอยู่บนโครโมโซมคูที 11 ่
  • 82.
  • 85. เทคโนโลยีชีวภาพ ( Biotechnology) • เทคโนโลยีชีวภาพ ( Biotechnology) คือ การใช้ความรู้ เกียวกับสิงมีชีวิตและผลิตผลของสิงมีชีวิตให้เป็ นประโยชน์กบมนุษย์ ั ได้แก่ • ผงซักฟอกชนิดใหม่ทีมีเอนไซม์ • การทําปุ๋ ยไว้ใช้เองจากวัสดุเกษตรเหลือทิ(ง เช่น ฟางข้าว มูลสัตว์ • การขจัดปั ญหาสิงแวดล้อมเสือมโทรม เช่น ปั ญหานําทิ(งจากโรงงาน ( อุสาหกรรม โดยการนํานําเสียไปใช้ประโยชน์แทนทีจะปล่อยทิ(งให้เน่าเหม็น ( • รวมทังการถ่ายฝากตัวอ่อนสัตว์เพือให้ได้สตว์พนธุดไว้ใช้ดวยต้นทุนทีตํา ( ั ั ์ ี ้ กว่าเดิม
  • 86. เทคนิคทางพันธ ุวิศวกรรม ( Genetic engineering) • เทคนิคทางพันธ ุวิศวกรรม ( Genetic engineering) เป็ นการนํายีน หรือ ดี เอ็น เอ จากสิงมีชวิตต่างชนิดมาต่อเข้าด้วยกัน เพือให้แสดงลักษณะทาง ี พันธุกรรมทีต้องการออกมา ซึงมีวิธีการ ดังนี( 1. สกัด ดีเอ็นเอ ทีต้องการออกจากเซลล์ของสิงมีชวิต ี 2. ตัด ดีเอ็นเอ ทีไม่ตองการออกโดยใช้เอ็นไซม์ตดเฉพาะ (restriction ้ ั enzyme) คุณสมบัตตดสายดีเอ็นเอ ซึงเอ็นไซม์นนมีความจําเพาะต่อลําดับของเบสใน ิ ั ั( สาย ดีเอ็นเอ 3. เชือมต่อ ดีเอ็นเอ ทีตัดเข้ากับ ดีเอ็นเอ พาหะ (DNA vector) ซึงมีปลายสาย ทีต่อเชือมมีลาดับเบสเข้า คูกนได้ เพือทําให้เกิด ดีเอ็นเอ สายผสม โดยใช้เอ็นไซม์ดี เอ็น ํ ่ ั เอไลเกส (DNA ligase) 4. เพิมจํานวนดีเอ็นเอทีต้องการ โดยการนําชินส่วนดีเอ็นเอทีตัดต่อแล้ว ใส่เข้าไป ( ในเซลล์ของสิงมีชวิต (host cell) ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย เมือเพิม ี จํานวนเซลล์ให้มากขึนก็จะแสดงลักษณะทาง พันธุกรรมออกมาได้ ( 5. คัดเลือกหาเซลล์ของสิงมีชวิตทีจะได้รบดีเอ็นเอสายผสม ซึงจะแสดงออกมาโดย ี ั วิธีการตรวจสอบหาการสอดใส่ยีนทีต้องการในดีเอ็นเอพาหะ และมีสมบัตตามที ิ ต้องการไปผสมพันธุกน ์ ั
