SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
บทที่ 2 วัตถุประสงค์และ 
องค์ประกอบของการจัด 
สัมมนา
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ 
สัมมนา 
• นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 270) ได้กล่าวว่า การสัมมนาโดย 
ทั่วไปมีวัตถุประสงค์ที่สำาคัญดังนี้ คือ 
1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์แก่ผเู้ข้าร่วม 
สมัมนา 
2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้เข้าสัมมนา 
ด้วยกัน และผู้เข้าสัมมนากับ 
วิทยากร 
3. เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหาหรือแนวทางปฏิบัติร่วมกัน 
4. เพื่อให้ได้แนวทางประกอบการตัดสินใจหรือกำาหนดนโยบาย 
บางประการ 
5. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ร่วมเข้าสัมมนานำาหลักวิธีการที่ได้เรียนรู้ไปใช้
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ 
สัมมนา(ต่อ) 
• การสัมมนาแต่ละครั้ง จะบรรลุวัตถุประสงคม์ากน้อยเพียง 
ใดนอกเหนือจากกระบวนการจัดสัมมนาและวิทยาการ 
แล้วสมาชิกผู้เข้าร่วมสัมมนา มีความสำาคญัมากเช่น 
เดียวกัน เพราะเปา้หมายที่เด่นชัดของการสมัมนาก็คือผู้ 
เข้าร่วมสัมมนาทุกคนต้องทำาหน้าที่เปน็ทั้งผู้ให้และผู้รับ 
คอืเป็นผู้ฟงัความคดิเห็นจากผเู้ข้าร่วมสมัมนาด้วยกัน และ 
ในขณะเดียวกันก็เปน็ผู้เสนอความคดิเห็นให้แก่กลุ่มด้วย 
ดังนั้นหัวใจของการสัมมนาจึงอยู่ที่ว่าสมาชิกทุกคนได้มี 
สว่นร่วม ได้แสดงความคิดเห็น และได้เสนอแนวคดิให้แก่ 
กลุ่มเป็นประการสำาคัญ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ 
สัมมนา(ต่อ) 
นอกจากนี้ สมพร ปันตระสตูร (2525 : 2) ยังได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของ 
การสัมมนาไว้ดังนี้ 
1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์แก่สัมมนาสมาชิก 
2. เพื่อให้สัมมนาสมาชิกได้มโีอกาสแสดงความคิดเห็น ความรู้ เพอื่ร่วมกัน 
แก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง 
3. เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจดำาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามความ 
เห็นของสัมมนาสมาชิกส่วนใหญ่ 
4. เพื่อการตัดสินใจหรือกำาหนดนโยบายในการปฏิบัติบางประการ 
ในการจัดสัมมนาแต่ละครั้งผู้จัดสัมมนาจะคาดหวังไว้ล่วงหน้าเสมอว่าจะนำา 
ผลจากการอภปิราย การสัมมนาเป็นแนวปฏบิัติในสิ่งทเี่ป็นปัญหาร่วมกัน 
ส่วนจะได้ผลลัพธ์ตรงหรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงใด 
ย่อมขึ้นอยกูั่บกระบวนการจัดสมัมนาเป็นสำาคัญ แต่อย่างน้อยการสัมมนา
องค์ประกอบของการสัมมนา 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) ได้กล่าวไว้ว่าการจัด 
สัมมนาแต่ละครั้งประกอบด้วย องค์ประกอบที่สำาคัญ 4 ประการ 
ดังนี้ 
1. องค์ประกอบด้านเนอื้หา ได้แก่ 
1.1 หัวข้อหรือเรื่องที่จัดสัมมนา 
1.2 จุดมุ่งหมายสำาคัญของการสัมมนา 
1.3 หัวข้อให้ความรู้ที่สัมพันธ์กับเรื่องที่จัดสัมมนาโดยวิธีการ 
บรรยายหรืออภิปราย 
1.4 กำาหนดการสัมมนา 
1.5 ผลที่ได้จากการสัมมนา
2. องค์ประกอบด้านบุคลากร คอืผู้ที่ 
เกี่ยวข้องกบัการสมัมนา ซึ่งประกอบด้วย 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1 ผจูั้ดการสัมมนา ได้แก่ บุคคลหรือคณะกรรมการ ซึ่งมีหน้าที่ 
จัดสัมมนาให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กำาหนดไว้ คณะกรรมการจัด 
สมัมนาอาจแบ่งออกเป็นฝ่ายๆ แต่ละฝ่ายมีหน้าที่ดังนี้ 
2.1.1 คณะกรรมการอำานวยการประกอบด้วยผู้บริหารในหน่วย 
งานเป็นผู้ทำาหน้าที่อำานวยการจัดการสัมมนาให้แก่คณะกรรมการ 
ฝ่ายต่างๆดังนี้ 
- กำาหนดนโยบายจัดสัมมนา 
- ตรวจสอบดูแลการดำาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายและแก้ 
ปัญหาที่มีความกระทบกระเทือนถึงนโยบาย 
- ให้คำาปรึกษาแก่คณะกรรมการดำาเนินการฝ่ายต่างๆ
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2 คณะกรรมการดำาเนินการจัดสัมมนา เป็นคณะกรรมการทำาหน้าที่ปฏิบัติการจัด 
สัมมนาให้เป็นไปตามนโยบายซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ดังนี้ 
2.1.2.1 ประธานและรองประธานจัดสัมมนา เป็นผู้ทำาหน้าที่ดำาเนินการจัดสัมมนาร่วมกับ 
คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ดังนี้ 
- วางแผนและดำาเนินการจัดทำาโครงการสัมมนา 
- จัดหาคณะกรรมการและแบ่งคณะกรรมการเป็นฝ่ายต่างๆ 
- ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆตลอดจนการจัดประชุมคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ 
- ตัดสินใจและแก้ปัญหาการดำาเนินการให้แก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ 
รองประธานมีหนน้าที่ช่วยเหลือตามที่ได้รบัมอบหมาย หรือ ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานใน 
กรณีที่ประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หรือลาออก
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 2.1.2.2 คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธาน 
กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ 
- ดำาเนินงานด้านธุรการทั่วไป 
- เตรียมวาระการประชุมร่วมกับประธานในการจัดสัมมนาออกหนังสือเชิญประชุม 
กรรมการฝ่ายต่างๆ ในนามประธานจัดสัมมนาและบันทึกการประชุมพร้อมทั้งอำานวย 
ความสะดวกให้แก่ผู้เข้าประชุม 
- บันทึกการบันยายอภปิรายและรายงานผลการประชุมกลมุ่ย่อยต่อที่ประชุมใหญ่ ใน 
ขณะสัมมนาและส่งมอบให้แก่ฝ่ายเอกสารเพื่อจัดพิมพ์และเผยแพร่ต่อไป 
- อำานวยความสะดวกต่างๆ ตลอดโครงการสัมมนา 
- ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ตามที่ประธานจัดสัมมนามอบหมาย 
- จัดทำาหนังสือเชิญวิทยากร หนังสือตอบขอบคุณและหนังสือเชิญแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วม 
ในพิธีเปิดและปิดการสัมมนา 
- จัดทำาหนังสือกล่าวรายงานของประธานจัดสัมมนาต่อประธานในพิธีเปิดและปิดการ 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280)
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.3 คณะกรรมการฝ่ายทะเบียน ประกอบด้วย ประธานกรรมการ รอง 
ประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้าทดีั่งนี้ 
- รวบรวมรายชื่อและจำานวนสมาชิกที่จะเข้าร่วมสัมมนา 
- เตรียมการลงทะเบียน จัดทำารายชอื่และป้ายชื่อสมาชิกทจี่ะเข้าสัมมนา 
- รับลงทะเบียน 
- สำารวจจำานวนของสมาชิกทลี่งทะเบียนจริง และแจกเอกสารสัมมนาโดย 
ประธานงานกับฝ่ายเอกสารฝ่ายเลขานุการ 
