SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
106
ภาคผนวก
1.	 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงมีพระราชประวัติอย่างไรสุทธิภิบาลแทนและสุวัฒน์
แก้วสังข์ทอง (คัดบางตอนจาก เปิดโลกประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ : สุทธิ ภิบาลแทน และสุวัฒน์ แก้วสังข์ทอง)
–	 พระนามเดิมว่า “ทองด้วง” ประสูติเมื่อ 20 มีนาคม 2274 ที่กรุงศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บรมโกศ ได้รับราชการด้วยความสามารถและเสี่ยงชีวิตเพื่อปกป้องและรักษาแผ่นดิน จนตกทอดมาเป็น
มรดกให้คนไทยมีประเทศ มีที่อยู่อาศัยทำกินจนทุกวันนี้
–	 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นเจ้าต่างกรม มีพระนามว่า “สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ”
2.	 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ขึ้นครองราชสมบัติเพราะเหตุใด และได้จัดการเกี่ยวกับบ้านเมืองอย่างไร
–	 พระเจ้ากรุงธนบุรีมีสติฟั่นเฟือน บำเพ็ญกรณียกิจที่ไม่สมควรและก่อให้เกิดความยุ่งยากขึ้นหลายอย่าง
ทำให้ศาสนาและประชาชนได้รับความเดือดร้อน จึงเกิดกบฏจับเอาพระองค์ไว้ และให้ผนวชเสียที่
วัดแจ้ง
–	 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ เป็นแม่ทัพใหญ่ทำศึกคู่กันมากับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงเป็นที่
เกรงกลัว รักใคร่ของคนทั่วไป ราษฎรจึงทูลเชิญให้ครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
–	 พระองค์จึงทรงย้ายเมืองหลวงมาตั้งที่ฝั่งตรงข้ามกับเมืองธนบุรี แล้วปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์
ราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2324
3.	 เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่ฝั่งซ้ายของ
แม่น้ำเจ้าพระยา
–	 ที่ตั้งพระราชวังเดิมที่อยู่ระหว่างวัดแจ้งกับวัดท้ายตลาด สถานที่คับแคบ มิอาจขยายเขตพระราชวัง
ออกไปได้อีก
–	 เมืองธนบุรีเดิมมีบ้านเรือนหนาแน่น แต่ปราการป้องกันพระนครอยู่ด้านฝั่งขวา เมื่อข้าศึกยกมาก็ยาก
แก่การจัดกำลังป้องกัน
–	 ที่ตั้งวังเดิมของกรุงธนบุรีอยู่ตรงคุ้มน้ำใหญ่พอดีฝั่งด้านนั้นถูกกระแสน้ำเซาะพังเข้าไปเรื่อยๆ ไม่ปลอดภัย
แก่สิ่งปลูกสร้างถาวร
–	 ทางฝั่งซ้ายซึ่งอยู่ในอ้อมคุ้งแม่น้ำ เป็นที่สูง สามารถตั้งบ้านเมืองและปลูกสร้างสิ่งถาวรได้ดี และใช้
แม่น้ำเป็นคูเมืองทั้งสองด้านได้ด้วย และสามารถขุดคูล้อมเมืองป้องกันข้าศึกได้ง่ายกว่า
หมายเหตุ	 ดูภาคผนวกกลุ่มสาระสังคม ป.4 - ป.6 ประกอบด้วย และดูแผนที่ประกอบ
107
การศึกษาเรื่องราวในอดีตเกี่ยวกับตัวเองจะต้องมีหลักฐานและเหตุการณ์ประกอบในการแสดงข้อมูลต่างๆ เพื่อ
จะให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและความเป็นมาของตนเอง
ในการศึกษาเรื่องของตนเองนั้นมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตนเองเท่านั้น เช่น บิดา มารดา ผู้ปกครอง บ้านเลขที่
โทรศัพท์ การเกิด การเข้าเรียน เป็นต้น
หลักฐานและข้อมูลนี้เกี่ยวข้องในการศึกษา ได้แก่ บันทึกการคลอด สูติบัตร ทะเบียนบ้าน สิ่งของที่ญาติมอบให้
รูปถ่าย เป็นต้น
ใบความรู้
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนศึกษาความเป็นมาของตนเอง โดยหาหลักฐานข้อมูลมาประกอบ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ และน่าเชื่อถือ
ได้ว่าเป็นเรา ครอบครัวของเรา
ใบกิจกรรม
เรื่องการศึกษาความเป็นมาของตนเอง
หัวข้อที่ศึกษา อดีตของตัวฉัน
หลักฐานข้อมูลที่พบ / แหล่งข้อมูล
ข้อมูลจากการสัมภาษณ์สอบถาม
จาก พ่อ แม่ ญาติ พี่น้อง และ
ผู้ใกล้ชิด เช่น
ชอบอาหาร.........................................................................
คำพูด.........................................................................................
พฤติกรรมที่ปฏิบัติ..................................................
ข้อมูลจากการสำรวจหรือเอกสาร
ที่หาได้ สำรวจสิ่งที่เป็นวัตถุ เช่น
– ของเล่น
– บันทึกการคลอด
ข้อมูลจากการสังเกตเรื่องสนทนา
– ภาษาที่พ่อแม่พูด
– สามารถเลือกเล่นและทำงาน
ร่วมกับเพื่อนหรือไม่
หลักฐานข้อมูลแยกเป็นประเภทต่างๆ
1. ประเภทเอกสาร.....................................................................................................................................................................................................................................................
2. ประเภทคำบอกเล่า............................................................................................................................................................................................................................................
3. ประเภทรูปภาพ......................................................................................................................................................................................................................................................
4. ประเภทวัตถุ...............................................................................................................................................................................................................................................................
5. ประเภทสถานที่.....................................................................................................................................................................................................................................................
108
ชื่อ.......................................................................................................................................นามสกุล................................................................................................................ชื่อเล่น..................................................
วัน เดือน ปีเกิด.........................................................................ลักษณะนิสัย......................................................................................................................................................................................................
อยู่บ้านเลขที่............................................................หมู่............................หมู่บ้าน............................................................................................ตำบล...............................................................................................
อำเภอ..................................................................................................................จังหวัด.....................................................................................................รหัสไปรษณีย์..........................................................
ชื่อบิดา......................................................................................................................................................อาชีพ....................................................................................................................................................................
ชื่อมารดา...............................................................................................................................................อาชีพ.....................................................................................................................................................................
ชื่อเพื่อนนักเรียนที่ชอบ............................................................................................................................................................................................................................................................................................
เมื่อฉันโตขึ้นอยากประกอบอาชีพเป็น..................................................................................................................................................................................................................................................
เพราะ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
จงเติมข้อมูลของตนเองและข้อมูลของครอบครัวให้สมบูรณ์
พร้อมกับติดภาพของตนเอง
ข้อมูลของตนเอง
109
	 1.	 ครอบครัวของฉันอาศัยอยู่ที่
		 บ้านเลขที่....................................................หมู่...................หมู่บ้าน............................................................................................ถนน..............................................................................................
		 ตำบล.....................................................................................................................................................อำเภอ.......................................................................................................................................................
		 จังหวัด........................................................................................................................................................................................รหัสไปรษณีย์.........................................................................................
	 2.	 สมาชิกในครอบครัว มี.................................................คน เป็นหญิง............................................คน
		 เป็นชาย...............................................คน ได้แก่.............................................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
	 3.	 ข้อมูลส่วนตัวของคนในครอบครัว ได้แก่
		 1.	 ชื่อ.......................................................................................................................................................นามสกุล.........................................................................................................................................
			 วัน เดือน ปี ที่เกิด..........................................................................................................................................................................................ปัจจุบันอายุ..............................................ปี
			 เกี่ยวข้องกับฉัน เป็น........................................................................อาชีพ..............................................................................................................................................................................
		 2.	 ชื่อ.......................................................................................................................................................นามสกุล.........................................................................................................................................
			 วัน เดือน ปี ที่เกิด..........................................................................................................................................................................................ปัจจุบันอายุ..............................................ปี
			 เกี่ยวข้องกับฉัน เป็น........................................................................อาชีพ..............................................................................................................................................................................
		 3.	 ชื่อ.......................................................................................................................................................นามสกุล.........................................................................................................................................
			 วัน เดือน ปี ที่เกิด..........................................................................................................................................................................................ปัจจุบันอายุ..............................................ปี
			 เกี่ยวข้องกับฉัน เป็น........................................................................อาชีพ..............................................................................................................................................................................
ข้อมูลของครอบครัว
110
สาระสำคัญ
การดำเนินชีวิตของแต่ละคนจะมีทั้งรายรับ รายจ่าย ซึ่งจะต้องดูแลให้บังเกิดความสมดุล ครอบครัวควรจัดหา
รายได้ ซึ่งถือเป็นรายรับ และจัดจ่ายตามความจำเป็น ไม่ให้มากกว่ารายรับหรือมากกว่าที่จัดหามา ทั้งนี้เพื่อป้องกันปัญหา
หนี้สินอันจะทำให้เกิดปัญหาความทุกข์ยากของครอบครัว
1.	 ความหมาย
	 รายรับ หมายถึง จำนวนเงินที่ได้รับจากผลการทำงาน เช่น ชาวนาทำนาได้ข้าว และนำข้าวไปขายได้เงิน
ชาวสวนนำผลไม้ไปขายได้เงิน ข้าราชการได้เงินเดือน ช่างไม้รับปลูกบ้าน ได้เงินค่าจ้างฯ
	 รายจ่าย หมายถึง จำนวนเงินที่ได้รับ และนำมาจ่ายเป็นค่าครองชีพ ให้ดำรงชีวิตอยู่ตามอัตภาพ ความสุข
2.	 การปฏิบัติตนของครอบครัวที่ดีจะต้องจัดสรรรายรับให้เป็นสัดส่วนพอดี เช่น
	 1.	 การจัดรายรับส่วนหนึ่งเป็นเงินออม เพื่อนำมาใช้ในยามฉุกเฉิน เช่น คนในครอบครัวเจ็บป่วย ต้อง
เข้ารับการรักษา นำเงินที่เก็บออมไว้ใช้ยามชรา
	 2.	 นำรายรับส่วนหนึ่งมาใช้จ่ายเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามอัตภาพของตน โดยประหยัดและไม่ฟุ้งเฟ้อ
รายจ่ายที่จำเป็น ได้แก่ ปัจจัย 4 มี อาหาร ยารักษาโรค ค่าเช่าหรือค่าผ่อนซื้อบ้าน ค่าเครื่องนุ่งห่ม และ
รายจ่ายที่จำเป็น เช่น ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค ค่าน้ำ ไฟ โทรศัพท์ เงินประกันชีวิต
	 3.	 นำรายรับส่วนหนึ่งไว้สำหรับเป็นค่าใช้จ่าย ส่งเสริมความรู้ ความเจริญก้าวหน้าของสมาชิกในครอบครัว
หรือของตนเอง เช่น เป็นค่าเล่าเรียนบุตรหลาน ค่าเล่าเรียนศึกษาความก้าวหน้าของตนเอง เป็นต้น
3.	 ที่มาของรายรับของครอบครัว
	 รายรับครอบครัว มาจาก สมาชิกซึ่งอาจจะเป็น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ช่วยกันประกอบอาชีพ ซึ่งแต่ละ
ครอบครัวจะประกอบอาชีพแตกต่างกันไปตามความถนัด ความสามารถ และสภาพแวดล้อม
	 อาชีพที่สำคัญ ได้แก่
	 1.	 อาชีพเกษตรกรรม การประมง การทำไร่ การทำนา ทำสวน
	 2.	 อาชีพค้าขาย ขายของชำ ขายผัก ขายหมู ขายเครื่องใช้ ขายขนม ฯลฯ
	 3.	 อาชีพข้าราชการ หรือลูกจ้าง ได้แก่ การปฏิบัติงาน รับเงินเดือนจากรัฐบาล หรือรับเงินค่าจ้างรายเดือน
จาก บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ
	 4.	 อาชีพรับจ้าง ได้แก่ การรับสร้างบ้าน การซ่อมแซมเครื่องใช้ อุปกรณ์ไฟฟ้า การรับจ้างติดตั้งไฟฟ้า
ประปา ฯลฯ
	 5.	 อาชีพจัดทำงานอุตสาหกรรม หัตถกรรมต่างๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมเหล็ก โรงงานทอผ้า ฯลฯ
	 6.	 อาชีพอื่นๆ เช่น รับเลี้ยงเด็ก รับซักรีดเสื้อผ้า ฯลฯ
ใบความรู้
เรื่องสาระเนื้อเรื่องการรับ - จ่าย
111
4.	 หลักการประกอบอาชีพจัดหารายได้
	 1.	 อาชีพทุกประเภท มีความสำคัญเท่าเทียมกัน เพราะถือว่าเป็นอาชีพที่สุจริต ไม่ทำให้เกิดความเสียหาย
แก่ตนและสังคม
	 2.	 ต้องมีความตั้งใจและขยันขันแข็งในการทำงาน เพื่อให้เกิดรายได้แก่ครอบครัว และดำเนินชีวิตไปได้ดี
ไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อตนเองและสังคม
	 3.	 ต้องมีความซื่อสัตย์ต่ออาชีพ เช่น ค้าขาย ไม่โกงน้ำหนักตราชั่ง ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ไม่เกียจคร้าน หรือ
อู้งาน ฯลฯ
	 4.	 ต้องพัฒนาอาชีพของตน ตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เรียกว่า “แนวเศรษฐกิจ
พอเพียง”
112
นักเรียนจำได้หรือไม่ว่า เมื่อตอนเรายังเป็นเด็กเล็กๆ ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ใครเป็นผู้ดูแลเรา คอย
ป้อนข้าว ป้อนนม อาบน้ำให้
ใบความรู้
เรื่องข้อตกลงในครอบครัว
เมื่อเราเติบโตขึ้นมา สามารถช่วยเหลือตนเองได้บางเรื่อง แต่พ่อแม่ก็ยังต้องคอยดูแลเรา และคุ้มครองป้องกัน
ไม่ให้ผู้อื่นมาทำร้ายร่างกายเรา
การที่พ่อแม่คอยดูแลเรา ให้ความรัก และให้ความอบอุ่นแก่เรานั้นเป็นไปตามธรรมชาติ เพราะพ่อแม่ย่อม
ต้องรักลูกของตนเอง แต่บางครั้งก็มีเด็กที่โชคร้ายที่ไม่ได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่จากพ่อแม่ ทำให้เด็กขาดที่พึ่งและอาจ
ได้รับอันตรายได้
ดังนั้น รัฐจึงมีการรับรองและคุ้มครองสิทธิของเด็ก เพราะเด็กยังอ่อนเยาว์ ไร้เดียงสา และขาดประสบการณ์
ยังไม่สามารถคุ้มครองตนเองได้เต็มที่ จึงอาจถูกทำร้ายหรือถูกทำทารุณได้ง่าย
ครอบครัวประกอบด้วยสมาชิก ได้แก่ พ่อ แม่ ลูก หรือบางครั้งมีสมาชิกคนอื่นๆ ร่วมอยู่ด้วย ซึ่งสมาชิก
แต่ละคนอาจมีความต้องการและความสนใจที่แตกต่างกัน แต่ทำอย่างไรจะทำให้สมาชิกที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน
สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
สมาชิกในครอบครัวสามารถทำข้อตกลงร่วมกันได้ หรือจะเรียกว่าเป็นกฎกติกาภายในครอบครัวก็ได้ ข้อตกลง
ในครอบครัว อาจเหมือนหรือแตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับแต่ละครอบครัว และเมื่อกำหนดข้อตกลงร่วมกันแล้ว สิ่งที่สำคัญ
คือ ทุกคนต้องพร้อมใจกันปฏิบัติตามข้อตกลง
113
1. ลูกๆ ต้องเข้านอนดึกเกินไป เพราะจะทำให้นอนตื่นสาย และไปไม่ทันโรงเรียนเช้า
2. เมื่อกลับจากโรงเรียน ต้องรีบอาบน้ำ เปลี่ยนเสื้อผ้า และทำการบ้านให้เสร็จก่อน จึงจะดูโทรทัศน์ได้
3. ลูกๆ ต้องรู้จักช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน โดยไม่ต้องให้พ่อแม่เตือน
4. เมื่อมีปัญหา ให้ปรึกษาพ่อแม่ทุกครั้ง และไม่ควรใช้กำลังในการตัดสินปัญหา
แบบทดสอบโดยการถาม - ตอบ
คำชี้แจง	 เขียนเครื่องหมาย P ในรายการที่นักเรียน ผ่าน ตามเกณฑ์การประเมินในหน่วยหน้าที่พลเมืองดีในระบบ
ประชาธิปไตย
เลขที่ ชื่อ - สกุล
1.	บอกหน้าที่ของสมาชิก
ในครอบครัวได้
2.	บอกหน้าที่ของตนเอง
ในครอบครัวได้
3.	บอกลักษณะของสมาชิกที่ดี
ในครอบครัวได้
4.	บอกผลดีของการเป็นสมาชิกที่ดี
ในครอบครัวได้
5.	บอกผลเสียของการเป็นสมาชิกที่ดี
ในครอบครัวได้
114
1.	 อาชีพในชุมชน
ในชุมชนประกอบด้วยคนมากมาย อาชีพของคนในชุมชนจึงมีหลากหลายอาชีพ แต่ละอาชีพทำหน้าที่แตก
ต่างกัน อาชีพที่พบเห็นมากในชุมชน เช่น
1.	 อาชีพเกษตรกรรม
	 เป็นอาชีพที่เกี่ยวกับการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาเป็นเวลาช้านานแล้ว
อาชีพเกษตรกรรมที่ควรรู้จักมีหลายอาชีพ ดังนี้
ใบความรู้
เรื่องอาชีพในชุมชน
	 1)	 ทำนา  เป็นอาชีพส่วนใหญ่ของคนไทยตั้งแต่อดีต เพราะคนไทยกินข้าวเป็นอาหารหลัก ผู้ที่ประกอบ
		 อาชีพทำนาเรียกว่า ชาวนา อาชีพทำนาเป็นอาชีพที่สำคัญ เพราะเป็นอาชีพที่ผลิตข้าวเลี้ยงคนใน
		 ประเทศไทย ชาวนาจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นกระดูกสันหลังของชาติ
	 2)	 ทำสวน  เป็นอาชีพที่ปลูกผักหรือผลไม้ ผู้ที่ประกอบอาชีพทำสวน เรียกว่า ชาวสวน
	 3)	 ทำไร่  เป็นอาชีพที่ปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด สับปะรด ผู้ที่ประกอบอาชีพทำไร่ เรียกว่า ชาวไร่
	 4)	 เลี้ยงสัตว์  สัตว์ที่นิยมนำมาเลี้ยงเพื่อจำหน่าย เช่น เป็ด ไก่ หมู
	 5)	 ทำประมง  เป็นอาชีพที่จับสัตว์น้ำหรือเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ผู้ที่ประกอบอาชีพประมง เรียกว่า ชาวประมง
		 มักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ
2.	 อาชีพอุตสาหกรรม
	 เป็นอาชีพที่นำวัตถุดิบที่ได้จากทรัพยากรธรรมชาติ และนำเกษตรกรรมมาผลิตเป็นสินค้าที่ใช้เครื่องจักร
เช่น อุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ ปลากระป๋อง ผลไม้กระป๋อง ผลไม้อบแห้ง อุตสาหกรรมสิ่งทอ ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป
3.	 อาชีพหัตถกรรม
	 เป็นอาชีพที่นำเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ด้วยมือเป็นสินค้า เช่น ผ้าทอ เครื่องจักสาน เครื่องปั้น
ดินเผา ไม้แกะสลัก
115
4.	 อาชีพค้าขาย
	 เป็นอาชีพที่จำหน่ายหรือรับแลกเปลี่ยนสินค้าต่างๆ ผู้ที่ประกอบอาชีพค้าขาย เรียกว่า พ่อค้าแม่ค้า ผู้ที่ค้าขาย
มักอาศัยอยู่ในบริเวณชุมชนเพราะจะได้มีลูกค้ามาซื้อสินค้ามากๆ
5.	 อาชีพบริการ
	 เป็นอาชีพที่เกี่ยวกับการให้ความสะดวกแก่คนในชุมชน เช่น พนักงานขับรถ ช่างตัดเสื้อ ช่างตัดผม ช่าง
เสริมสวยพนักงานเสิร์ฟอาหารเป็นต้น