  • 89. การดัดแปลงทางพันธ ุกรรม • สิงมีชวิตทีได้รบการดัดแปลงพันธุกรรมโดยใช้เทคนิควิธีพนธุวิศวกรรมว่า ี ั ั สิงมีชวิตจีเอ็มโอ ซึงคําว่าจีเอ็มโอ (GMOs)มาจากคําว่า ี Genetically Modified Organisms • สําหรับสิงมีชวิตทีได้รบการดัดแปลงพันธุกรรมอาจเป็ นจุลินทรีย์ พืช หรือสัตว์ก็ได้ ี ั ถ้ามีการนําสิงมีชวิตดัดแปลงพันธุกรรมเหล่านีมาใช้ในขณะทียังมีชวิต อาจเรียกอีก ี ( ี อย่างได้ว่า แอลเอ็มโอ (LMOs) ซึงย่อมาจากคําว่า Living Modified Organisms • อย่างไรก็ตามการดัดแปลงพันธุกรรมโดยการใช้วิธีทางพันธุวิศวกรรมในสิงมีชวิตก็ ี ยังมีขอกําจัด เช่น ้ *ลักษณะบางอย่างของพืชถูกควบคุมด้วยยีนหลายตัวทีมีความแตกต่างกัน *สัตว์ไม่สามารถงอกใหม่ *ชินส่วนเพียงส่วนเดียวของร่างกายต้องใช้เวลานานในการเจริญเติบโต (
  • 91. ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ • การทําเด็กหลอดแก้ว เป็ นวิธีการรักษาผูมบตรยากทีเก่าแก่และทํากัน ้ ี ุ มากทีสุดในโลก • สําเร็จครังแรกในโลกเมือปี ค.ศ. 1978 ทีประเทศอังกฤษ ( • หลักการของเด็กหลอดแก้ว คือ การนําไข่และตัวสเปอร์มออกมาพบกัน เพือเกิดการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย ทําไมต้องปฏิสนธินอกร่างกาย ก็เพราะมีความผิดปกติบางอย่าง ทีขัดขวางหรือไม่เหมาะสมต่อการปฏิสนธิกน แบบธรรมชาติภายใน ั ร่างกาย เช่น ท่อนําไข่อดตัน หรือถูกตัดไป เยือบุโพรงมดลูกอยูผดที ุ ่ ิ พังผืดในอุงเชิงกราน เชืออสุจินอย หรือไม่แข็งแรง ในรายทีหาสาเหตุไม่ ้ ( ้ พบ
  • 92. • ขันตอนการทําเด็กหลอดแก้ว 6 1. ให้ยาฮอร์โมน เพือกระตุนให้ไข่สกหลาย ๆ ฟอง ้ ุ 2. ตรวจสอบและควบคุมการตอบสนองของรังไข่ให้เหมาะสม เพือ ปรับขนาดยาให้ถกต้อง ู 3. ดูดเก็บไข่ ซึงใช้เวลา 10 - 30 นาที โดยใช้ยาชาหรือยาระงับ ความรูสึก ้ 4. เก็บคัดเชืออสุจิในวันเดียวกับทีดูดเก็บไข่ ( 5. ทําการปฏิสนธิของไข่กบสเปริมในห้องปฏิบตการ นาน ั ั ิ ประมาณ 48 - 72 ชัวโมง 6. 6 การย้ายตัวอ่อนกลับเข้าสูโ่ พรงมดลูกเพือรอการฝังตัว 7. ตรวจสอบผลการตังครรภ์ ประมาณ 10-14 วัน หลังการใส่ ( ตัวอ่อน หล ุยส์บราวน์ เด็กหลอดแก้วคนแรก
  • 93. • การทํากิฟต์ การนําเซลล์สืบพันธุไ์ ปใส่ไว้ทีท่อนําไข่ หรือทีรูจกแพร่หลาย ้ั โดยทัวไปว่า กิฟต์ (GIFT) หมายถึง การนําเอาไข่และตัวอสุจิไปใส่ไว้ทีท่อนําไข่ เพือให้เกิดการปฏิสนธิหรือรวมตัวกันตามธรรมชาติ (เป็ นวิธีการทีสิ(นเปลืองค่าใช้จายและเวลาต่างๆ มาก นอกจากนัน ยังอาจเกิด ่ ( ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษาได้อีกด้วย) หลักการทํากิฟต์ คือนําไข่และอสุจิมารวมกัน และฉีดเข้าท่อนําไข่โดยผ่านทาง ปลายของท่อให้มการปฏิสนธิ การแบ่งตัวของตัวอ่อนและการฝังตัวเกิดขึนเองตาม ี ( ธรรมชาติ ขันตอนใหญ่ๆ ของการทํากิฟท์ แบ่งออกเป็น 3 ขันตอน ดังนี( 6 6 1. การนําไข่ออกมาจากรังไข่ 2. การเตรียมอสุจิ 3. การนําไข่และอสุจิมาใส่ไว้ทีท่อนําไข่ ภาพการฉีดอส ุจิทีท่อรังไข่
  • 94. • การผสมเทียมแบบไฮเทค (Intracytoplasmic Sperm Injection) เป็ นเทคโนโลยีชวภาพทีพัฒนามาจาก ี การผสมในหลอดแก้ว โดยการนําอสุจิเพียงเซลล์เดียวฉีดเข้าไป ในชัน ไซโตพลาสซึมของเซลไข่ ซึงวิธีนมโี อกาสสําเร็จ 68% ( ี( ภาพการฉีดอส ุจิเข้าในชันไซโทพลาซึม 6
  • 95. • การโคลน หมายถึงการสร้างสิงมีชวิตขึนมาใหม่ โดยไม่ได้อาศัย ี ( การปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุเ์ พศผู้ คือสเปิ ร์ม กับเซลล์สืบพันธุ์ เพศเมีย คือไข่ ซึงเป็ นการสืบพันธุตามปกติ แต่ใช้เซลล์ร่างกาย ์ (Somatic cell) ในการสร้างสิงมีชวิตขึนมาใหม่ ี (
  • 97. • การโคลนในพืชหรือการเพาะเลี6ยงเนื6อเยือพืช คือ • การนําเอาเซลล์หรือเนือเยือหรืออวัยวะบางส่วนของพืช เช่น ยอด ลําต้น ( ใบ ราก ส่วนต่าง ๆ ของดอกหรือส่วนของผล มาเลี(ยงบนอาหาร สังเคราะห์ ซึงมีทงอาหารกึงแข็งและอาหารเหลวในสภาพทีปลอดเชือ ั( ( • ประโยชน์ คือ • นําไปใช้ทางด้านปรับปรุงพันธุ์ • คัดเลือกพันธุพืชให้ได้พืชทีทนต่อโรค แมลง ยากําจัดวัชพืชหรือทนต่อ ์ ดินเค็ม • การขยายพันธุพืชให้ได้ประมาณมากในระยะเวลาอันรวดเร็ว ์ • ไม่กลายพันธุ์ การเก็บรักษาพันธุพืช และประหยัดเวลาแรงงาน ์ งบประมาณ
  • 98. • ขันตอนการเพาะเลี6ยงเนื6อเยือพืช ดังนี( 6 1.เพาะเลี(ยงเพือกระตุนให้ชนพืชเกิดยอดใหม่ ้ ิ( 2.เพาะเลี(ยงเพือกระตุนให้เกิดราก ้ 3.เพาะเลี(ยงเพือกระตุนให้ชนพืชจํานวนมาก ้ ิ( 4.เก็บรักษาเนือเยือไว้ทีห้องทีควบคุมอุณหภูมิ 24 องศาเซลเซียส มี ( ความเข้มแสง 2,000 ลักซ์ และให้แสงนาน 14 ชม./วัน 5.ย้ายปลูกและปรับสภาพต้นในวัสดุปลูกทีเป็ นขีเ( ถ้าแกลบ และเก็บรักษา ไว้ในห้องทีควบคุมอุณหภูมิ 24 องศาเซลเซียส 6. ย้ายปลูกลงถุงดําทีมีวสดุเพาะ ั
  • 99. • ต่อด้วยเรื อง ความหลากหลายของสิ งมีชีวิต