- แบ่งกลุ่มย่อยผู้เข้าสัมมนาในการประชุมกลุ่มย่อย
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.4 คณะกรรมการฝ่ายเอกสาร ประกอบด้วยประธานกรรมการ รอง 
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้าทดีั่งนี้ 
- จัดเตรียมเอกสาร และจดัทำาแฟ้มการสัมมนา 
- ร่วมกบัฝ่ายทะเบียน แจกเอกสารและแฟ้มแก่ผู้เข้าสัมมนาและแขกผู้มี 
เกียรติ 
- ประสานงานกับฝายเลขานุการ และฝ่ายทะเบียนเกี่ยวกบัเอกสารการ 
สัมมนาที่จะต้องนำามาจัดพิมพ์ 
- จัดพิมพ์เอกสารสรุปผลการสัมมนา และเผยแพร่
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 2.1.2.5 คณะกรรมการฝ่ายเหรัญญิก ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธาน 
กรรมการ กรรมการ กรรมการเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ 
- เตรียมเรื่องเกี่ยวกับงบประมาณและใบสำาคัญทางการเงิน 
- จัดเตรียมของที่ระลึกสำาหรับวิทยากรและผู้มีอุปการระคุณหรือเงินค่าตอบแทนสำาหรับ 
วิทยากร 
- ยืมเงินทดรองจ่ายสัมมนา จากหน่วยงานเจ้าของโครงการ 
- จัดทำาบัญชีเบิกจ่ายเงนิและวัสดุ ตลอดการสัมมนา 
- ติดต่อและประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ในเรื่องการเงนิและวัสดุ 
- ให้คำาปรึกษาในเรื่องการเงินและวัสดุแก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ 
- รับเงินค่าลงทะเบียนจากผู้เข้าสัมมนา และเก็บรักษาเงินด้วยความรอบคอบ 
- จัดทำารายงานสรุปผลการใช้จ่ายเงนิ เสนอต่อประธานและที่ประชุมตลอดจนการจัดเกบ็ 
หลักฐานต่างๆ เกี่ยวกบัการเงิน 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280)
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.6 คณะกรรมการฝ่ายพิธีการ ประกอบด้วยประธานกรรมการ รอง 
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการเลขานุการ มหีน้าที่ดังนี้ 
ประสานงานกบัฝ่ายสถานที่ จัดโต๊ะหมู่บูชาและเครื่องพิธีต่างๆ ในวันเปิดและ 
ปิดการสัมมนา 
- จัดเตรียมบุคคลจัดส่งเทยีนชนวนให้ประธานในพิธีเปิด เชิญพานแฟ้มกล่าว 
รายงานของประธานจัดสัมมนา และประธานในพิธีเปิดและปิดสัมมนา และ 
เชิญพานของทรี่ะลึกในพิธีมอบของทรี่ะลึกแก่วิทยากร และผู้มอีุปการคุณ 
- ทำาหน้าที่เป็นพิธีกร เพื่อเป็นสื่อกลางสำาหรับทกุฝ่ายตลอดการสัมมนา 
- ติดต่อขอประวัติละผลงานจากวิทยากร 
- กำากับรายการให้เป็นไปตามกำาหนดการสัมมนา
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.7 คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ประกอบด้วยประธาน 
กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้า 
ที่ดังนี้ 
- เตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ในการสัมมนา 
- ประสานกับฝ่ายทเี่กี่ยวข้องในการจดัสถานทรีั่บลงทะเบียน ห้องประชุม 
ใหญ่ หอ้งประชุมกลุ่มย่อย โต๊ะหมบูู่ชา โต๊ะหรือแทน่บรรยาย(podium) 
สำาหรับประธานในพิธี ประธานกล่าวรายงานและวิทยากร การจัดชุมรับแขก 
การจัดสถานที่รับประทานอาหาร 
- ควบคุมด้านแสงเสียง การบันทึกเสียง บันทกึภาพ 
- จัดสถานทพีั่ก และอำานวยความสะดวกต่างๆ แก่ผู้เข้าสัมมนา
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.8 คณะกรรมการฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ประกอบด้วยประธาน 
กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้า 
ที่ดังนี้ 
- ประสานงานกับฝ่ายเลขานุการ และฝ่ายทะเบียน เรื่องจำาวนผู้เข้าสัมมนา 
วิทยากรและแขกผู้มีเกียรติ 
- ประสานงานกับฝ่ายสถานที่ เรื่องสถานทสี่ำาหรับบริการอาหารและเครื่อง 
ดื่ม 
- เตรียมรายการในเรื่องอาหารและเครื่องดื่ม 
- จัดบริการอาหารและเครื่องดื่ม ใหแ้ก่วิทยากร แขกผู้มีเกียรติ และผู้เข้า 
สมัมนา ตลอดการสัมมนา
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.9 คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วย ประธาน 
กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและ 
เลขานุการมีหน้าที่ดังนี้ 
- ประชาสัมพันธ์การสัมมนา โดยผ่านทางสอื่สารมวลชน โปสเตอร์ 
แผ่นผ้าโฆษณา หรือสง่เอกสารถึงผู้สนใจโดยตรง 
- ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ เพื่อนำาข้อมูลมา 
ประชาสัมพันธ์ 
- ประชาสัมพันธ์เรื่องที่น่าสนใจ ให้ผเู้ข้าสัมมนาทราบในช่วง 
ระหว่างการสัมมนา 
- จัดกิจกรรมสันทนาการหรือสังสรรค์ในระหว่างการสัมมนา (ถ้ามี)
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.10 คณะกรรมการฝ่ายปฏิคม ประกอบด้วยประธานกรรมการ 
รองประธานกรรมการ กรรม กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ 
- ต้อนรับประธานในพิธี แขกผู้มีเกียรติ วิทยากร และผู้เข้าสัมมนา 
- อำานวยความสะดวกให้แก่ประธานในพิธี แขกผู้มีเกียรติ วิทยากร 
และผู้เข้าสัมมนา 
- ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ ฝ่ายทะเบียน ฝ่าย 
สถานที่ ฝ่ายยานพาหนะ ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.11 คณะกรรมการฝ่ายยานพาหนะ ประกอบด้วย ประธาน 
กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและ 
เลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ 
- จัดยานพาหนะและพนักงานขับรถยนต์ เพื่อให้บริการแก่ฝฝ่าย 
ต่างๆ ตั้งแต่ระยะเตรียมงานจนเสร็จสนิ้การสัมมนา 
- จัดให้มีรถสำารองไว้เป็นประจำาในภาวะฉุกเฉินตลอดการสัมมนา
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.12คณะกรรมการฝ่ายพยาบาล ประกอบด้วย ประธาน 
กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและ 
เลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ 
- เตรียมวัสดุอุปกรณ์การปฐมพยาบาลและยาไว้บริการแก่ผู้เข้า 
สมัมนา และผู้จัดการสมัมนาตลอดการจัดสัมมนา 
- ประสานงานกับฝ่ายยานพาหนะ และฝ่ายอื่นๆ
ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน 
การจัดสัมมนา (ต่อ) 
นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.1.2.13 คณะกรรมการฝ่ายประเมนิผล ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 
รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้าที่ดังนี้ 
- ออกแบบประเมินผล 
- ดำาเนินการรวบรวมข้อมูล 
- นำาข้อมูลมาวิเคราะห์ 
- สรุปและรายงานผล ต่อคณะกรรมการดำาเนินการและคณะกรรมการอำานวย 
การสัมมนา 
จำานวนคณะกรรมการดำาเนินการจัดสัมมนาแต่ละฝ่ายจะมีมากน้อยเพียงใด 
นนั้ใหพิ้จารณาตามความเหมาะสมของงาน และกำาลังบุคลากรซงึ่คณะ 
กรรมการบางคนอาจทำาหน้าทหี่ลายฝ่ายก็ย่อมเป็นไปได้ ซึ่งการแต่งตั้งให้ 