	 นอกจากนี้ อาชีพรับราชการ ซึ่งเป็นคนที่ทำงานให้กับรัฐบาลก็จัดเป็นอาชีพบริการอาชีพหนึ่ง อาชีพรับราชการ
มีมากมายหลายอาชีพขึ้นอยู่กับหน่วยงาน เช่น ครู หมอ ตำรวจ ทหาร เป็นต้น ผู้ที่รับราชการ มีหน้าที่ให้บริการด้านต่างๆ
แก่ประชาชน
116
เรื่อง ครอบครัวของฉัน “การปฏิบัติตนเป็นลูกที่ดี”
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนดูภาพ แล้วเขียนเครื่องหมาย P ใน £ ภาพที่ควรปฏิบัติ และ Õ ใน £ ภาพที่ไม่ควรปฏิบัติ
เสร็จแล้วระบายสีภาพที่ควรปฏิบัติให้สวยงาม
ใบความรู้
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
ผลการประเมิน	 £  ดีมาก	 £  ดี	 £  พอใช้	 £  ปรับปรุง
117
คำชี้แจง	
1.	 ให้นักเรียนบอกกิจกรรมที่ควรปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
	 1.	 ทำบุญตักบาตร
	 2.	 .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
	 3.	 .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
	 4.	 .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.	 ให้นักเรียนระบายสีภาพกิจกรรมที่ควรปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
ผลการประเมิน	 £  ดีมาก	 £  ดี	 £  พอใช้	 £  ปรับปรุง
118
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนจับคู่ข้อความโดยการโยงข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน และระบายสี ตอน “พระพุทธเจ้าประสูติ”
ให้สวยงาม
1.	 สิทธัตถะ	 £	 £	 ก.	พระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ
2.	 ราหุล	 £	 £	 ข.	พระนามเดิมของพระพุทธเจ้า
3.	 พระเจ้าสุทโธทนะ	 £	 £	 ค.	พระมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ
4.	 พระนางสิริมหามายา	 £	 £	 ง.	 พระราชโอรสของเจ้าชายสิทธัตถะ
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
ผลการประเมิน	 £  ดีมาก	 £  ดี	 £  พอใช้	 £  ปรับปรุง
พระพุทธเจ้าประสูติ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
119
เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธศาสนา
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนโยงภาพด้านซ้ายกับข้อความด้านขวา ให้สัมพันธ์กัน แล้วระบายสีภาพให้สวยงาม
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
แบ่งปันกัน
1.
2.
3.
ไม่ทะเลาะกัน
มีระเบียบวินัย
120
เรื่อง วันสำคัญทางศาสนา “วันวิสาขบูชา”
ในวันสำคัญทางศานา “วันวิสาขบูชา” นักเรียนซึ่งเป็นชาวพุทธ ควรไปร่วมกิจกรรมทางศาสนา ดังนี้
1. ทำบุญตักบาตร	 2. ฟังเทศน์	 3. เวียนเทียน	 4. บริจาคทาน
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนระบายสีภาพกิจกรรม การเวียนเทียน ให้สวยงาม และคัด คำ “เวียนเทียน” เพิ่มจากที่กำหนดให้
อีก 3 ครั้ง
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
ผลการประเมิน	 £  ดีมาก	 £  ดี	 £  พอใช้	 £  ปรับปรุง
121
เรื่อง อาชีพของครอบครัว
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนจับคู่อาชีพโดยสัมพันธ์กับข้อความด้านขวามือให้ถูกต้อง
1.	 ชาวนา	 £	 £	 ขายผัก ผลไม้
2.	 ชาวประมง	 £	 £	 จับผู้ร้าย
3.	 แม่ค้า	 £	 £	 นักเรียน
4.	 ตำรวจ	 £	 £	 ปลูกข้าว
5.	 ครู	 £	 £	 ปลา กุ้ง หอย ปู
6.	 บุรุษไปรษณีย์	 £	 £	 คนไข้
7.	 พยาบาล	 £	 £	 ส่งจดหมาย
ในอนาคตฉันอยากมีอาชีพ.............................................................................................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
ผลการประเมิน	 £  ดีมาก	 £  ดี	 £  พอใช้	 £  ปรับปรุง
122
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนระบายสีภาพแผนผังชุมชนของนักเรียน และเขียนชื่อสถานที่สำคัญในชุมชน ด้านล่างที่
กำหนดให้
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
สถานที่สำคัญในชุมชนของฉัน ได้แก่
	 1.	 .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
	 2.	 .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
	 3.	 .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
	 4.	 .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
123
เรื่อง สถานที่สำคัญในชุมชน
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนบอกสถานที่สำคัญในชุมชนดังต่อไปนี้
1.	 โรงเรียน ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด
	 ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.	 โรงพยาบาล ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด
	 ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3.	 สนามเด็กเล่น ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด
	 ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
4.	 วัด ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด
	 ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
5.	 ให้นักเรียนระบายสีภาพโรงเรียนของฉันให้สวยงาม
	 .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
124
เรื่อง การออมของฉัน
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนบอกวิธีการออมเงิน ที่นักเรียนทำได้
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
2.	 ให้นักเรียนวาดภาพกระปุกออมสิน สำหรับการออมเงินคนละ 1 ชิ้น พร้อมกับตกแต่งระบายให้สวยงาม
ผลการประเมิน	 £  ดีมาก	 £  ดี	 £  พอใช้	 £  ปรับปรุง
วิธีการออมเงิน
ของฉัน
125
เรื่อง หลักธรรมเบื้องต้น “โอวาท 3”
คำชี้แจง	 ให้นักเรียนสำรวจตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม ตามความเป็นจริง แล้ว
บันทึกผล
ใบกิจกรรม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.2/......................................เลขที่....................................
สำรวจตนเองดูซิว่าเคยทำไม่ดีอย่างไร
และอย่าลืมนำไปปรับปรุงแก้ไขตนเองด้วยนะคะ
กิจกรรมที่ทำ
การปฏิบัติตน
เคยทำ P ไม่เคยทำ Õ
1.  แกล้งสัตว์เพื่อความสนุกสนาน
2.  ฆ่าสัตว์
3.  ช่วยเหลือสัตว์ที่บาดเจ็บ
4.  ให้อาหารสุนัขหรือแมวจรจัด
5.  หยิบของของเพื่อนมาเป็นของตนเอง
6.  เก็บของได้แล้วไม่ส่งคืนเจ้าของ
7.  พูดโกหกพ่อแม่
8.  พูดโกหกครู
9.  พูดโกหกเพื่อน
10.  ทำความผิดแล้วบอกว่าไม่ได้ทำ หรือโทษผู้อื่น
126
ใบสังเกตการทำกิจกรรม
คำชี้แจง	 เขียนเครื่องหมาย P ในช่องระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
1
2
3
ความสนใจ
ความกระตือรือร้น
ความร่วมมือ
3  หมายถึง  ดี
2  หมายถึง  พอใช้
1  หมายถึง  ควรปรับปรุง
ใบสังเกตการทำกิจกรรม
คำชี้แจง	 เขียนเครื่องหมาย P ในช่องระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
1
2
3
4
5
ความร่วมมือ
ความถูกต้อง
ความมีระเบียบวินัย
ความสำเร็จของงาน
พูดเสียงดังฟังชัด
4  หมายถึง  ดีมาก
3  หมายถึง  ดี
2  หมายถึง  พอใช้
1  หมายถึง  ปรับปรุง
127
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้..........................................................................................................................................................
รายชื่อสมาชิก
	 1.	 .........................................................................................................................................	 2.	 ........................................................................................................................................
	 3.	 .........................................................................................................................................	 4.	 ........................................................................................................................................
	 5.	 .........................................................................................................................................	 6.	 ........................................................................................................................................
คำชี้แจง	 ให้เขียนเครื่องหมาย P ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของกลุ่มตามความเป็นจริง
แบบประเมินตนเองในการทำงานกลุ่ม
ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.2/......................................เลขที่....................................
หมายเหตุ	 หัวข้อการประเมินอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
	 การสรุปผลการประเมินผ่านเกณฑ์/ไม่ผ่านเกณฑ์เป็นไปตามสถานศึกษากำหนด
		 ลงชื่อ.......................................................................................................ผู้ประเมิน
		 (....................................................................................................)
		 ......................../......................../........................
ลำดับที่ หัวข้อประเมิน ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ หมายเหตุ
1
2
3
4
5
6
7
ทุกคนรู้หน้าที่ว่าจะต้องทำอะไร
ทุกคนในกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็น
ทุกคนในกลุ่มช่วยกันตัดสินใจ
มีผู้อาสาจดบันทึก
มีผู้คอยกระตุ้นสมาชิกและควบคุมเวลาในการทำงาน
ทุกคนช่วยกันเตรียมการนำเสนอ
กิจกรรมนี้มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้จริง
128
การรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของ “จังหวัดพัทลุง”
129
130
131
132
133
134
บรรณานุกรม
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3
คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา เล่ม เม.ย. 47, ส.ค. 47, ธ.ค. 47
เทศบาลตำบลหัวหิน งานประชาสัมพันธ์ กองวิชาการเกษตรและแผนงานที่ระลึก 65 ปี เทศบาลตำบลหัวหิน 1 ต.ค.
2545
แนวการจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ สำนักมาตรฐานการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
96
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 1.1	 รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
	 ตัวชี้วัด	 ส 1.1 ป 1/1	 บอกพุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือโดยสังเขป
		 ส 1.1 ป 1/2	 ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่อง
	 เล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 1/3	 บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม
	 โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 1/4	 เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา
	 หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 2/1	 บอกความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
		 ส 1.1 ป 2/2	 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการออกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
	 ตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 2/3	 ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก
	 เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 2/4	 บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม
	 โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 2/5	 ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา
		 ส 1.1 ป 2/6	 เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา
	 หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 2/7	 บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสำคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือและ
	 ศาสนาอื่นๆ
		 ส 1.1 ป 3/1	 อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็น
	 รากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย
		 ส 1.1 ป 3/2	 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่การบำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดา
	 ที่ตนนับถือตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 3/3	 ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวกชาดก/เรื่องเล่า
	 และศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กำหนด
		 ส 1.1 ป 3/4	 บอกความหมาย ความสำคัญของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ
		 ส 1.1 ป 3/5	 แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธ-
	 ศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนรู้ที่1ตัวเราเรื่องศาสนาของเราระยะเวลาในการสอน4ชั่วโมง
97
สาระสำคัญ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย
พุทธประวัติตั้งแต่การบำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ การดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง การแสดงความเคารพพระรัตนตรัยและปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3 ใน
พระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
2.	 สาระการเรียนรู้
1.	 พระพุทธประวัติ (หรือศาสนาที่ตนนับถือ)
2.	 รักษาศีล 5
3.	 ฝึกสมาธิ สวดมนต์ อาราธนาศีล ถวายสังฆทาน แผ่เมตตา
3.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
1.	 นักเรียนบอกได้ว่า นักเรียนได้อะไรจากการเรียนรู้พุทธประวัติ
2.	 นักเรียนรักษาศีล 5 ได้
3.	 มีความซื่อสัตย์ อดทน อดกลั้น ประหยัด และมีเหตุผล
4.	 ทำสมาธิได้ สวดมนต์ อาราธนาศีล ถวายสังฆทานได้เหมาะสมกับวัย
5.	 รู้จักแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้อย่างสมเหตุสมผล
6.	 นักเรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
4.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	1.	 ครูเล่านิทานชาดกเกี่ยวกับพุทธประวัติ มีภาพประกอบ มีแผนภูมิภาพ
คำถาม บัตรคำ - บัตรภาพ หนังสือชาดก นิทาน หนังสือพุทธประวัติ
เพื่อสอนตรงตามจุดประสงค์
	2.	 การเรียนรู้ในการเล่านิทาน และพระพุทธประวัติให้พัฒนาความสามารถ
เด็ก โดยยึดความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อ
ให้ตรงกับความสนใจของเด็ก
		 –	 กระตุ้นยั่วยุด้วยภาพ ด้วยคำถาม ด้วยลีลาท่าทาง น้ำเสียง - สื่อสิ่งเร้า
		 ต่างๆ พร้อมทั้งชมเชย ให้กำลังใจเมื่อเด็กร่วมมือด้วยบรรยากาศที่เป็น
		 มิตร
		 –	 ครูจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ปรับแต่งสาระตามความถนัด
		 และความสนใจภายใต้การชี้นำของครู
		 –	 บางเรื่อง บางตอน ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ และเปิด
		 โอกาสให้นักเรียนสร้างและนำเสนอผลการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง
–	 กลุ่มนักเรียนอ่านนิทานชาดก,
พระพุทธประวัติแล้วมาเล่า
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
–	 อภิปราย ซักถาม
98
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
		 –	 ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมขั้นพื้นฐานของศาสนา เพื่อ
		 การอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ยกตัวอย่างข่าวในหนังสือพิมพ์เป็นหัวข้อ
		 สนทนา ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถามปัญหาที่สงสัยจากการอ่านข่าว
		 เชิญพิธีกรผู้รู้ ผู้ปกครองร่วมสนทนา สรุปปัญหาและข้อความปฏิบัติไว้
		 เป็น “ข้อตกลงของเรา” ที่เด็ก - ลูกศิษย์ควรปฏิบัติ
		 –	 นำเทคนิคการสอนของพระพุทธเจ้ามาปรับใช้ให้เหมาะกับวัยของเด็ก
		 และสถานการณ์
					 พระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติในยุคที่ชมพูทวีปเป็นถิ่นนักปราชญ์ เต็ม
		 ไปด้วยศาสตราจารย์ เจ้าลัทธิต่างๆ แต่พระพุทธเจ้าสามารถประสบชัย
		 ในการสอน หลักการสอนของพระองค์ยิ่งใหญ่และประเสริฐ สมควร
			 ศึกษาและน้อมนำมาปฏิบัติ
					 ตามหลักพระพุทธศาสนาถือว่า ความทุกข์ ความเดือดร้อน และ
		 ปัญหาชีวิตของมนุษย์เกิดจากตัณหา คือความอยาก ความต้องการ ความ
		 เห็นแก่ตัว ซึ่งเกิดจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจ ไม่มองเห็นสิ่งทั้งหลายตามที่
		 มันเป็น มีทัศนคติต่อสิ่งทั้งหลายอย่างไม่ถูกต้อง ซึ่งเรียกว่า อวิชชา	
				 ควรจะแก้ปัญหาจึงต้องกำจัด “อวิชชา” นั่นคือ ภารกิจสำคัญของ
		 การศึกษา คือการฝึกอบรมบุคคลให้พัฒนาปัญญา เกิดความรู้ ความ
		 เข้าใจในข้อเท็จจริงและสภาวะของสิ่งทั้งหลายมีทัศนคติต่อสิ่งทั้งหลาย
		 อย่างถูกต้อง ปฏิบัติและจัดการกับสิ่งทั้งหลายตามที่ควรจะเป็น เพื่อให้
		 เกิดเป็นประโยชน์ตน คือ ความมีชีวิตอยู่ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
		 –	 ข้อความกำหนดในการสอน
			 ภารกิจสำคัญของการศึกษาได้แก่ ช่วยให้บุคคลเกิดทัศนคติที่ถูกต้อง
			 ¶ พัฒนาปัญญา ¶ ชี้นำ/อำนวยโอกาส ¶ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 	
		¶ เป็นอิสระในการคิด, ซักถามโต้ตอบ - สืบเสาะความจริง
			 วางเป็นข้อสรุปเกี่ยวกับการสอน ดังนี้
			 (1)	 ปัญญา เป็นสิ่งสร้างสรรค์ขึ้นภายในตัวผู้เรียนเอง
			 (2)	 ผู้สอนทำหน้าที่เป็นกัลยาณมิตร ช่วยชี้นำการเรียน
			 (3)	 วิธีสอน อุบาย และกลวิธีต่างๆ เป็นสื่อ หรือเป็นเครื่องผ่อน
			 การเรียนการสอน
			 (4)	 อิสรภาพในทางความคิด เป็นอุปกรณ์สำคัญในการสร้างปัญญา
		 –	 คุณสมบัติของผู้สอน
			 ก.	 บุคลิกภาพ พระพุทธเจ้าทรงมีพระลักษณะสง่างาม ควรแก่ศรัทธา
			 ปสาทะทุกประการ พระสุรเสียงที่โน้มนำจิตใจ ไพเราะ สุภาพ
				 สละสลวย กิริยามารยาทน่าเลื่อมใส
			 ข.	 คุณธรรม พระปัญญาคุณ ยกตัวอย่างทศพลญาณ
				 ความหมายส่วนที่ผู้สอนทั่วไปพอปฏิบัติได้
99
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
				 –	 มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหา และขอบเขต กฎเกณฑ์ และ
				 หลักการต่างๆ ที่จะนำมาใช้สอน และรู้จักขีดความสามารถของ
				 บุคคลระดับต่างๆ
				 –	 มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์
				 เป็นอย่างดี
				 –	 รู้วิธีการ และกลวิธีปฏิบัติต่างๆ ที่จะนำเข้าสู่เป้าหมายที่ต้องการ
				 –	 มีความรู้ในวิชา สรีรวิทยา และจิตวิทยา
				 –	 รู้ความแตกต่างระหว่างบุคคล
				 –	 รู้ปัจจัยต่างๆ ที่จะเป็นอุปสรรค
				 –	 รู้ประวัติ พื้นเพเดิม และประสบการณ์
				 –	 พิจารณา สังเกตดูผู้เรียน และพร้อมช่วยเหลือ
				 –	 รู้ชัด แจ่มแจ้งว่าผลสัมฤทธิ์ที่เป็นจุดหมายนั้น คืออะไร เป็น
				 อย่างไร และทำให้เกิดขึ้นได้จริง
			 ค.	 เกี่ยวกับตัวการสอน
				 –	 การเริ่มต้นเป็นจุดสำคัญ ที่ช่วยให้การสอนสำเร็จผล
				 –	 สร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่งเพลิดเพลิน ไม่ให้
				 ตึงเครียด
				 –	 สอนมุ่งให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่สอนเป็นสำคัญ ไม่ยกตน
				 ไม่เสียดสีใคร
				 –	 สอนโดยเคารพ คือตั้งใจสอน ทำจริง
				 –	 ใช้ภาษาสุภาพ นุ่มนวล ไม่หยาบคาย
				 –	 มีลีลาการสอนที่ชัดเจน ชักจูงให้เห็นจริง ให้เกิดกำลังใจและ
				 ช่วยให้แช่มชื่น เบิกบาน ไม่เบื่อ
				 วิธีสอนแบบต่างๆ
				 –	 แบบสนทนา
				 –	 แบบบรรยาย
				 –	 แบบตอบปัญหา
				 –	 แบบวางกฎข้อบังคับ
				 ใช้กลวิธีและอุบายประกอบการสอน
				 –	 ยกอุทาหรณ์ เล่านิทานประกอบ
				 –	 เปรียบเทียบด้วยข้ออุปมา
				 –	 ใช้อุปกรณ์การสอน
				 –	 การทำเป็นตัวอย่าง
				 –	 การเล่นภาษา เล่นคำ
				 –	 อุบายเลือกคน และการปฏิบัติรายบุคคล
				 –	 การรู้จักจังหวะ และโอกาส
100
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
				 –	 ความยืดหยุ่นในการใช้วิธีการ
				 –	 การลงโทษ และให้รางวัล
				 –	 กลวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
หมายเหตุ	 คัดย่อจาก “เทคนิคการสอนของพระพุทธเจ้า” พระเทพเวที
(ประยุกต์ ปยุตฺโต)
	 ให้ผู้สอนค้นคว้าเทคนิคอย่างละเอียดที่ใช้มาแล้วกว่าสองพันปี
และมีความรู้ซาบซึ้งในพระพุทธศาสนา ใช้ได้ตั้งแต่ ป.1 - ป.6
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 1.1 	 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
	 ตัวชี้วัด	 ส 4.1 ป 1/1	 บอกวัน เดือน ปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
		 ส 4.1 ป 1/2	 เรียงลำดับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ตามวันเวลาที่เกิดขึ้น
		 ส 4.1 ป 1/3	 บอกประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัว โดยสอบถามผู้เกี่ยวข้อง
		 ส 4.1 ป 2/1	 ใช้คำระบุเวลาที่แสดงเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
		 ส 4.1 ป 2/2	 ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบครัวหรือในชีวิตของตนเองโดยใช้หลักฐานที่
	 เกี่ยวข้อง
2.	 สาระการเรียนรู้
	 1.	 บอก วัน เดือน ปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทินไทย และสากลได้
	 2.	 เปรียบเทียบการใช้ศักราชสำคัญในการบอกเวลา ตามปฏิทินไทยและสากลได้
	 3.	 เล่าเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตโดยใช้คำระบุเวลาได้ถูกต้องเหมาะสม
	 4.	 แสดงความสำคัญเกี่ยวกับเหตุการณ์ใกล้ตัว และระบุแหล่งข้อมูลในการแสวงหาคำตอบได้
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนประวัติศาสตร์ เรื่องเหตุการณ์และเวลา
ระยะเวลาในการสอน3ชั่วโมง
101
102
103
104
105
คุณมีโอกาสดับไฟ3ครั้ง
1.	เมื่อรู้สึกว่าเกิดแผ่นดินไหว
2.	เมื่อแผ่นดินไหวสงบ
3.	เมื่อไฟกำลังจะเริ่มไหม้
อันดับแรกคือท่านต้องป้องกันตัวเองก่อนแล้วจึงช่วยดูแลครอบครัวและเพื่อนบ้านปกติแล้วคนเราสามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้72ชั่วโมงเมื่อติดอยู่ใต้ซากปรักหักพัง

ดังนั้นการป้องกันการเกิดไฟไหม้จึงเป็นงานสำคัญอันดับแรกจะเริ่มการช่วยชีวิตได้เมื่อสถานการณ์ปลอดภัยแล้วเท่านั้นพยายามช่วยเหลือซึ่งกันและกันและ
พยายามเต็มที่ในการดับไฟและช่วยเหลือผู้ที่ติดอยู่ใต้ซากปรักหักพังและบาดเจ็บ
เรื่องที่ควร-ไม่ควรปฏิบัติระหว่าง-หลังเกิดแผ่นดินไหว
106
“การทำงานเป็นทีม”มีความสำคัญมากรวมทั้งการเตรียมการด้าน
ความปลอดภัยแก่พนักงานและลูกค้าการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การให้ความร่วมมือกันในด้านต่างๆกับชุมชนและสำนักงานใกล้เคียง
อย่าตื่นตระหนกและทำอย่างระมัดระวัง
–	นำถังดับเพลิงไปยังที่เกิดไฟไหม้ดึงสลักนิรภัยก็ต่อเมื่อจะใช้งานเท่านั้น
เพื่อป้องกันการฉีดก่อนเวลาหาแหล่งกำเนิดไฟ
–	อยู่ให้ต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงจากความร้อนและควันขณะเดินเข้าหาไฟชี้หัวฉีด
ไปยังไฟและบีบคันโยกจนน้ำยาออก
–	เมื่อใช้เครื่องดับเพลิงชนิดน้ำบนผนังให้ฉีดจากบนลงล่างจากเพดาน
ลงพื้น
–	หลังจากใช้เครื่องดับเพลิงชนิดผงเพื่อความแน่นอนควรใช้น้ำราดอีกครั้ง
เพื่อไฟจะได้ไม่กลับมาติดอีกระวังอย่านำน้ำราดบนอุปกรณ์ไฟฟ้า
–	ขณะดับไฟควรเผื่อทางหนีไว้ด้วย
107
108
109
ภาคผนวก
ทฤษฎีเดอโบโน
เทคนิคการตั้งคำถาม โดยใช้หมวกความคิด 6 ใบหมวก
หมวกสีขาว
แสดงความเป็นกลาง หมายถึง ตัวเลข ข้อเท็จจริงต่างๆ	
ตัวอย่างการตั้งคำถามหมวกสีขาว
–	 เรามีข้อมูลอะไรบ้าง
–	 เราต้องการข้อมูลอะไรบ้าง
–	 เราได้ข้อมูลที่ต้องการมาด้วยวิธีใด
หมวกสีแดง
เป็นการแสดงความรู้สึกของผู้คิด แสดงอารมณ์ สัญชาติญาณ ลางสังหรณ์ ความประทับใจ	
ตัวอย่างคำถามแบบหมวกสีแดง
–	 เรารู้สึกอย่างไร
–	 นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่ทำ
–	 นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับความคิดนี้
หมวกสีดำ
แสดงความมืดครึ้ม หมายถึง เหตุผลด้านลบ เหตุผลในการปฏิเสธ เป็นการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ตัวอย่างคำถามหมวกสีดำ
–	 อะไรเป็นจุดอ่อน
–	 อะไรคือสิ่งที่ยุ่งยาก
–	 อะไรคือสิ่งที่ผิดพลาด
–	 เรื่องนี้มีจุดอ่อนตรงไหน
หมวกสีเหลือง
แสดงถึง เหตุผลทางบวก ความมั่นใจเหตุผลในการยอมรับ
ตัวอย่างคำถามแบบหมวกสีเหลือง
–	 จุดดีคืออะไร
–	 ผลดีคืออะไร
110
หมวกสีเขียว
หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์และความคิดใหม่ๆ หลบเลี่ยงความคิดเก่า มุมมองเก่า สู่ความคิดใหม่
ตัวอย่างคำถามหมวกสีเขียว
–	 นักเรียนจะนำความคิดนี้ไปทำ (สร้าง ปรับปรุง พัฒนา) อย่างไรบ้าง
–	 ถ้าจะให้สิ่งนี้ (ดีขึ้น) จะต้องเปลี่ยนอย่างไร
หมวกสีฟ้า
แสดงถึง ความเยือกเย็น ท้องฟ้า ซึ่งอยู่เหนือทุกสิ่งทุกอย่าง จึงหมายถึงการจัดระเบียบกระบวนการและ