บุคลากรให้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการทั้งหมดจะต้องลงนามคำาสั่งแต่งตั้ง
วิทยากร 
นิรันดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) 
• 2.2 วิทยากร ได้แก่ บุคคลผู้ที่มาใหค้วามรู้และประสบการณ์แก่ผู้เข้า 
สมัมนา โดยทั่วไปวิทยากรจะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทมี่คีวามรู้ ความเชี่ยวชาญ 
ในเรื่องทเี่กี่ยวข้องกับการสมัมนา และเป็นผู้ที่มทีักษะทางการพูดหรือการ 
บรรยาย ตลอดจนการใช้เทคนิคต่างๆ ในเรื่องนนั้ๆ อันจะทำาให้ผู้เข้า 
สมัมนาเกิดความรู้ความเข้าใจ เจตคติ ความชำานาญ จนสามารถทจี่ะ 
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามววัตถุประสงค์ที่ต้องการได้ 
ประเภทของวิทยากร 
• วิทยากรถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทสำาคัญต่อการสัมมนาให้เป็นไปตาม 
วัตถุประสงค์ทกี่ำาหนดไว้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
ประเภทของวิทยากร(ต่อ) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.2.1 วิทยากรอาชีพ หมายถงึ บุคลากรทดี่ำารงตำาแหน่งเป็นวิทยากร 
โดยตรง สังกัดอยู่ในหน่วยงานฝึกอบรมหรืองานบุคคล วิทยากรอาชีพเหล่า 
นจี้ะมคีวามรู้ทางด้านการฝึกอบรม การสัมมนา และเนื้อหาทจี่ะบรรยายเป็น 
อย่างดี มกัจะมวีุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป วิทยากรอาชีพนี้จะ 
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “วิทยากรภายใน” เพราะปฏิบัติหน้าที่อยู่ภายในหน่วย 
งาน นั้นๆ ซึ่งจะมคีวามรู้ความเข้าใจ ตลอดจนเข้าใจถึงปัญหาต่างๆ ทเี่กดิ 
ขึ้นภายในองค์การเป็นอย่างดี และสามารถยกตัวอย่างประกอบการบรรยาย 
ได้อย่างชดัเจน แต่อาจจะมปีัญหาในเรื่องความเลื่อมใสศรัทธาในตัว 
วิทยากรอยู่บ้าง ทงั้นี้เพราะผู้เข้าสัมมนามกัรู้จักวิทยากรหรือบางคนอาจมี 
ความคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ทำาให้ทราบภมูิหลังของวิทยากร ดังนนั้วิทยากร 
ภายในจึงจำาเป็นต้องรู้จักวางตัว ตลอดจนบุคลิกและความสามารถของ 
วิทยากรแต่ละคนจะต้องปฏิบัติให้ดีที่สุด
ประเภทของวิทยานิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.2.2 วิทยากรเฉพาะกิจ หมายถึง วิทยากรทเี่ป็นบุคลากรทมี่คีวามชำานาญ 
งานด้านใดด้านหนึ่งทมี่ตีำาแหน่งหน้าทตี่ามสายงานนั้นๆ เช่น ความชำานาญ 
ทางด้านคอมพิวเตอร์ ด้านตรวจสอบบัญชี ด้านกฎหมาย ด้านสายการเงิน 
ด้านสุขภาพ เป็นต้น ข้อดีของวิทยากรเฉพาะกิจ คือเป็นผู้ที่มคีวามรู้ความ 
ชำานาญเฉพาะในเรื่องที่บรรยายเป็นอย่างดี และเข้าใจสภาพทเี่ป็นปัญหา 
ต่างๆ ภายในองค์การได้ดี แต่ข้อเสียกม็มีากเช่นเดียวกันก็คือ อาจจะขาด 
ทกัษะบรรยายหรือการถ่ายทอดความรู้ และอาจทำาให้งานประจำาที่ทำาอยู่เสีย 
หายได้ เพราะต้องขาดงานมาทำาหน้าที่วิทยากร นอกจากนกี้ารนำาเสนอแนว 
คิดใหมๆ่ อาจจะน้อยหรือมองปัญหาในมมุแคบ คือจะมงุนำาเสนองานทตี่น 
ปฏบิัติเป็นกิจวัตรประจำาวัน หรือบางทา่นทเี่ป็นผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อาวุโส 
ของหน่วยงานมาบรรยายก็จะออกมาในรูปของคำาสงั่ หรือคำาสั่งสอน หรือพูด 
ถงึประวัติในความสำาเร็จของตนมากเกินไป ทำาให้ผิดวัตถุประสงค์เรื่องที่ 
บรรยาย
ประเภทของวิทยากร(ต่อ) 
นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.2.3 วิทยากรรับเชิญ หรือเรียกว่า “วิทยากรภายนอก” ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 
ลกัษณะคือ 
2.2.3.1 วิทยากรอาชีพที่ยึดอาชีพการเป็นวิทยากรโดยตรงหลายท่านตั้งเป็น 
สำานักงานของตนเองขึ้นมาอย่างเป็นทางการ 
2.2.3.2 วิยากรที่มีงานประจำาอาจสังกัดอยู่ในสถาบันการศึกษา โรงพยาบาล ส่วน 
ราชการต่างๆ บริษัทห้างร้านหรือประกอบธุรกจิส่วนตัว ซึ่งมีตำาแหน่งหน้าที่การ 
งานเป็นหลักอยู่แล้ว แต่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์การเป็นวิทยากรที่ 
ดี จึงมักได้รับเชญิให้ไปเป็นวิทยากรให้แก่หน่วยงานต่างๆ ตลลอดเวลา การ 
ติดต่อกบัวิทยากรที่มีงานประจำาทำาอยู่นี้ อาจตามตัวได้ยากหรือมีปัญหาเรื่องเวลา 
เพราะแต่ละท่านมีภารกิจต้องปฏิบัติหน้าที่ในงานประจำาที่ตนทำาอยู่ ซึ่งการที่ 
วิทยากรลักษณะนี้จะออกไปเป็นวิทยาให้แกห่น่วยงานภายนอก จะต้องได้รับการ 
อนุญาตจากผู้บังคับบัญชาก่อน ถา้ผู้บังคับบัญชาเข้าใจ และให้การสนับสนุนก็จะ 
เป็นผลดีต่อสังคม โดยส่วนรวมแต่บางหน่วยงานผู้บังคับบัญชาไม่เห็นความสำาคัญ
วิทยากร(ต่อ) 
นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
การเชิญวิทยากรรับเชิญหรือวิทยากรภายนอกร่วมให้ความรู้ในการสัมมนา 
มขี้อดีข้อเสียหลายประการ ข้อดีคือมกัจะได้รับการยอมรับ เลื่อมใส ศรัทธา 
จากผู้เข้าสมัมนา โดยเฉพาะวิทยากรที่มชีื่อเสียงหรือมาจากสถานศึกษาหรือ 
หน่วยงานระดับแนวหน้าก็จะได้รับการยอมรับ เชื่อถือศรัทธามากขึ้น 
นอกจากนี้การนำาเสนอข้อคิดจากวิทยากรภายนอกจะมีความเป็นกลางไม่ 
อคติต่อคนใดคนหนงึ่หรือฝ่ายใดฝ่ายหนงึ่ โดยเฉพาะภายในองค์กร สำาหรับ 
ข้อเสียมหีลายประการ เช่น วิทยากรอาจไมท่ราบวัตถปุระสงค์ของการจัด 
สมัมนาในเรื่องนั้น ๆ อย่างแทจ้ริง ตัวอย่างไมชั่ดเจนหรือไมต่รงกับปัญหา 
ทแี่ท้จริง และบางครั้งวิทยากรอาจได้รับเชิญมาพูดในเรื่องทเี่ขาไมถ่นัด แต่ 
ที่ได้รับเชิญเพราะฝ่ายผู้จัดสัมมนาพิจารณาในแง่ความสามารถในการ 
ถ่ายทอดความรู้และมีชื่อเสียงโด่งดังของวิทยากรเท่านั้น
วิทยากร(ต่อ) 
นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
วิทยากรทั้ง 3 ประเภทตามที่กล่าวมาข้างต้นต่างมีข้อดีและข้อเสียแตกต่าง 
กนั ดังนั้นผู้จัดการสัมมนาสามารถพิจารณาเปรียบกันได้ แต่ทสี่ำาคัญสุดไม่ 
ว่าจะเป็นวิทยากรทอี่ยใู่นประเภทใด จำาเป็นต้องเป็นผู้มคีุณลักษณะทดีี่ ดัง 
ต่อไปนี้ 
1) เป็นผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการสัมมนา 
เป็นอย่างดี 
2) เป็นผู้ทมี่คีวามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ใหผู้้อื่น ๆเข้าใจได้ดี 
3) เป็นผู้ทมี่คีวามคิดก้าวไกล ทนัสมยัและใจกว้าง 
4) เป็นผู้ทมี่เีหตุผล มคีวามสามารถในการควบคุมอารมณ์ได้ดี 
5) เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
6) เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกว้างขวางในสังคมหรือแวดวงวิชาชีพ
สมาชิกผู้เข้าสัมมนา 
นิรนัดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) 
2.3 สมาชิกผเู้ข้าสมัมนา ผู้เข้าสัมมนาสว่นใหญ่มักเป็นบุคคลที่มี 
ความสนใจร่วมกัน ประสบปัญหาร่วมกันหรือต้องการแสดงความ 
คิดเห็นใหม่ร่วมกัน และที่ประสงค์ที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 
ถ่ายทอดความรู้ และหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ผเู้ข้าสัมมนา 
สว่นใหญ่มักเป็นผู้ปฏิบัติงานอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ ดังนนั้การ 
กำาหนดตัวบุคคลสง่เข้าร่วมสัมมนาหน่วยงานต่าง ๆ สามารถ 
พิจารณาได้หลายรูปแบบ ดังนี้
การพิจารณาสมาชิกผู้เข้าสัมมนา 
นิรันดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) 
2.3.1 พิจารณาตามสายบังคับบัญชาเป็นการพิจารณาบุคคลที่ส่งเข้าร่วมการ 
สมัมนาตั้งแต่ ระดับสายปฏบิัติการ ผู้บริหารระดับต้นหรือหวัหน้างาน ผู้ 
บริหารระดับกลางหวัหน้าฝ่ายและผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อำานวยการขึ้นไป 
ซึ่งในแต่ละระดับควรจัดส่งให้เข้ารับการสัมมนาในแต่ละหลักสูตรอย่างทั่วถึง 
2.3.2 พิจารณาตามนโยบายและความเหมาะสมของบุคลากร กำาหนดตัวผู้ 
เข้าร่วมสัมมนาลักษณะนขีึ้้นอยู่กบันโยบายของหน่วยงานเป็นสำาคัญ ตลอด 
จนลักษณะงานทบีุ่คลากรปฏบิัติอยู่ กล่าวคือถ้าหน่ายงานมนีโยบายขยาย 
งานหรือพัฒนางานทางด้านคอมพิวเตอร์การกำาหนดตัวผู้มีความเหมาะสมที่ 
ปฏิบัติงานด้านนี้ก็จะถูกส่งเข้าร่วมการสัมมนาในหลักสูตรทางด้านโดย 
เฉพาะ นอกจากนกี้ารกำาหนดตัวผู้ที่มคีวามเหมาะสมในงานเข้าร่วมสมัมนา 
อาจมองลึกลงไปถึงการที่สง่เข้าไปร่วมสัมมนาแล้ว จะต้องกลับมาถ่ายทอด 
ความรู้และประสบการณ์ให้แก่บุคลากรอื่นที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนาได้ 
ด้วย ค่าพาหนะสำาหรับวิทยากร ค่าอาหารและค่าเครื่องดื่ม ค่าจัดวัสดุจัดทำา 
เอกสาร ค่าดอกไมธู้ปเทียนในพิธีเปิด-ปิดการสัมมนา ค่าฟิล์มบันทกึภาพ
การพิจารณาสมาชิกผู้เข้าสัมมนา(ต่อ) 
นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
2.3.3 พิจารณาตามปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ด้วยการสมัมนา ใน 
กรณีภายในหน่วยงานเกิดปัญหาเกี่ยวกับการบริหารภายใน เช่น 
การขาดความร่วมมือประสานงานกัน การขาดความเข้าใจซึ่งกัน 
และกันหรือเกิดปัญหาบางอย่างสามารถแก้ไขด้วยการสัมมนาก็จะ 
กำาหนดตัว ผเู้ข้าสมัมนาในกลุ่มนั้น ๆ เพื่อจะได้เปิดโอกาสให้นำา 
ข้อคิดหรือเทคนิคต่าง ๆ ที่ได้รับจากการสมัมนามาช่วยแก้ปัญหา 
นั้น ๆ ให้น้อยลงหรือหมอสนิ้ไป 
2.3.4 กำาหนดโดยตัวผู้สนใจที่จะเข้ารวมการสัมมนา บางครั้งการ 
สมัมนาอาจจะมีหลักสูตรพิเศษที่ทุกคนสามารถที่จะเข้าร่วมได้ เช่น 
หลักสตูรการพัฒนาบุคลิกภาพการสร้างสัมพันธภาพในหน่วยงาน 
เป็นต้น ในกรณีเช่นนี้การกำาหนดตัวผเู้ข้าสมัมนาจึงขึ้นอยู่กับความ
องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ 
ประมาณ 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
3. องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบประมาณ สถานที่ 
อุปกรณ์ต่าง ๆที่จำาเป็นในการสัมมนาได้แก่ 
3.1 ห้องประชุมใหญ่ หมายถึง ห้องประชุมรวมที่ใช้พิธีเปิด-ปิดการ 
สมัมนาและใช้การบรรยายหรือภิปรายร่วมกัน ผู้จัดสัมมนาจะต้อง 
กำาหนดให้แน่นอนว่าจะใช้ห้องใดที่เหมาะสมและเพียงพอแก่ 
จำานวนผู้เข้าสัมมนา 
3.2 ห้องประชุมกลุ่มย่อย สำาหรับใช้ประชุมกลุ่มย่อยของผู้เข้า 
สัมมนาผู้จัดสัมมนาจะต้องวัดไว้ให้เพียงพอแก่จำานวนกลุ่มย่อยที่ 
จัดแบ่งไว้ และต้องแจ้งห้องประชุมให้ผเู้ข้าสมัมนาได้ทราบอย่าง 
ชัดเจน
องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ 
ประมาณ(ต่อ) 
นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
3.3 อุปกรณ์ด้านโสตทัศนศึกษา ได้แก่ เครื่องขยายสียง 
ไมโครโฟน ลำาโพง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เทปบันทึกเสียง 
วีดีทัศน์ และอุปกรณ์ด้านแสง-เสยีง อื่น ๆ ที่จำาเป็นต้องใช้ 
3.4 เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องโรเนียว หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง 
ถ่ายเอกสาร และวัสดุที่จำาเป็นในการจัดทำาเอกสารประกอบคำา 
บรรยาย 
3.5 อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ปากกาเขียนแผ่นใส ไวท์บอร์ด หรือ 
กระดานดำาเป็นต้น
องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ 
ประมาณ(ต่อ) 
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
3.6 เอกสารประกอบคำาบรรยายของวิทยากร ซงึ่โดยทวั่ไปวิทยากรมกัจะส่ง 
ไปให้ผู้จัดสัมมนาล่วงหน้า หรืออาจจะนำามาในวันสัมมนา ซงึ่ผู้จัดจะต้อง 
ถา่ยเอกสารแจกให้ผู้เข้าสัมมนา แต่ในกรณีที่วิทยากรไมไ่ด้สง่ให้ล่วงหน้า 
หรือไมไ่ด้จัดเตรียมมาใหใ้นวันสัมมนา ฝ่ายสัมมนากค็วรทำาเอกสารสรุปคำา 
บรรยายแจกให้ผู้เข้าสัมมนาหลังการบรรยายหรืออภิปรายเสร็จสิ้นลง 
3.7 งบประมาณ ในการสัมมนาแต่ละโครงการต้องใช้งบประมาณมากพอ 
สมควรทั้งนมี้กัขึ้นอยกูั่บจำานวนผู้เข้าร่วมสัมมนา ระยะเวลาและสถานที่จัด 
สมัมนาเป็นสำาคัญทมี่าของงบประมาณดำาเนินการมกัได้มาจากแหล่งต่าง ๆ 3 
แหล่งด้วยกนัคือ ค่าลงทะเบียนของสมาชิกเข้าร่วมสัมมนาเงินหนุนจาก 
หน่วยงานต้นสังกัด และเงินอุดหนุนจากภายนอก เช่น บุคคล บริษัท หา้ง 
ร้านสมาคม มลูนิธิ เป็นต้นสำาหรับค่าใช้จ่ายในการจดัสัมมนา โดยทวั่ไปจะ 
จ่ายเป็น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าพาหนะสำาหรับวิทยากร ค่าอาหารและ 
เครื่องดื่ม ค่าวัสดุจัดทำาเอกสาร ค่าดอกไมธู้ปเทยีนในพิธีเปิด – ปิด การ 
สมัมนา ค่าฟิล์มบันทกึภาพพร้อมค่าล้างอัด เป็นต้น
องค์ประกอบด้านเวลา 
นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 
4. องค์ประกอบด้านเวลา การกำาหนดเวลาสำาหรับการสัมมนาจะ 
มากน้อยพียงใดขึ้นอยู่กับหัวข้อหรือเรื่องที่จัดสมัมนาเป็นสำาคัญ 
บางเรื่องมีขอบเขตกว้างขวางแต่ใช้เวลาน้อย ก็จะทำาให้การ 
อภิปรายแสดงความคิดเห็นไม่ครอบคลุมตามเรื่องที่สัมมนาเท่าที่ 
ควร หรือบางเรื่องมีขอบเขตแคบเป็นเรื่องเฉพาะเจาะจงด้านใด 
ด้านหนึ่งโดยเฉพาะแต่ใช้เวลายาวนานก็จะทำาให้ผู้เข้าสัมมนาเบื่อ 
หน่าย ไม่สนใจเท่าที่ควรและสนิ้เปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่คุ้มกับ 
สาระที่ได้รับ และเมื่อมีเวลาเหลือมากอาจทำาให้สมาชิกอภิปราย 
แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ขยายวงกว้างออกไปจนไม่สามารถ 
ควบคุมได้ หรือเรื่องที่นำามาอภิปรายไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่นำามา 
สมัมนาเลย การสัมมนาโดยทั่วไปจะใช้เวลา 2-5 วัน ซึ่งถือว่าเป็น
HOME WORK :LESSON 2 
1)ปญัหาทพี่บโดยทวั่ไปขององคก์ารมีอะไรบา้ง จง 
อธิบาย? 