ขั้นตอน
ตัวอย่างคำถามหมวกสีฟ้า
–	 การคิดอะไรที่ต้องการ
–	 ขั้นตอนต่อไปคืออะไร
–	 การคิดอะไรที่ทำไปก่อนแล้ว
การนำหมวกแต่ละใบไปใช้
หมวกสีขาว เป็นตัวแทนของข้อมูล ข่าวสาร เมื่อใช้หมวกสีขาว
–	 ทุกคนจะพุ่งความสนใจไปที่ข้อมูลอะไรบ้าง
–	 จำเป็นต้องใช้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือไม่
–	 ข้อมูลด้านใดที่ขาดหายไป
–	 จะมีวิธีใดบ้างที่ได้ข้อมูลที่ต้องการ
หมวกสีแดง แสดงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
หมวกสีเขียว มุ่งความสนใจไปที่สิ่งที่น่าจะเป็นไปได้
–	 ความเป็นไปได้ ครอบคลุมวิธีการของสมมุติฐานในเชิงวิทยาศาสตร์
–	 การเตรียมความคิดและข้อมูล
–	 ความเป็นไปนำมาซึ่งการใช้วิจารณญาณ
–	 ความเป็นไปได้นำมาซึ่งวิสัยทัศน์
หมวกสีฟ้า มองภาพรวมเกี่ยวกับเรื่องที่คิดมาทั้งหมดและจัดกระบวนการคิด
_________________________________________
111
แบบประเมินตนเองในการทำงานกลุ่ม
ชั้น................................................................................................ภาคเรียนที่...........................ปีการศึกษา..............................................
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้.......................................................................
รายชื่อสมาชิก
1.	 ......................................................................................................	 2.	 ......................................................................................................
3.	 ......................................................................................................	 4.	 ......................................................................................................
5.	 ......................................................................................................	 6.	 ......................................................................................................
คำชี้แจง	 ให้เขียนเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของกลุ่มตามความเป็นจริง
ลำดับที่
 หัวข้อประเมิน
 ใช่
 ไม่ใช่
 ไม่แน่ใจ
 หมายเหตุ
1
 ทุกคนรู้หน้าที่ว่าจะต้องทำอะไร
 