2)จงอธิบายปัจจัยความสำาเร็จของการจัดอบรม/สม 
มนา มาพอสงัเขป?

More Related Content

Similar to Lesson2 the purpose of the seminar

หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfSuphol Sutthiyutthasenee
 
กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552
กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552
กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552Pavit Tansakul
 
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนาผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนาAtivitt Crystalbell
 
Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง
Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูงPresentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง
Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูงNatepanna Yavirach
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตรระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตรhrd2doae
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Krudoremon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sippapas Wathanapinanachai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pee Petchruarn
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 

Similar to Lesson2 the purpose of the seminar (20)

หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552
กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552
กิจกรรมในชั้นเรียน Mice 3 2552
 
การนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุมการนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุม
 
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนาผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง
Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูงPresentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง
Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
369511
369511369511
369511
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
Seminar1
Seminar1Seminar1
Seminar1
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตรระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 

Lesson2 the purpose of the seminar

  • 1. บทที่ 2 วัตถุประสงค์และ องค์ประกอบของการจัด สัมมนา
  • 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ สัมมนา • นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 270) ได้กล่าวว่า การสัมมนาโดย ทั่วไปมีวัตถุประสงค์ที่สำาคัญดังนี้ คือ 1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์แก่ผเู้ข้าร่วม สมัมนา 2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้เข้าสัมมนา ด้วยกัน และผู้เข้าสัมมนากับ วิทยากร 3. เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหาหรือแนวทางปฏิบัติร่วมกัน 4. เพื่อให้ได้แนวทางประกอบการตัดสินใจหรือกำาหนดนโยบาย บางประการ 5. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ร่วมเข้าสัมมนานำาหลักวิธีการที่ได้เรียนรู้ไปใช้
  • 3. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ สัมมนา(ต่อ) • การสัมมนาแต่ละครั้ง จะบรรลุวัตถุประสงคม์ากน้อยเพียง ใดนอกเหนือจากกระบวนการจัดสัมมนาและวิทยาการ แล้วสมาชิกผู้เข้าร่วมสัมมนา มีความสำาคญัมากเช่น เดียวกัน เพราะเปา้หมายที่เด่นชัดของการสมัมนาก็คือผู้ เข้าร่วมสัมมนาทุกคนต้องทำาหน้าที่เปน็ทั้งผู้ให้และผู้รับ คอืเป็นผู้ฟงัความคดิเห็นจากผเู้ข้าร่วมสมัมนาด้วยกัน และ ในขณะเดียวกันก็เปน็ผู้เสนอความคดิเห็นให้แก่กลุ่มด้วย ดังนั้นหัวใจของการสัมมนาจึงอยู่ที่ว่าสมาชิกทุกคนได้มี สว่นร่วม ได้แสดงความคิดเห็น และได้เสนอแนวคดิให้แก่ กลุ่มเป็นประการสำาคัญ
  • 4. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ สัมมนา(ต่อ) นอกจากนี้ สมพร ปันตระสตูร (2525 : 2) ยังได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของ การสัมมนาไว้ดังนี้ 1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์แก่สัมมนาสมาชิก 2. เพื่อให้สัมมนาสมาชิกได้มโีอกาสแสดงความคิดเห็น ความรู้ เพอื่ร่วมกัน แก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง 3. เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจดำาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามความ เห็นของสัมมนาสมาชิกส่วนใหญ่ 4. เพื่อการตัดสินใจหรือกำาหนดนโยบายในการปฏิบัติบางประการ ในการจัดสัมมนาแต่ละครั้งผู้จัดสัมมนาจะคาดหวังไว้ล่วงหน้าเสมอว่าจะนำา ผลจากการอภปิราย การสัมมนาเป็นแนวปฏบิัติในสิ่งทเี่ป็นปัญหาร่วมกัน ส่วนจะได้ผลลัพธ์ตรงหรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยกูั่บกระบวนการจัดสมัมนาเป็นสำาคัญ แต่อย่างน้อยการสัมมนา
  • 5. องค์ประกอบของการสัมมนา นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) ได้กล่าวไว้ว่าการจัด สัมมนาแต่ละครั้งประกอบด้วย องค์ประกอบที่สำาคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. องค์ประกอบด้านเนอื้หา ได้แก่ 1.1 หัวข้อหรือเรื่องที่จัดสัมมนา 1.2 จุดมุ่งหมายสำาคัญของการสัมมนา 1.3 หัวข้อให้ความรู้ที่สัมพันธ์กับเรื่องที่จัดสัมมนาโดยวิธีการ บรรยายหรืออภิปราย 1.4 กำาหนดการสัมมนา 1.5 ผลที่ได้จากการสัมมนา
  • 6. 2. องค์ประกอบด้านบุคลากร คอืผู้ที่ เกี่ยวข้องกบัการสมัมนา ซึ่งประกอบด้วย นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1 ผจูั้ดการสัมมนา ได้แก่ บุคคลหรือคณะกรรมการ ซึ่งมีหน้าที่ จัดสัมมนาให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กำาหนดไว้ คณะกรรมการจัด สมัมนาอาจแบ่งออกเป็นฝ่ายๆ แต่ละฝ่ายมีหน้าที่ดังนี้ 2.1.1 คณะกรรมการอำานวยการประกอบด้วยผู้บริหารในหน่วย งานเป็นผู้ทำาหน้าที่อำานวยการจัดการสัมมนาให้แก่คณะกรรมการ ฝ่ายต่างๆดังนี้ - กำาหนดนโยบายจัดสัมมนา - ตรวจสอบดูแลการดำาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายและแก้ ปัญหาที่มีความกระทบกระเทือนถึงนโยบาย - ให้คำาปรึกษาแก่คณะกรรมการดำาเนินการฝ่ายต่างๆ
  • 7. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2 คณะกรรมการดำาเนินการจัดสัมมนา เป็นคณะกรรมการทำาหน้าที่ปฏิบัติการจัด สัมมนาให้เป็นไปตามนโยบายซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ดังนี้ 2.1.2.1 ประธานและรองประธานจัดสัมมนา เป็นผู้ทำาหน้าที่ดำาเนินการจัดสัมมนาร่วมกับ คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ดังนี้ - วางแผนและดำาเนินการจัดทำาโครงการสัมมนา - จัดหาคณะกรรมการและแบ่งคณะกรรมการเป็นฝ่ายต่างๆ - ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆตลอดจนการจัดประชุมคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ - ตัดสินใจและแก้ปัญหาการดำาเนินการให้แก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ รองประธานมีหนน้าที่ช่วยเหลือตามที่ได้รบัมอบหมาย หรือ ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานใน กรณีที่ประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หรือลาออก
  • 8. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) 2.1.2.2 คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - ดำาเนินงานด้านธุรการทั่วไป - เตรียมวาระการประชุมร่วมกับประธานในการจัดสัมมนาออกหนังสือเชิญประชุม กรรมการฝ่ายต่างๆ ในนามประธานจัดสัมมนาและบันทึกการประชุมพร้อมทั้งอำานวย ความสะดวกให้แก่ผู้เข้าประชุม - บันทึกการบันยายอภปิรายและรายงานผลการประชุมกลมุ่ย่อยต่อที่ประชุมใหญ่ ใน ขณะสัมมนาและส่งมอบให้แก่ฝ่ายเอกสารเพื่อจัดพิมพ์และเผยแพร่ต่อไป - อำานวยความสะดวกต่างๆ ตลอดโครงการสัมมนา - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ตามที่ประธานจัดสัมมนามอบหมาย - จัดทำาหนังสือเชิญวิทยากร หนังสือตอบขอบคุณและหนังสือเชิญแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วม ในพิธีเปิดและปิดการสัมมนา - จัดทำาหนังสือกล่าวรายงานของประธานจัดสัมมนาต่อประธานในพิธีเปิดและปิดการ นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280)
  • 9. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.3 คณะกรรมการฝ่ายทะเบียน ประกอบด้วย ประธานกรรมการ รอง ประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้าทดีั่งนี้ - รวบรวมรายชื่อและจำานวนสมาชิกที่จะเข้าร่วมสัมมนา - เตรียมการลงทะเบียน จัดทำารายชอื่และป้ายชื่อสมาชิกทจี่ะเข้าสัมมนา - รับลงทะเบียน - สำารวจจำานวนของสมาชิกทลี่งทะเบียนจริง และแจกเอกสารสัมมนาโดย ประธานงานกับฝ่ายเอกสารฝ่ายเลขานุการ - แบ่งกลุ่มย่อยผู้เข้าสัมมนาในการประชุมกลุ่มย่อย
  • 10. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.4 คณะกรรมการฝ่ายเอกสาร ประกอบด้วยประธานกรรมการ รอง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้าทดีั่งนี้ - จัดเตรียมเอกสาร และจดัทำาแฟ้มการสัมมนา - ร่วมกบัฝ่ายทะเบียน แจกเอกสารและแฟ้มแก่ผู้เข้าสัมมนาและแขกผู้มี เกียรติ - ประสานงานกับฝายเลขานุการ และฝ่ายทะเบียนเกี่ยวกบัเอกสารการ สัมมนาที่จะต้องนำามาจัดพิมพ์ - จัดพิมพ์เอกสารสรุปผลการสัมมนา และเผยแพร่
  • 11. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) 2.1.2.5 คณะกรรมการฝ่ายเหรัญญิก ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - เตรียมเรื่องเกี่ยวกับงบประมาณและใบสำาคัญทางการเงิน - จัดเตรียมของที่ระลึกสำาหรับวิทยากรและผู้มีอุปการระคุณหรือเงินค่าตอบแทนสำาหรับ วิทยากร - ยืมเงินทดรองจ่ายสัมมนา จากหน่วยงานเจ้าของโครงการ - จัดทำาบัญชีเบิกจ่ายเงนิและวัสดุ ตลอดการสัมมนา - ติดต่อและประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ในเรื่องการเงนิและวัสดุ - ให้คำาปรึกษาในเรื่องการเงินและวัสดุแก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ - รับเงินค่าลงทะเบียนจากผู้เข้าสัมมนา และเก็บรักษาเงินด้วยความรอบคอบ - จัดทำารายงานสรุปผลการใช้จ่ายเงนิ เสนอต่อประธานและที่ประชุมตลอดจนการจัดเกบ็ หลักฐานต่างๆ เกี่ยวกบัการเงิน นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280)
  • 12. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.6 คณะกรรมการฝ่ายพิธีการ ประกอบด้วยประธานกรรมการ รอง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการเลขานุการ มหีน้าที่ดังนี้ ประสานงานกบัฝ่ายสถานที่ จัดโต๊ะหมู่บูชาและเครื่องพิธีต่างๆ ในวันเปิดและ ปิดการสัมมนา - จัดเตรียมบุคคลจัดส่งเทยีนชนวนให้ประธานในพิธีเปิด เชิญพานแฟ้มกล่าว รายงานของประธานจัดสัมมนา และประธานในพิธีเปิดและปิดสัมมนา และ เชิญพานของทรี่ะลึกในพิธีมอบของทรี่ะลึกแก่วิทยากร และผู้มอีุปการคุณ - ทำาหน้าที่เป็นพิธีกร เพื่อเป็นสื่อกลางสำาหรับทกุฝ่ายตลอดการสัมมนา - ติดต่อขอประวัติละผลงานจากวิทยากร - กำากับรายการให้เป็นไปตามกำาหนดการสัมมนา
  • 13. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.7 คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ประกอบด้วยประธาน กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้า ที่ดังนี้ - เตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ในการสัมมนา - ประสานกับฝ่ายทเี่กี่ยวข้องในการจดัสถานทรีั่บลงทะเบียน ห้องประชุม ใหญ่ หอ้งประชุมกลุ่มย่อย โต๊ะหมบูู่ชา โต๊ะหรือแทน่บรรยาย(podium) สำาหรับประธานในพิธี ประธานกล่าวรายงานและวิทยากร การจัดชุมรับแขก การจัดสถานที่รับประทานอาหาร - ควบคุมด้านแสงเสียง การบันทึกเสียง บันทกึภาพ - จัดสถานทพีั่ก และอำานวยความสะดวกต่างๆ แก่ผู้เข้าสัมมนา
  • 14. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.8 คณะกรรมการฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ประกอบด้วยประธาน กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้า ที่ดังนี้ - ประสานงานกับฝ่ายเลขานุการ และฝ่ายทะเบียน เรื่องจำาวนผู้เข้าสัมมนา วิทยากรและแขกผู้มีเกียรติ - ประสานงานกับฝ่ายสถานที่ เรื่องสถานทสี่ำาหรับบริการอาหารและเครื่อง ดื่ม - เตรียมรายการในเรื่องอาหารและเครื่องดื่ม - จัดบริการอาหารและเครื่องดื่ม ใหแ้ก่วิทยากร แขกผู้มีเกียรติ และผู้เข้า สมัมนา ตลอดการสัมมนา
  • 15. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.9 คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วย ประธาน กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการมีหน้าที่ดังนี้ - ประชาสัมพันธ์การสัมมนา โดยผ่านทางสอื่สารมวลชน โปสเตอร์ แผ่นผ้าโฆษณา หรือสง่เอกสารถึงผู้สนใจโดยตรง - ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ เพื่อนำาข้อมูลมา ประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์เรื่องที่น่าสนใจ ให้ผเู้ข้าสัมมนาทราบในช่วง ระหว่างการสัมมนา - จัดกิจกรรมสันทนาการหรือสังสรรค์ในระหว่างการสัมมนา (ถ้ามี)
  • 16. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.10 คณะกรรมการฝ่ายปฏิคม ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรม กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - ต้อนรับประธานในพิธี แขกผู้มีเกียรติ วิทยากร และผู้เข้าสัมมนา - อำานวยความสะดวกให้แก่ประธานในพิธี แขกผู้มีเกียรติ วิทยากร และผู้เข้าสัมมนา - ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ ฝ่ายทะเบียน ฝ่าย สถานที่ ฝ่ายยานพาหนะ ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม
  • 17. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.11 คณะกรรมการฝ่ายยานพาหนะ ประกอบด้วย ประธาน กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - จัดยานพาหนะและพนักงานขับรถยนต์ เพื่อให้บริการแก่ฝฝ่าย ต่างๆ ตั้งแต่ระยะเตรียมงานจนเสร็จสนิ้การสัมมนา - จัดให้มีรถสำารองไว้เป็นประจำาในภาวะฉุกเฉินตลอดการสัมมนา