 
 
 
2
 ทุกคนในกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็น
 
 
 
 
3
 ทุกคนในกลุ่มช่วยกันตัดสินใจ
 
 
 
 
4
 มีผู้อาสาจดบันทึก
 
 
 
 
5
 มีผู้คอยกระตุ้นสมาชิกและควบคุมเวลาในการทำงาน
 
 
 
 
6
 ทุกคนช่วยกันเตรียมการนำเสนอ
 
 
 
 
7
 กิจกรรมนี้มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้จริง
 
 
 
 
หมายเหตุ	 หัวข้อการประเมินอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
การสรุปผลการประเมินผ่านเกณฑ์/ไม่ผ่านเกณฑ์เป็นไปตามสถานศึกษากำหนด
	 ลงชื่อ..............................................................................................ผู้ประเมิน
		 (..............................................................................................)
		 ................../................../..................
112
แนวทางในการใช้ปัญญาศึกษาพุทธศาสนาให้ถึงแก่นแท้
1.	 ควรยึดถือพระไตรปิฎก
2.	 ควรยึดหลักไม่เชื่องมงาย 10 ประการ ที่มีอยู่ในกาลามสูตร
	 –	 อย่าถือโดยฟังตามๆ กันมา
	 –	 อย่าถือโดยตื่นข่าว
	 –	 อย่าถือโดยอ้างตำรา
	 –	 อย่าถือโดยการเดา
	 –	 อย่าถือโดยการคาดคะเน
	 –	 อย่าถือโดยตรึกตรองตามอาการ
	 –	 อย่าถือโดยชอบใจว่าต้องกับลัทธิของตน
	 –	 อย่าถือโดยเชื่อว่าผู้พูดเป็นคนควรเชื่อได้
	 –	 อย่าถือโดยนับถือว่าสมณะนี้เป็นครูของเรา
_________________________________________
93
ถึงแม้ว่าเราจะยังเป็นเด็ก และไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ แต่เราก็สามารถนำหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของเราได้ โดยอาศัยหลักการดำเนินชีวิตที่ว่า ให้อยู่แบบพออยู่พอกินไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
รู้จักประหยัดเก็บออม ซึ่งจะทำให้สามารถพึ่งตนเองได้
–	 รู้จักเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์
–	 กินอาหารอย่างประหยัด ไม่ให้เหลือทิ้ง
–	 เลือกซื้อสิ่งของตามความจำเป็น ไม่ซื้อสิ่งของที่ฟุ่มเฟือยหรือราคาแพงเกิน
–	 รู้จักนำเศษวัสดุที่มีอยู่มาประดิษฐ์เป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่สามารถทำเองได้เพราะช่วยประหยัดเงิน เช่น
นำกล่องกระดาษมาประดิษฐ์เป็นที่คั่นหนังสือ
–	 รู้จักซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ชำรุด
–	 รู้จักเก็บออมเงิน
การที่เรารู้จักนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ชีวิตประจำวัน เป็นการช่วยพ่อแม่ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว ซึ่ง
เป็นการช่วยแบ่งเบาภาระของพ่อแม่ได้ส่วนหนึ่งด้วย
ใบความรู้
เรื่องการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
94
หลักเศรษฐกิจพอเพียง	
หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
ของเรา ที่เน้นการดำเนินชีวิตอยู่แบบพอมีพอกิน ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย แล้วค่อยๆ พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนทำให้ครอบครัวมี
ความเป็นอยู่ดีขึ้น เมื่อแต่ละครอบครัวสามารถพึ่งพาตนเองได้ ก็จะทำให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเข้มแข็งด้วย
การดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพัฒนาได้ใน 3 ระดับ
ใบความรู้
เรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง
1.	 ระดับครอบครัว
	 –	 การปลูกพืชผักผลไม้หรือเลี้ยงสัตว์ไว้กินภายในครอบครัว
2.	 ระดับชุมชน
	 –	 เมื่อผลผลิตที่ผลิตไว้มีมากก็นำไปจำหน่ายในชุมชน
3.	 ระดับประเทศ
	 –	 สร้างเครือข่ายระบบเศรษฐกิจในชุมชน เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสหกรณ์ เพื่อหาตลาดจำหน่ายผลผลิต
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet

More Related Content

What's hot

แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2ทับทิม เจริญตา
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 

What's hot (20)

แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet

  • 1. 106 ภาคผนวก 1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงมีพระราชประวัติอย่างไรสุทธิภิบาลแทนและสุวัฒน์ แก้วสังข์ทอง (คัดบางตอนจาก เปิดโลกประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ : สุทธิ ภิบาลแทน และสุวัฒน์ แก้วสังข์ทอง) – พระนามเดิมว่า “ทองด้วง” ประสูติเมื่อ 20 มีนาคม 2274 ที่กรุงศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ ได้รับราชการด้วยความสามารถและเสี่ยงชีวิตเพื่อปกป้องและรักษาแผ่นดิน จนตกทอดมาเป็น มรดกให้คนไทยมีประเทศ มีที่อยู่อาศัยทำกินจนทุกวันนี้ – ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นเจ้าต่างกรม มีพระนามว่า “สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ” 2. สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ขึ้นครองราชสมบัติเพราะเหตุใด และได้จัดการเกี่ยวกับบ้านเมืองอย่างไร – พระเจ้ากรุงธนบุรีมีสติฟั่นเฟือน บำเพ็ญกรณียกิจที่ไม่สมควรและก่อให้เกิดความยุ่งยากขึ้นหลายอย่าง ทำให้ศาสนาและประชาชนได้รับความเดือดร้อน จึงเกิดกบฏจับเอาพระองค์ไว้ และให้ผนวชเสียที่ วัดแจ้ง – สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ เป็นแม่ทัพใหญ่ทำศึกคู่กันมากับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงเป็นที่ เกรงกลัว รักใคร่ของคนทั่วไป ราษฎรจึงทูลเชิญให้ครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี – พระองค์จึงทรงย้ายเมืองหลวงมาตั้งที่ฝั่งตรงข้ามกับเมืองธนบุรี แล้วปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์ ราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2324 3. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่ฝั่งซ้ายของ แม่น้ำเจ้าพระยา – ที่ตั้งพระราชวังเดิมที่อยู่ระหว่างวัดแจ้งกับวัดท้ายตลาด สถานที่คับแคบ มิอาจขยายเขตพระราชวัง ออกไปได้อีก – เมืองธนบุรีเดิมมีบ้านเรือนหนาแน่น แต่ปราการป้องกันพระนครอยู่ด้านฝั่งขวา เมื่อข้าศึกยกมาก็ยาก แก่การจัดกำลังป้องกัน – ที่ตั้งวังเดิมของกรุงธนบุรีอยู่ตรงคุ้มน้ำใหญ่พอดีฝั่งด้านนั้นถูกกระแสน้ำเซาะพังเข้าไปเรื่อยๆ ไม่ปลอดภัย แก่สิ่งปลูกสร้างถาวร – ทางฝั่งซ้ายซึ่งอยู่ในอ้อมคุ้งแม่น้ำ เป็นที่สูง สามารถตั้งบ้านเมืองและปลูกสร้างสิ่งถาวรได้ดี และใช้ แม่น้ำเป็นคูเมืองทั้งสองด้านได้ด้วย และสามารถขุดคูล้อมเมืองป้องกันข้าศึกได้ง่ายกว่า หมายเหตุ ดูภาคผนวกกลุ่มสาระสังคม ป.4 - ป.6 ประกอบด้วย และดูแผนที่ประกอบ
  • 2. 107 การศึกษาเรื่องราวในอดีตเกี่ยวกับตัวเองจะต้องมีหลักฐานและเหตุการณ์ประกอบในการแสดงข้อมูลต่างๆ เพื่อ จะให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและความเป็นมาของตนเอง ในการศึกษาเรื่องของตนเองนั้นมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตนเองเท่านั้น เช่น บิดา มารดา ผู้ปกครอง บ้านเลขที่ โทรศัพท์ การเกิด การเข้าเรียน เป็นต้น หลักฐานและข้อมูลนี้เกี่ยวข้องในการศึกษา ได้แก่ บันทึกการคลอด สูติบัตร ทะเบียนบ้าน สิ่งของที่ญาติมอบให้ รูปถ่าย เป็นต้น ใบความรู้ คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาความเป็นมาของตนเอง โดยหาหลักฐานข้อมูลมาประกอบ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ และน่าเชื่อถือ ได้ว่าเป็นเรา ครอบครัวของเรา ใบกิจกรรม เรื่องการศึกษาความเป็นมาของตนเอง หัวข้อที่ศึกษา อดีตของตัวฉัน หลักฐานข้อมูลที่พบ / แหล่งข้อมูล ข้อมูลจากการสัมภาษณ์สอบถาม จาก พ่อ แม่ ญาติ พี่น้อง และ ผู้ใกล้ชิด เช่น ชอบอาหาร......................................................................... คำพูด......................................................................................... พฤติกรรมที่ปฏิบัติ.................................................. ข้อมูลจากการสำรวจหรือเอกสาร ที่หาได้ สำรวจสิ่งที่เป็นวัตถุ เช่น – ของเล่น – บันทึกการคลอด ข้อมูลจากการสังเกตเรื่องสนทนา – ภาษาที่พ่อแม่พูด – สามารถเลือกเล่นและทำงาน ร่วมกับเพื่อนหรือไม่ หลักฐานข้อมูลแยกเป็นประเภทต่างๆ 1. ประเภทเอกสาร..................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ประเภทคำบอกเล่า............................................................................................................................................................................................................................................ 3. ประเภทรูปภาพ...................................................................................................................................................................................................................................................... 4. ประเภทวัตถุ............................................................................................................................................................................................................................................................... 5. ประเภทสถานที่.....................................................................................................................................................................................................................................................
  • 3. 108 ชื่อ.......................................................................................................................................นามสกุล................................................................................................................ชื่อเล่น.................................................. วัน เดือน ปีเกิด.........................................................................ลักษณะนิสัย...................................................................................................................................................................................................... อยู่บ้านเลขที่............................................................หมู่............................หมู่บ้าน............................................................................................ตำบล............................................................................................... อำเภอ..................................................................................................................จังหวัด.....................................................................................................รหัสไปรษณีย์.......................................................... ชื่อบิดา......................................................................................................................................................อาชีพ.................................................................................................................................................................... ชื่อมารดา...............................................................................................................................................อาชีพ..................................................................................................................................................................... ชื่อเพื่อนนักเรียนที่ชอบ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ เมื่อฉันโตขึ้นอยากประกอบอาชีพเป็น.................................................................................................................................................................................................................................................. เพราะ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ จงเติมข้อมูลของตนเองและข้อมูลของครอบครัวให้สมบูรณ์ พร้อมกับติดภาพของตนเอง ข้อมูลของตนเอง
  • 4. 109 1. ครอบครัวของฉันอาศัยอยู่ที่ บ้านเลขที่....................................................หมู่...................หมู่บ้าน............................................................................................ถนน.............................................................................................. ตำบล.....................................................................................................................................................อำเภอ....................................................................................................................................................... จังหวัด........................................................................................................................................................................................รหัสไปรษณีย์......................................................................................... 2. สมาชิกในครอบครัว มี.................................................คน เป็นหญิง............................................คน เป็นชาย...............................................คน ได้แก่............................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 3. ข้อมูลส่วนตัวของคนในครอบครัว ได้แก่ 1. ชื่อ.......................................................................................................................................................นามสกุล......................................................................................................................................... วัน เดือน ปี ที่เกิด..........................................................................................................................................................................................ปัจจุบันอายุ..............................................ปี เกี่ยวข้องกับฉัน เป็น........................................................................อาชีพ.............................................................................................................................................................................. 2. ชื่อ.......................................................................................................................................................นามสกุล......................................................................................................................................... วัน เดือน ปี ที่เกิด..........................................................................................................................................................................................ปัจจุบันอายุ..............................................ปี เกี่ยวข้องกับฉัน เป็น........................................................................อาชีพ.............................................................................................................................................................................. 3. ชื่อ.......................................................................................................................................................นามสกุล......................................................................................................................................... วัน เดือน ปี ที่เกิด..........................................................................................................................................................................................ปัจจุบันอายุ..............................................ปี เกี่ยวข้องกับฉัน เป็น........................................................................อาชีพ.............................................................................................................................................................................. ข้อมูลของครอบครัว
  • 5. 110 สาระสำคัญ การดำเนินชีวิตของแต่ละคนจะมีทั้งรายรับ รายจ่าย ซึ่งจะต้องดูแลให้บังเกิดความสมดุล ครอบครัวควรจัดหา รายได้ ซึ่งถือเป็นรายรับ และจัดจ่ายตามความจำเป็น ไม่ให้มากกว่ารายรับหรือมากกว่าที่จัดหามา ทั้งนี้เพื่อป้องกันปัญหา หนี้สินอันจะทำให้เกิดปัญหาความทุกข์ยากของครอบครัว 1. ความหมาย รายรับ หมายถึง จำนวนเงินที่ได้รับจากผลการทำงาน เช่น ชาวนาทำนาได้ข้าว และนำข้าวไปขายได้เงิน ชาวสวนนำผลไม้ไปขายได้เงิน ข้าราชการได้เงินเดือน ช่างไม้รับปลูกบ้าน ได้เงินค่าจ้างฯ รายจ่าย หมายถึง จำนวนเงินที่ได้รับ และนำมาจ่ายเป็นค่าครองชีพ ให้ดำรงชีวิตอยู่ตามอัตภาพ ความสุข 2. การปฏิบัติตนของครอบครัวที่ดีจะต้องจัดสรรรายรับให้เป็นสัดส่วนพอดี เช่น 1. การจัดรายรับส่วนหนึ่งเป็นเงินออม เพื่อนำมาใช้ในยามฉุกเฉิน เช่น คนในครอบครัวเจ็บป่วย ต้อง เข้ารับการรักษา นำเงินที่เก็บออมไว้ใช้ยามชรา 2. นำรายรับส่วนหนึ่งมาใช้จ่ายเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามอัตภาพของตน โดยประหยัดและไม่ฟุ้งเฟ้อ รายจ่ายที่จำเป็น ได้แก่ ปัจจัย 4 มี อาหาร ยารักษาโรค ค่าเช่าหรือค่าผ่อนซื้อบ้าน ค่าเครื่องนุ่งห่ม และ รายจ่ายที่จำเป็น เช่น ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค ค่าน้ำ ไฟ โทรศัพท์ เงินประกันชีวิต 3. นำรายรับส่วนหนึ่งไว้สำหรับเป็นค่าใช้จ่าย ส่งเสริมความรู้ ความเจริญก้าวหน้าของสมาชิกในครอบครัว หรือของตนเอง เช่น เป็นค่าเล่าเรียนบุตรหลาน ค่าเล่าเรียนศึกษาความก้าวหน้าของตนเอง เป็นต้น 3. ที่มาของรายรับของครอบครัว รายรับครอบครัว มาจาก สมาชิกซึ่งอาจจะเป็น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ช่วยกันประกอบอาชีพ ซึ่งแต่ละ ครอบครัวจะประกอบอาชีพแตกต่างกันไปตามความถนัด ความสามารถ และสภาพแวดล้อม อาชีพที่สำคัญ ได้แก่ 1. อาชีพเกษตรกรรม การประมง การทำไร่ การทำนา ทำสวน 2. อาชีพค้าขาย ขายของชำ ขายผัก ขายหมู ขายเครื่องใช้ ขายขนม ฯลฯ 3. อาชีพข้าราชการ หรือลูกจ้าง ได้แก่ การปฏิบัติงาน รับเงินเดือนจากรัฐบาล หรือรับเงินค่าจ้างรายเดือน จาก บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ 4. อาชีพรับจ้าง ได้แก่ การรับสร้างบ้าน การซ่อมแซมเครื่องใช้ อุปกรณ์ไฟฟ้า การรับจ้างติดตั้งไฟฟ้า ประปา ฯลฯ 5. อาชีพจัดทำงานอุตสาหกรรม หัตถกรรมต่างๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมเหล็ก โรงงานทอผ้า ฯลฯ 6. อาชีพอื่นๆ เช่น รับเลี้ยงเด็ก รับซักรีดเสื้อผ้า ฯลฯ ใบความรู้ เรื่องสาระเนื้อเรื่องการรับ - จ่าย