  • 18. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.12คณะกรรมการฝ่ายพยาบาล ประกอบด้วย ประธาน กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - เตรียมวัสดุอุปกรณ์การปฐมพยาบาลและยาไว้บริการแก่ผู้เข้า สมัมนา และผู้จัดการสมัมนาตลอดการจัดสัมมนา - ประสานงานกับฝ่ายยานพาหนะ และฝ่ายอื่นๆ
  • 19. ผู้จัดการสัมมนา ,คณะกรรมการดำาเนิน การจัดสัมมนา (ต่อ) นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.1.2.13 คณะกรรมการฝ่ายประเมนิผล ประกอบด้วย ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มหีน้าที่ดังนี้ - ออกแบบประเมินผล - ดำาเนินการรวบรวมข้อมูล - นำาข้อมูลมาวิเคราะห์ - สรุปและรายงานผล ต่อคณะกรรมการดำาเนินการและคณะกรรมการอำานวย การสัมมนา จำานวนคณะกรรมการดำาเนินการจัดสัมมนาแต่ละฝ่ายจะมีมากน้อยเพียงใด นนั้ใหพิ้จารณาตามความเหมาะสมของงาน และกำาลังบุคลากรซงึ่คณะ กรรมการบางคนอาจทำาหน้าทหี่ลายฝ่ายก็ย่อมเป็นไปได้ ซึ่งการแต่งตั้งให้ บุคลากรให้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการทั้งหมดจะต้องลงนามคำาสั่งแต่งตั้ง
  • 20. วิทยากร นิรันดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) • 2.2 วิทยากร ได้แก่ บุคคลผู้ที่มาใหค้วามรู้และประสบการณ์แก่ผู้เข้า สมัมนา โดยทั่วไปวิทยากรจะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทมี่คีวามรู้ ความเชี่ยวชาญ ในเรื่องทเี่กี่ยวข้องกับการสมัมนา และเป็นผู้ที่มทีักษะทางการพูดหรือการ บรรยาย ตลอดจนการใช้เทคนิคต่างๆ ในเรื่องนนั้ๆ อันจะทำาให้ผู้เข้า สมัมนาเกิดความรู้ความเข้าใจ เจตคติ ความชำานาญ จนสามารถทจี่ะ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามววัตถุประสงค์ที่ต้องการได้ ประเภทของวิทยากร • วิทยากรถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทสำาคัญต่อการสัมมนาให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ทกี่ำาหนดไว้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
  • 21. ประเภทของวิทยากร(ต่อ) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.2.1 วิทยากรอาชีพ หมายถงึ บุคลากรทดี่ำารงตำาแหน่งเป็นวิทยากร โดยตรง สังกัดอยู่ในหน่วยงานฝึกอบรมหรืองานบุคคล วิทยากรอาชีพเหล่า นจี้ะมคีวามรู้ทางด้านการฝึกอบรม การสัมมนา และเนื้อหาทจี่ะบรรยายเป็น อย่างดี มกัจะมวีุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป วิทยากรอาชีพนี้จะ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “วิทยากรภายใน” เพราะปฏิบัติหน้าที่อยู่ภายในหน่วย งาน นั้นๆ ซึ่งจะมคีวามรู้ความเข้าใจ ตลอดจนเข้าใจถึงปัญหาต่างๆ ทเี่กดิ ขึ้นภายในองค์การเป็นอย่างดี และสามารถยกตัวอย่างประกอบการบรรยาย ได้อย่างชดัเจน แต่อาจจะมปีัญหาในเรื่องความเลื่อมใสศรัทธาในตัว วิทยากรอยู่บ้าง ทงั้นี้เพราะผู้เข้าสัมมนามกัรู้จักวิทยากรหรือบางคนอาจมี ความคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ทำาให้ทราบภมูิหลังของวิทยากร ดังนนั้วิทยากร ภายในจึงจำาเป็นต้องรู้จักวางตัว ตลอดจนบุคลิกและความสามารถของ วิทยากรแต่ละคนจะต้องปฏิบัติให้ดีที่สุด
  • 22. ประเภทของวิทยานิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.2.2 วิทยากรเฉพาะกิจ หมายถึง วิทยากรทเี่ป็นบุคลากรทมี่คีวามชำานาญ งานด้านใดด้านหนึ่งทมี่ตีำาแหน่งหน้าทตี่ามสายงานนั้นๆ เช่น ความชำานาญ ทางด้านคอมพิวเตอร์ ด้านตรวจสอบบัญชี ด้านกฎหมาย ด้านสายการเงิน ด้านสุขภาพ เป็นต้น ข้อดีของวิทยากรเฉพาะกิจ คือเป็นผู้ที่มคีวามรู้ความ ชำานาญเฉพาะในเรื่องที่บรรยายเป็นอย่างดี และเข้าใจสภาพทเี่ป็นปัญหา ต่างๆ ภายในองค์การได้ดี แต่ข้อเสียกม็มีากเช่นเดียวกันก็คือ อาจจะขาด ทกัษะบรรยายหรือการถ่ายทอดความรู้ และอาจทำาให้งานประจำาที่ทำาอยู่เสีย หายได้ เพราะต้องขาดงานมาทำาหน้าที่วิทยากร นอกจากนกี้ารนำาเสนอแนว คิดใหมๆ่ อาจจะน้อยหรือมองปัญหาในมมุแคบ คือจะมงุนำาเสนองานทตี่น ปฏบิัติเป็นกิจวัตรประจำาวัน หรือบางทา่นทเี่ป็นผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อาวุโส ของหน่วยงานมาบรรยายก็จะออกมาในรูปของคำาสงั่ หรือคำาสั่งสอน หรือพูด ถงึประวัติในความสำาเร็จของตนมากเกินไป ทำาให้ผิดวัตถุประสงค์เรื่องที่ บรรยาย
  • 23. ประเภทของวิทยากร(ต่อ) นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.2.3 วิทยากรรับเชิญ หรือเรียกว่า “วิทยากรภายนอก” ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ลกัษณะคือ 2.2.3.1 วิทยากรอาชีพที่ยึดอาชีพการเป็นวิทยากรโดยตรงหลายท่านตั้งเป็น สำานักงานของตนเองขึ้นมาอย่างเป็นทางการ 2.2.3.2 วิยากรที่มีงานประจำาอาจสังกัดอยู่ในสถาบันการศึกษา โรงพยาบาล ส่วน ราชการต่างๆ บริษัทห้างร้านหรือประกอบธุรกจิส่วนตัว ซึ่งมีตำาแหน่งหน้าที่การ งานเป็นหลักอยู่แล้ว แต่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์การเป็นวิทยากรที่ ดี จึงมักได้รับเชญิให้ไปเป็นวิทยากรให้แก่หน่วยงานต่างๆ ตลลอดเวลา การ ติดต่อกบัวิทยากรที่มีงานประจำาทำาอยู่นี้ อาจตามตัวได้ยากหรือมีปัญหาเรื่องเวลา เพราะแต่ละท่านมีภารกิจต้องปฏิบัติหน้าที่ในงานประจำาที่ตนทำาอยู่ ซึ่งการที่ วิทยากรลักษณะนี้จะออกไปเป็นวิทยาให้แกห่น่วยงานภายนอก จะต้องได้รับการ อนุญาตจากผู้บังคับบัญชาก่อน ถา้ผู้บังคับบัญชาเข้าใจ และให้การสนับสนุนก็จะ เป็นผลดีต่อสังคม โดยส่วนรวมแต่บางหน่วยงานผู้บังคับบัญชาไม่เห็นความสำาคัญ
  • 24. วิทยากร(ต่อ) นิรนัดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) การเชิญวิทยากรรับเชิญหรือวิทยากรภายนอกร่วมให้ความรู้ในการสัมมนา มขี้อดีข้อเสียหลายประการ ข้อดีคือมกัจะได้รับการยอมรับ เลื่อมใส ศรัทธา จากผู้เข้าสมัมนา โดยเฉพาะวิทยากรที่มชีื่อเสียงหรือมาจากสถานศึกษาหรือ หน่วยงานระดับแนวหน้าก็จะได้รับการยอมรับ เชื่อถือศรัทธามากขึ้น นอกจากนี้การนำาเสนอข้อคิดจากวิทยากรภายนอกจะมีความเป็นกลางไม่ อคติต่อคนใดคนหนงึ่หรือฝ่ายใดฝ่ายหนงึ่ โดยเฉพาะภายในองค์กร สำาหรับ ข้อเสียมหีลายประการ เช่น วิทยากรอาจไมท่ราบวัตถปุระสงค์ของการจัด สมัมนาในเรื่องนั้น ๆ อย่างแทจ้ริง ตัวอย่างไมชั่ดเจนหรือไมต่รงกับปัญหา ทแี่ท้จริง และบางครั้งวิทยากรอาจได้รับเชิญมาพูดในเรื่องทเี่ขาไมถ่นัด แต่ ที่ได้รับเชิญเพราะฝ่ายผู้จัดสัมมนาพิจารณาในแง่ความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้และมีชื่อเสียงโด่งดังของวิทยากรเท่านั้น
  • 25. วิทยากร(ต่อ) นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) วิทยากรทั้ง 3 ประเภทตามที่กล่าวมาข้างต้นต่างมีข้อดีและข้อเสียแตกต่าง กนั ดังนั้นผู้จัดการสัมมนาสามารถพิจารณาเปรียบกันได้ แต่ทสี่ำาคัญสุดไม่ ว่าจะเป็นวิทยากรทอี่ยใู่นประเภทใด จำาเป็นต้องเป็นผู้มคีุณลักษณะทดีี่ ดัง ต่อไปนี้ 1) เป็นผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการสัมมนา เป็นอย่างดี 2) เป็นผู้ทมี่คีวามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ใหผู้้อื่น ๆเข้าใจได้ดี 3) เป็นผู้ทมี่คีวามคิดก้าวไกล ทนัสมยัและใจกว้าง 4) เป็นผู้ทมี่เีหตุผล มคีวามสามารถในการควบคุมอารมณ์ได้ดี 5) เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 6) เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกว้างขวางในสังคมหรือแวดวงวิชาชีพ