  • 6. 111 4. หลักการประกอบอาชีพจัดหารายได้ 1. อาชีพทุกประเภท มีความสำคัญเท่าเทียมกัน เพราะถือว่าเป็นอาชีพที่สุจริต ไม่ทำให้เกิดความเสียหาย แก่ตนและสังคม 2. ต้องมีความตั้งใจและขยันขันแข็งในการทำงาน เพื่อให้เกิดรายได้แก่ครอบครัว และดำเนินชีวิตไปได้ดี ไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อตนเองและสังคม 3. ต้องมีความซื่อสัตย์ต่ออาชีพ เช่น ค้าขาย ไม่โกงน้ำหนักตราชั่ง ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ไม่เกียจคร้าน หรือ อู้งาน ฯลฯ 4. ต้องพัฒนาอาชีพของตน ตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เรียกว่า “แนวเศรษฐกิจ พอเพียง”
  • 7. 112 นักเรียนจำได้หรือไม่ว่า เมื่อตอนเรายังเป็นเด็กเล็กๆ ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ใครเป็นผู้ดูแลเรา คอย ป้อนข้าว ป้อนนม อาบน้ำให้ ใบความรู้ เรื่องข้อตกลงในครอบครัว เมื่อเราเติบโตขึ้นมา สามารถช่วยเหลือตนเองได้บางเรื่อง แต่พ่อแม่ก็ยังต้องคอยดูแลเรา และคุ้มครองป้องกัน ไม่ให้ผู้อื่นมาทำร้ายร่างกายเรา การที่พ่อแม่คอยดูแลเรา ให้ความรัก และให้ความอบอุ่นแก่เรานั้นเป็นไปตามธรรมชาติ เพราะพ่อแม่ย่อม ต้องรักลูกของตนเอง แต่บางครั้งก็มีเด็กที่โชคร้ายที่ไม่ได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่จากพ่อแม่ ทำให้เด็กขาดที่พึ่งและอาจ ได้รับอันตรายได้ ดังนั้น รัฐจึงมีการรับรองและคุ้มครองสิทธิของเด็ก เพราะเด็กยังอ่อนเยาว์ ไร้เดียงสา และขาดประสบการณ์ ยังไม่สามารถคุ้มครองตนเองได้เต็มที่ จึงอาจถูกทำร้ายหรือถูกทำทารุณได้ง่าย ครอบครัวประกอบด้วยสมาชิก ได้แก่ พ่อ แม่ ลูก หรือบางครั้งมีสมาชิกคนอื่นๆ ร่วมอยู่ด้วย ซึ่งสมาชิก แต่ละคนอาจมีความต้องการและความสนใจที่แตกต่างกัน แต่ทำอย่างไรจะทำให้สมาชิกที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข สมาชิกในครอบครัวสามารถทำข้อตกลงร่วมกันได้ หรือจะเรียกว่าเป็นกฎกติกาภายในครอบครัวก็ได้ ข้อตกลง ในครอบครัว อาจเหมือนหรือแตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับแต่ละครอบครัว และเมื่อกำหนดข้อตกลงร่วมกันแล้ว สิ่งที่สำคัญ คือ ทุกคนต้องพร้อมใจกันปฏิบัติตามข้อตกลง
  • 8. 113 1. ลูกๆ ต้องเข้านอนดึกเกินไป เพราะจะทำให้นอนตื่นสาย และไปไม่ทันโรงเรียนเช้า 2. เมื่อกลับจากโรงเรียน ต้องรีบอาบน้ำ เปลี่ยนเสื้อผ้า และทำการบ้านให้เสร็จก่อน จึงจะดูโทรทัศน์ได้ 3. ลูกๆ ต้องรู้จักช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน โดยไม่ต้องให้พ่อแม่เตือน 4. เมื่อมีปัญหา ให้ปรึกษาพ่อแม่ทุกครั้ง และไม่ควรใช้กำลังในการตัดสินปัญหา แบบทดสอบโดยการถาม - ตอบ คำชี้แจง เขียนเครื่องหมาย P ในรายการที่นักเรียน ผ่าน ตามเกณฑ์การประเมินในหน่วยหน้าที่พลเมืองดีในระบบ ประชาธิปไตย เลขที่ ชื่อ - สกุล 1. บอกหน้าที่ของสมาชิก ในครอบครัวได้ 2. บอกหน้าที่ของตนเอง ในครอบครัวได้ 3. บอกลักษณะของสมาชิกที่ดี ในครอบครัวได้ 4. บอกผลดีของการเป็นสมาชิกที่ดี ในครอบครัวได้ 5. บอกผลเสียของการเป็นสมาชิกที่ดี ในครอบครัวได้
  • 9. 114 1. อาชีพในชุมชน ในชุมชนประกอบด้วยคนมากมาย อาชีพของคนในชุมชนจึงมีหลากหลายอาชีพ แต่ละอาชีพทำหน้าที่แตก ต่างกัน อาชีพที่พบเห็นมากในชุมชน เช่น 1. อาชีพเกษตรกรรม เป็นอาชีพที่เกี่ยวกับการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาเป็นเวลาช้านานแล้ว อาชีพเกษตรกรรมที่ควรรู้จักมีหลายอาชีพ ดังนี้ ใบความรู้ เรื่องอาชีพในชุมชน 1) ทำนา  เป็นอาชีพส่วนใหญ่ของคนไทยตั้งแต่อดีต เพราะคนไทยกินข้าวเป็นอาหารหลัก ผู้ที่ประกอบ อาชีพทำนาเรียกว่า ชาวนา อาชีพทำนาเป็นอาชีพที่สำคัญ เพราะเป็นอาชีพที่ผลิตข้าวเลี้ยงคนใน ประเทศไทย ชาวนาจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นกระดูกสันหลังของชาติ 2) ทำสวน  เป็นอาชีพที่ปลูกผักหรือผลไม้ ผู้ที่ประกอบอาชีพทำสวน เรียกว่า ชาวสวน 3) ทำไร่  เป็นอาชีพที่ปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด สับปะรด ผู้ที่ประกอบอาชีพทำไร่ เรียกว่า ชาวไร่ 4) เลี้ยงสัตว์  สัตว์ที่นิยมนำมาเลี้ยงเพื่อจำหน่าย เช่น เป็ด ไก่ หมู 5) ทำประมง  เป็นอาชีพที่จับสัตว์น้ำหรือเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ผู้ที่ประกอบอาชีพประมง เรียกว่า ชาวประมง มักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ 2. อาชีพอุตสาหกรรม เป็นอาชีพที่นำวัตถุดิบที่ได้จากทรัพยากรธรรมชาติ และนำเกษตรกรรมมาผลิตเป็นสินค้าที่ใช้เครื่องจักร เช่น อุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ ปลากระป๋อง ผลไม้กระป๋อง ผลไม้อบแห้ง อุตสาหกรรมสิ่งทอ ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป 3. อาชีพหัตถกรรม เป็นอาชีพที่นำเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ด้วยมือเป็นสินค้า เช่น ผ้าทอ เครื่องจักสาน เครื่องปั้น ดินเผา ไม้แกะสลัก
  • 10. 115 4. อาชีพค้าขาย เป็นอาชีพที่จำหน่ายหรือรับแลกเปลี่ยนสินค้าต่างๆ ผู้ที่ประกอบอาชีพค้าขาย เรียกว่า พ่อค้าแม่ค้า ผู้ที่ค้าขาย มักอาศัยอยู่ในบริเวณชุมชนเพราะจะได้มีลูกค้ามาซื้อสินค้ามากๆ 5. อาชีพบริการ เป็นอาชีพที่เกี่ยวกับการให้ความสะดวกแก่คนในชุมชน เช่น พนักงานขับรถ ช่างตัดเสื้อ ช่างตัดผม ช่าง เสริมสวยพนักงานเสิร์ฟอาหารเป็นต้น นอกจากนี้ อาชีพรับราชการ ซึ่งเป็นคนที่ทำงานให้กับรัฐบาลก็จัดเป็นอาชีพบริการอาชีพหนึ่ง อาชีพรับราชการ มีมากมายหลายอาชีพขึ้นอยู่กับหน่วยงาน เช่น ครู หมอ ตำรวจ ทหาร เป็นต้น ผู้ที่รับราชการ มีหน้าที่ให้บริการด้านต่างๆ แก่ประชาชน
  • 11. 116 เรื่อง ครอบครัวของฉัน “การปฏิบัติตนเป็นลูกที่ดี” คำชี้แจง ให้นักเรียนดูภาพ แล้วเขียนเครื่องหมาย P ใน £ ภาพที่ควรปฏิบัติ และ Õ ใน £ ภาพที่ไม่ควรปฏิบัติ เสร็จแล้วระบายสีภาพที่ควรปฏิบัติให้สวยงาม ใบความรู้ ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... ผลการประเมิน £  ดีมาก £  ดี £  พอใช้ £  ปรับปรุง
  • 12. 117 คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนบอกกิจกรรมที่ควรปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 1. ทำบุญตักบาตร 2. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ให้นักเรียนระบายสีภาพกิจกรรมที่ควรปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... ผลการประเมิน £  ดีมาก £  ดี £  พอใช้ £  ปรับปรุง
  • 13. 118 คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความโดยการโยงข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน และระบายสี ตอน “พระพุทธเจ้าประสูติ” ให้สวยงาม 1. สิทธัตถะ £ £ ก. พระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ 2. ราหุล £ £ ข. พระนามเดิมของพระพุทธเจ้า 3. พระเจ้าสุทโธทนะ £ £ ค. พระมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ 4. พระนางสิริมหามายา £ £ ง. พระราชโอรสของเจ้าชายสิทธัตถะ ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... ผลการประเมิน £  ดีมาก £  ดี £  พอใช้ £  ปรับปรุง พระพุทธเจ้าประสูติ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
  • 14. 119 เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธศาสนา คำชี้แจง ให้นักเรียนโยงภาพด้านซ้ายกับข้อความด้านขวา ให้สัมพันธ์กัน แล้วระบายสีภาพให้สวยงาม ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... แบ่งปันกัน 1. 2. 3. ไม่ทะเลาะกัน มีระเบียบวินัย
  • 15. 120 เรื่อง วันสำคัญทางศาสนา “วันวิสาขบูชา” ในวันสำคัญทางศานา “วันวิสาขบูชา” นักเรียนซึ่งเป็นชาวพุทธ ควรไปร่วมกิจกรรมทางศาสนา ดังนี้ 1. ทำบุญตักบาตร 2. ฟังเทศน์ 3. เวียนเทียน 4. บริจาคทาน คำชี้แจง ให้นักเรียนระบายสีภาพกิจกรรม การเวียนเทียน ให้สวยงาม และคัด คำ “เวียนเทียน” เพิ่มจากที่กำหนดให้ อีก 3 ครั้ง ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... ผลการประเมิน £  ดีมาก £  ดี £  พอใช้ £  ปรับปรุง
  • 16. 121 เรื่อง อาชีพของครอบครัว คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่อาชีพโดยสัมพันธ์กับข้อความด้านขวามือให้ถูกต้อง 1. ชาวนา £ £ ขายผัก ผลไม้ 2. ชาวประมง £ £ จับผู้ร้าย 3. แม่ค้า £ £ นักเรียน 4. ตำรวจ £ £ ปลูกข้าว 5. ครู £ £ ปลา กุ้ง หอย ปู 6. บุรุษไปรษณีย์ £ £ คนไข้ 7. พยาบาล £ £ ส่งจดหมาย ในอนาคตฉันอยากมีอาชีพ............................................................................................................................................................................................................................................. ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... ผลการประเมิน £  ดีมาก £  ดี £  พอใช้ £  ปรับปรุง
  • 17. 122 คำชี้แจง ให้นักเรียนระบายสีภาพแผนผังชุมชนของนักเรียน และเขียนชื่อสถานที่สำคัญในชุมชน ด้านล่างที่ กำหนดให้ ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... สถานที่สำคัญในชุมชนของฉัน ได้แก่ 1. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
  • 18. 123 เรื่อง สถานที่สำคัญในชุมชน คำชี้แจง ให้นักเรียนบอกสถานที่สำคัญในชุมชนดังต่อไปนี้ 1. โรงเรียน ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. โรงพยาบาล ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. สนามเด็กเล่น ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 4. วัด ให้บริการแก่ชุมชนในด้านใด .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 5. ให้นักเรียนระบายสีภาพโรงเรียนของฉันให้สวยงาม ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่....................................
  • 19. 124 เรื่อง การออมของฉัน คำชี้แจง ให้นักเรียนบอกวิธีการออมเงิน ที่นักเรียนทำได้ ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.1/......................................เลขที่.................................... 2. ให้นักเรียนวาดภาพกระปุกออมสิน สำหรับการออมเงินคนละ 1 ชิ้น พร้อมกับตกแต่งระบายให้สวยงาม ผลการประเมิน £  ดีมาก £  ดี £  พอใช้ £  ปรับปรุง วิธีการออมเงิน ของฉัน
  • 20. 125 เรื่อง หลักธรรมเบื้องต้น “โอวาท 3” คำชี้แจง ให้นักเรียนสำรวจตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม ตามความเป็นจริง แล้ว บันทึกผล ใบกิจกรรม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.2/......................................เลขที่.................................... สำรวจตนเองดูซิว่าเคยทำไม่ดีอย่างไร และอย่าลืมนำไปปรับปรุงแก้ไขตนเองด้วยนะคะ กิจกรรมที่ทำ การปฏิบัติตน เคยทำ P ไม่เคยทำ Õ 1.  แกล้งสัตว์เพื่อความสนุกสนาน 2.  ฆ่าสัตว์ 3.  ช่วยเหลือสัตว์ที่บาดเจ็บ 4.  ให้อาหารสุนัขหรือแมวจรจัด 5.  หยิบของของเพื่อนมาเป็นของตนเอง 6.  เก็บของได้แล้วไม่ส่งคืนเจ้าของ 7.  พูดโกหกพ่อแม่ 8.  พูดโกหกครู 9.  พูดโกหกเพื่อน 10.  ทำความผิดแล้วบอกว่าไม่ได้ทำ หรือโทษผู้อื่น
  • 21. 126 ใบสังเกตการทำกิจกรรม คำชี้แจง เขียนเครื่องหมาย P ในช่องระดับคุณภาพ ที่ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การประเมิน 3 2 1 1 2 3 ความสนใจ ความกระตือรือร้น ความร่วมมือ 3  หมายถึง  ดี 2  หมายถึง  พอใช้ 1  หมายถึง  ควรปรับปรุง ใบสังเกตการทำกิจกรรม คำชี้แจง เขียนเครื่องหมาย P ในช่องระดับคุณภาพ ที่ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1 1 2 3 4 5 ความร่วมมือ ความถูกต้อง ความมีระเบียบวินัย ความสำเร็จของงาน พูดเสียงดังฟังชัด 4  หมายถึง  ดีมาก 3  หมายถึง  ดี 2  หมายถึง  พอใช้ 1  หมายถึง  ปรับปรุง
  • 22. 127 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้.......................................................................................................................................................... รายชื่อสมาชิก 1. ......................................................................................................................................... 2. ........................................................................................................................................ 3. ......................................................................................................................................... 4. ........................................................................................................................................ 5. ......................................................................................................................................... 6. ........................................................................................................................................ คำชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย P ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของกลุ่มตามความเป็นจริง แบบประเมินตนเองในการทำงานกลุ่ม ชื่อ..........................................................................................................................................................ชั้น ป.2/......................................เลขที่.................................... หมายเหตุ หัวข้อการประเมินอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม การสรุปผลการประเมินผ่านเกณฑ์/ไม่ผ่านเกณฑ์เป็นไปตามสถานศึกษากำหนด ลงชื่อ.......................................................................................................ผู้ประเมิน (....................................................................................................) ......................../......................../........................ ลำดับที่ หัวข้อประเมิน ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 ทุกคนรู้หน้าที่ว่าจะต้องทำอะไร ทุกคนในกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็น ทุกคนในกลุ่มช่วยกันตัดสินใจ มีผู้อาสาจดบันทึก มีผู้คอยกระตุ้นสมาชิกและควบคุมเวลาในการทำงาน ทุกคนช่วยกันเตรียมการนำเสนอ กิจกรรมนี้มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้จริง