  • 26. สมาชิกผู้เข้าสัมมนา นิรนัดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) 2.3 สมาชิกผเู้ข้าสมัมนา ผู้เข้าสัมมนาสว่นใหญ่มักเป็นบุคคลที่มี ความสนใจร่วมกัน ประสบปัญหาร่วมกันหรือต้องการแสดงความ คิดเห็นใหม่ร่วมกัน และที่ประสงค์ที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ถ่ายทอดความรู้ และหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ผเู้ข้าสัมมนา สว่นใหญ่มักเป็นผู้ปฏิบัติงานอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ ดังนนั้การ กำาหนดตัวบุคคลสง่เข้าร่วมสัมมนาหน่วยงานต่าง ๆ สามารถ พิจารณาได้หลายรูปแบบ ดังนี้
  • 27. การพิจารณาสมาชิกผู้เข้าสัมมนา นิรันดร์ จลุทรพัย์ (2547 : 271 - 280) 2.3.1 พิจารณาตามสายบังคับบัญชาเป็นการพิจารณาบุคคลที่ส่งเข้าร่วมการ สมัมนาตั้งแต่ ระดับสายปฏบิัติการ ผู้บริหารระดับต้นหรือหวัหน้างาน ผู้ บริหารระดับกลางหวัหน้าฝ่ายและผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อำานวยการขึ้นไป ซึ่งในแต่ละระดับควรจัดส่งให้เข้ารับการสัมมนาในแต่ละหลักสูตรอย่างทั่วถึง 2.3.2 พิจารณาตามนโยบายและความเหมาะสมของบุคลากร กำาหนดตัวผู้ เข้าร่วมสัมมนาลักษณะนขีึ้้นอยู่กบันโยบายของหน่วยงานเป็นสำาคัญ ตลอด จนลักษณะงานทบีุ่คลากรปฏบิัติอยู่ กล่าวคือถ้าหน่ายงานมนีโยบายขยาย งานหรือพัฒนางานทางด้านคอมพิวเตอร์การกำาหนดตัวผู้มีความเหมาะสมที่ ปฏิบัติงานด้านนี้ก็จะถูกส่งเข้าร่วมการสัมมนาในหลักสูตรทางด้านโดย เฉพาะ นอกจากนกี้ารกำาหนดตัวผู้ที่มคีวามเหมาะสมในงานเข้าร่วมสมัมนา อาจมองลึกลงไปถึงการที่สง่เข้าไปร่วมสัมมนาแล้ว จะต้องกลับมาถ่ายทอด ความรู้และประสบการณ์ให้แก่บุคลากรอื่นที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนาได้ ด้วย ค่าพาหนะสำาหรับวิทยากร ค่าอาหารและค่าเครื่องดื่ม ค่าจัดวัสดุจัดทำา เอกสาร ค่าดอกไมธู้ปเทียนในพิธีเปิด-ปิดการสัมมนา ค่าฟิล์มบันทกึภาพ
  • 28. การพิจารณาสมาชิกผู้เข้าสัมมนา(ต่อ) นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 2.3.3 พิจารณาตามปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ด้วยการสมัมนา ใน กรณีภายในหน่วยงานเกิดปัญหาเกี่ยวกับการบริหารภายใน เช่น การขาดความร่วมมือประสานงานกัน การขาดความเข้าใจซึ่งกัน และกันหรือเกิดปัญหาบางอย่างสามารถแก้ไขด้วยการสัมมนาก็จะ กำาหนดตัว ผเู้ข้าสมัมนาในกลุ่มนั้น ๆ เพื่อจะได้เปิดโอกาสให้นำา ข้อคิดหรือเทคนิคต่าง ๆ ที่ได้รับจากการสมัมนามาช่วยแก้ปัญหา นั้น ๆ ให้น้อยลงหรือหมอสนิ้ไป 2.3.4 กำาหนดโดยตัวผู้สนใจที่จะเข้ารวมการสัมมนา บางครั้งการ สมัมนาอาจจะมีหลักสูตรพิเศษที่ทุกคนสามารถที่จะเข้าร่วมได้ เช่น หลักสตูรการพัฒนาบุคลิกภาพการสร้างสัมพันธภาพในหน่วยงาน เป็นต้น ในกรณีเช่นนี้การกำาหนดตัวผเู้ข้าสมัมนาจึงขึ้นอยู่กับความ
  • 29. องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ ประมาณ นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 3. องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบประมาณ สถานที่ อุปกรณ์ต่าง ๆที่จำาเป็นในการสัมมนาได้แก่ 3.1 ห้องประชุมใหญ่ หมายถึง ห้องประชุมรวมที่ใช้พิธีเปิด-ปิดการ สมัมนาและใช้การบรรยายหรือภิปรายร่วมกัน ผู้จัดสัมมนาจะต้อง กำาหนดให้แน่นอนว่าจะใช้ห้องใดที่เหมาะสมและเพียงพอแก่ จำานวนผู้เข้าสัมมนา 3.2 ห้องประชุมกลุ่มย่อย สำาหรับใช้ประชุมกลุ่มย่อยของผู้เข้า สัมมนาผู้จัดสัมมนาจะต้องวัดไว้ให้เพียงพอแก่จำานวนกลุ่มย่อยที่ จัดแบ่งไว้ และต้องแจ้งห้องประชุมให้ผเู้ข้าสมัมนาได้ทราบอย่าง ชัดเจน
  • 30. องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ ประมาณ(ต่อ) นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 3.3 อุปกรณ์ด้านโสตทัศนศึกษา ได้แก่ เครื่องขยายสียง ไมโครโฟน ลำาโพง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เทปบันทึกเสียง วีดีทัศน์ และอุปกรณ์ด้านแสง-เสยีง อื่น ๆ ที่จำาเป็นต้องใช้ 3.4 เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องโรเนียว หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง ถ่ายเอกสาร และวัสดุที่จำาเป็นในการจัดทำาเอกสารประกอบคำา บรรยาย 3.5 อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ปากกาเขียนแผ่นใส ไวท์บอร์ด หรือ กระดานดำาเป็นต้น
  • 31. องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ ประมาณ(ต่อ) นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 3.6 เอกสารประกอบคำาบรรยายของวิทยากร ซงึ่โดยทวั่ไปวิทยากรมกัจะส่ง ไปให้ผู้จัดสัมมนาล่วงหน้า หรืออาจจะนำามาในวันสัมมนา ซงึ่ผู้จัดจะต้อง ถา่ยเอกสารแจกให้ผู้เข้าสัมมนา แต่ในกรณีที่วิทยากรไมไ่ด้สง่ให้ล่วงหน้า หรือไมไ่ด้จัดเตรียมมาใหใ้นวันสัมมนา ฝ่ายสัมมนากค็วรทำาเอกสารสรุปคำา บรรยายแจกให้ผู้เข้าสัมมนาหลังการบรรยายหรืออภิปรายเสร็จสิ้นลง 3.7 งบประมาณ ในการสัมมนาแต่ละโครงการต้องใช้งบประมาณมากพอ สมควรทั้งนมี้กัขึ้นอยกูั่บจำานวนผู้เข้าร่วมสัมมนา ระยะเวลาและสถานที่จัด สมัมนาเป็นสำาคัญทมี่าของงบประมาณดำาเนินการมกัได้มาจากแหล่งต่าง ๆ 3 แหล่งด้วยกนัคือ ค่าลงทะเบียนของสมาชิกเข้าร่วมสัมมนาเงินหนุนจาก หน่วยงานต้นสังกัด และเงินอุดหนุนจากภายนอก เช่น บุคคล บริษัท หา้ง ร้านสมาคม มลูนิธิ เป็นต้นสำาหรับค่าใช้จ่ายในการจดัสัมมนา โดยทวั่ไปจะ จ่ายเป็น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าพาหนะสำาหรับวิทยากร ค่าอาหารและ เครื่องดื่ม ค่าวัสดุจัดทำาเอกสาร ค่าดอกไมธู้ปเทยีนในพิธีเปิด – ปิด การ สมัมนา ค่าฟิล์มบันทกึภาพพร้อมค่าล้างอัด เป็นต้น
  • 32. องค์ประกอบด้านเวลา นิรันดร์ จลุทรัพย์ (2547 : 271 - 280) 4. องค์ประกอบด้านเวลา การกำาหนดเวลาสำาหรับการสัมมนาจะ มากน้อยพียงใดขึ้นอยู่กับหัวข้อหรือเรื่องที่จัดสมัมนาเป็นสำาคัญ บางเรื่องมีขอบเขตกว้างขวางแต่ใช้เวลาน้อย ก็จะทำาให้การ อภิปรายแสดงความคิดเห็นไม่ครอบคลุมตามเรื่องที่สัมมนาเท่าที่ ควร หรือบางเรื่องมีขอบเขตแคบเป็นเรื่องเฉพาะเจาะจงด้านใด ด้านหนึ่งโดยเฉพาะแต่ใช้เวลายาวนานก็จะทำาให้ผู้เข้าสัมมนาเบื่อ หน่าย ไม่สนใจเท่าที่ควรและสนิ้เปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่คุ้มกับ สาระที่ได้รับ และเมื่อมีเวลาเหลือมากอาจทำาให้สมาชิกอภิปราย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ขยายวงกว้างออกไปจนไม่สามารถ ควบคุมได้ หรือเรื่องที่นำามาอภิปรายไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่นำามา สมัมนาเลย การสัมมนาโดยทั่วไปจะใช้เวลา 2-5 วัน ซึ่งถือว่าเป็น
  • 33. HOME WORK :LESSON 2 1)ปญัหาทพี่บโดยทวั่ไปขององคก์ารมีอะไรบา้ง จง อธิบาย? 2)จงอธิบายปัจจัยความสำาเร็จของการจัดอบรม/สม มนา มาพอสงัเขป?