  • 24. 129
  • 25. 130
  • 26. 131
  • 27. 132
  • 28. 133
  • 29. 134 บรรณานุกรม กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา เล่ม เม.ย. 47, ส.ค. 47, ธ.ค. 47 เทศบาลตำบลหัวหิน งานประชาสัมพันธ์ กองวิชาการเกษตรและแผนงานที่ระลึก 65 ปี เทศบาลตำบลหัวหิน 1 ต.ค. 2545 แนวการจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ สำนักมาตรฐานการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 30. 96 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ป 1/1 บอกพุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือโดยสังเขป ส 1.1 ป 1/2 ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่อง เล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ส 1.1 ป 1/3 บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือที่กำหนด ส 1.1 ป 1/4 เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ส 1.1 ป 2/1 บอกความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ส 1.1 ป 2/2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการออกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กำหนด ส 1.1 ป 2/3 ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ส 1.1 ป 2/4 บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ส 1.1 ป 2/5 ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา ส 1.1 ป 2/6 เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ส 1.1 ป 2/7 บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสำคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่นๆ ส 1.1 ป 3/1 อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็น รากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย ส 1.1 ป 3/2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่การบำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดา ที่ตนนับถือตามที่กำหนด ส 1.1 ป 3/3 ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวกชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กำหนด ส 1.1 ป 3/4 บอกความหมาย ความสำคัญของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ ส 1.1 ป 3/5 แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธ- ศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนรู้ที่1ตัวเราเรื่องศาสนาของเราระยะเวลาในการสอน4ชั่วโมง
  • 31. 97 สาระสำคัญ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย พุทธประวัติตั้งแต่การบำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ การดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง การแสดงความเคารพพระรัตนตรัยและปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3 ใน พระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ 2. สาระการเรียนรู้ 1. พระพุทธประวัติ (หรือศาสนาที่ตนนับถือ) 2. รักษาศีล 5 3. ฝึกสมาธิ สวดมนต์ อาราธนาศีล ถวายสังฆทาน แผ่เมตตา 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกได้ว่า นักเรียนได้อะไรจากการเรียนรู้พุทธประวัติ 2. นักเรียนรักษาศีล 5 ได้ 3. มีความซื่อสัตย์ อดทน อดกลั้น ประหยัด และมีเหตุผล 4. ทำสมาธิได้ สวดมนต์ อาราธนาศีล ถวายสังฆทานได้เหมาะสมกับวัย 5. รู้จักแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้อย่างสมเหตุสมผล 6. นักเรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง 1. ครูเล่านิทานชาดกเกี่ยวกับพุทธประวัติ มีภาพประกอบ มีแผนภูมิภาพ คำถาม บัตรคำ - บัตรภาพ หนังสือชาดก นิทาน หนังสือพุทธประวัติ เพื่อสอนตรงตามจุดประสงค์ 2. การเรียนรู้ในการเล่านิทาน และพระพุทธประวัติให้พัฒนาความสามารถ เด็ก โดยยึดความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อ ให้ตรงกับความสนใจของเด็ก – กระตุ้นยั่วยุด้วยภาพ ด้วยคำถาม ด้วยลีลาท่าทาง น้ำเสียง - สื่อสิ่งเร้า ต่างๆ พร้อมทั้งชมเชย ให้กำลังใจเมื่อเด็กร่วมมือด้วยบรรยากาศที่เป็น มิตร – ครูจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ปรับแต่งสาระตามความถนัด และความสนใจภายใต้การชี้นำของครู – บางเรื่อง บางตอน ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ และเปิด โอกาสให้นักเรียนสร้างและนำเสนอผลการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง – กลุ่มนักเรียนอ่านนิทานชาดก, พระพุทธประวัติแล้วมาเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน – อภิปราย ซักถาม
  • 32. 98 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมขั้นพื้นฐานของศาสนา เพื่อ การอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ยกตัวอย่างข่าวในหนังสือพิมพ์เป็นหัวข้อ สนทนา ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถามปัญหาที่สงสัยจากการอ่านข่าว เชิญพิธีกรผู้รู้ ผู้ปกครองร่วมสนทนา สรุปปัญหาและข้อความปฏิบัติไว้ เป็น “ข้อตกลงของเรา” ที่เด็ก - ลูกศิษย์ควรปฏิบัติ – นำเทคนิคการสอนของพระพุทธเจ้ามาปรับใช้ให้เหมาะกับวัยของเด็ก และสถานการณ์ พระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติในยุคที่ชมพูทวีปเป็นถิ่นนักปราชญ์ เต็ม ไปด้วยศาสตราจารย์ เจ้าลัทธิต่างๆ แต่พระพุทธเจ้าสามารถประสบชัย ในการสอน หลักการสอนของพระองค์ยิ่งใหญ่และประเสริฐ สมควร ศึกษาและน้อมนำมาปฏิบัติ ตามหลักพระพุทธศาสนาถือว่า ความทุกข์ ความเดือดร้อน และ ปัญหาชีวิตของมนุษย์เกิดจากตัณหา คือความอยาก ความต้องการ ความ เห็นแก่ตัว ซึ่งเกิดจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจ ไม่มองเห็นสิ่งทั้งหลายตามที่ มันเป็น มีทัศนคติต่อสิ่งทั้งหลายอย่างไม่ถูกต้อง ซึ่งเรียกว่า อวิชชา ควรจะแก้ปัญหาจึงต้องกำจัด “อวิชชา” นั่นคือ ภารกิจสำคัญของ การศึกษา คือการฝึกอบรมบุคคลให้พัฒนาปัญญา เกิดความรู้ ความ เข้าใจในข้อเท็จจริงและสภาวะของสิ่งทั้งหลายมีทัศนคติต่อสิ่งทั้งหลาย อย่างถูกต้อง ปฏิบัติและจัดการกับสิ่งทั้งหลายตามที่ควรจะเป็น เพื่อให้ เกิดเป็นประโยชน์ตน คือ ความมีชีวิตอยู่ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง – ข้อความกำหนดในการสอน ภารกิจสำคัญของการศึกษาได้แก่ ช่วยให้บุคคลเกิดทัศนคติที่ถูกต้อง ¶ พัฒนาปัญญา ¶ ชี้นำ/อำนวยโอกาส ¶ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ¶ เป็นอิสระในการคิด, ซักถามโต้ตอบ - สืบเสาะความจริง วางเป็นข้อสรุปเกี่ยวกับการสอน ดังนี้ (1) ปัญญา เป็นสิ่งสร้างสรรค์ขึ้นภายในตัวผู้เรียนเอง (2) ผู้สอนทำหน้าที่เป็นกัลยาณมิตร ช่วยชี้นำการเรียน (3) วิธีสอน อุบาย และกลวิธีต่างๆ เป็นสื่อ หรือเป็นเครื่องผ่อน การเรียนการสอน (4) อิสรภาพในทางความคิด เป็นอุปกรณ์สำคัญในการสร้างปัญญา – คุณสมบัติของผู้สอน ก. บุคลิกภาพ พระพุทธเจ้าทรงมีพระลักษณะสง่างาม ควรแก่ศรัทธา ปสาทะทุกประการ พระสุรเสียงที่โน้มนำจิตใจ ไพเราะ สุภาพ สละสลวย กิริยามารยาทน่าเลื่อมใส ข. คุณธรรม พระปัญญาคุณ ยกตัวอย่างทศพลญาณ ความหมายส่วนที่ผู้สอนทั่วไปพอปฏิบัติได้
  • 33. 99 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหา และขอบเขต กฎเกณฑ์ และ หลักการต่างๆ ที่จะนำมาใช้สอน และรู้จักขีดความสามารถของ บุคคลระดับต่างๆ – มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เป็นอย่างดี – รู้วิธีการ และกลวิธีปฏิบัติต่างๆ ที่จะนำเข้าสู่เป้าหมายที่ต้องการ – มีความรู้ในวิชา สรีรวิทยา และจิตวิทยา – รู้ความแตกต่างระหว่างบุคคล – รู้ปัจจัยต่างๆ ที่จะเป็นอุปสรรค – รู้ประวัติ พื้นเพเดิม และประสบการณ์ – พิจารณา สังเกตดูผู้เรียน และพร้อมช่วยเหลือ – รู้ชัด แจ่มแจ้งว่าผลสัมฤทธิ์ที่เป็นจุดหมายนั้น คืออะไร เป็น อย่างไร และทำให้เกิดขึ้นได้จริง ค. เกี่ยวกับตัวการสอน – การเริ่มต้นเป็นจุดสำคัญ ที่ช่วยให้การสอนสำเร็จผล – สร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่งเพลิดเพลิน ไม่ให้ ตึงเครียด – สอนมุ่งให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่สอนเป็นสำคัญ ไม่ยกตน ไม่เสียดสีใคร – สอนโดยเคารพ คือตั้งใจสอน ทำจริง – ใช้ภาษาสุภาพ นุ่มนวล ไม่หยาบคาย – มีลีลาการสอนที่ชัดเจน ชักจูงให้เห็นจริง ให้เกิดกำลังใจและ ช่วยให้แช่มชื่น เบิกบาน ไม่เบื่อ วิธีสอนแบบต่างๆ – แบบสนทนา – แบบบรรยาย – แบบตอบปัญหา – แบบวางกฎข้อบังคับ ใช้กลวิธีและอุบายประกอบการสอน – ยกอุทาหรณ์ เล่านิทานประกอบ – เปรียบเทียบด้วยข้ออุปมา – ใช้อุปกรณ์การสอน – การทำเป็นตัวอย่าง – การเล่นภาษา เล่นคำ – อุบายเลือกคน และการปฏิบัติรายบุคคล – การรู้จักจังหวะ และโอกาส
  • 34. 100 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – ความยืดหยุ่นในการใช้วิธีการ – การลงโทษ และให้รางวัล – กลวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หมายเหตุ คัดย่อจาก “เทคนิคการสอนของพระพุทธเจ้า” พระเทพเวที (ประยุกต์ ปยุตฺโต) ให้ผู้สอนค้นคว้าเทคนิคอย่างละเอียดที่ใช้มาแล้วกว่าสองพันปี และมีความรู้ซาบซึ้งในพระพุทธศาสนา ใช้ได้ตั้งแต่ ป.1 - ป.6 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 1.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ส 4.1 ป 1/1 บอกวัน เดือน ปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ส 4.1 ป 1/2 เรียงลำดับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ตามวันเวลาที่เกิดขึ้น ส 4.1 ป 1/3 บอกประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัว โดยสอบถามผู้เกี่ยวข้อง ส 4.1 ป 2/1 ใช้คำระบุเวลาที่แสดงเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ส 4.1 ป 2/2 ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบครัวหรือในชีวิตของตนเองโดยใช้หลักฐานที่ เกี่ยวข้อง 2. สาระการเรียนรู้ 1. บอก วัน เดือน ปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทินไทย และสากลได้ 2. เปรียบเทียบการใช้ศักราชสำคัญในการบอกเวลา ตามปฏิทินไทยและสากลได้ 3. เล่าเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตโดยใช้คำระบุเวลาได้ถูกต้องเหมาะสม 4. แสดงความสำคัญเกี่ยวกับเหตุการณ์ใกล้ตัว และระบุแหล่งข้อมูลในการแสวงหาคำตอบได้ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนประวัติศาสตร์ เรื่องเหตุการณ์และเวลา ระยะเวลาในการสอน3ชั่วโมง
  • 35. 101
  • 36. 102
  • 37. 103
  • 38. 104
  • 39. 105 คุณมีโอกาสดับไฟ3ครั้ง 1. เมื่อรู้สึกว่าเกิดแผ่นดินไหว 2. เมื่อแผ่นดินไหวสงบ 3. เมื่อไฟกำลังจะเริ่มไหม้ อันดับแรกคือท่านต้องป้องกันตัวเองก่อนแล้วจึงช่วยดูแลครอบครัวและเพื่อนบ้านปกติแล้วคนเราสามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้72ชั่วโมงเมื่อติดอยู่ใต้ซากปรักหักพัง ดังนั้นการป้องกันการเกิดไฟไหม้จึงเป็นงานสำคัญอันดับแรกจะเริ่มการช่วยชีวิตได้เมื่อสถานการณ์ปลอดภัยแล้วเท่านั้นพยายามช่วยเหลือซึ่งกันและกันและ พยายามเต็มที่ในการดับไฟและช่วยเหลือผู้ที่ติดอยู่ใต้ซากปรักหักพังและบาดเจ็บ เรื่องที่ควร-ไม่ควรปฏิบัติระหว่าง-หลังเกิดแผ่นดินไหว
  • 40. 106 “การทำงานเป็นทีม”มีความสำคัญมากรวมทั้งการเตรียมการด้าน ความปลอดภัยแก่พนักงานและลูกค้าการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล การให้ความร่วมมือกันในด้านต่างๆกับชุมชนและสำนักงานใกล้เคียง อย่าตื่นตระหนกและทำอย่างระมัดระวัง – นำถังดับเพลิงไปยังที่เกิดไฟไหม้ดึงสลักนิรภัยก็ต่อเมื่อจะใช้งานเท่านั้น เพื่อป้องกันการฉีดก่อนเวลาหาแหล่งกำเนิดไฟ – อยู่ให้ต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงจากความร้อนและควันขณะเดินเข้าหาไฟชี้หัวฉีด ไปยังไฟและบีบคันโยกจนน้ำยาออก – เมื่อใช้เครื่องดับเพลิงชนิดน้ำบนผนังให้ฉีดจากบนลงล่างจากเพดาน ลงพื้น – หลังจากใช้เครื่องดับเพลิงชนิดผงเพื่อความแน่นอนควรใช้น้ำราดอีกครั้ง เพื่อไฟจะได้ไม่กลับมาติดอีกระวังอย่านำน้ำราดบนอุปกรณ์ไฟฟ้า – ขณะดับไฟควรเผื่อทางหนีไว้ด้วย
  • 41. 107
  • 42. 108
  • 43. 109 ภาคผนวก ทฤษฎีเดอโบโน เทคนิคการตั้งคำถาม โดยใช้หมวกความคิด 6 ใบหมวก หมวกสีขาว แสดงความเป็นกลาง หมายถึง ตัวเลข ข้อเท็จจริงต่างๆ ตัวอย่างการตั้งคำถามหมวกสีขาว – เรามีข้อมูลอะไรบ้าง – เราต้องการข้อมูลอะไรบ้าง – เราได้ข้อมูลที่ต้องการมาด้วยวิธีใด หมวกสีแดง เป็นการแสดงความรู้สึกของผู้คิด แสดงอารมณ์ สัญชาติญาณ ลางสังหรณ์ ความประทับใจ ตัวอย่างคำถามแบบหมวกสีแดง – เรารู้สึกอย่างไร – นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่ทำ – นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับความคิดนี้ หมวกสีดำ แสดงความมืดครึ้ม หมายถึง เหตุผลด้านลบ เหตุผลในการปฏิเสธ เป็นการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตัวอย่างคำถามหมวกสีดำ – อะไรเป็นจุดอ่อน – อะไรคือสิ่งที่ยุ่งยาก – อะไรคือสิ่งที่ผิดพลาด – เรื่องนี้มีจุดอ่อนตรงไหน หมวกสีเหลือง แสดงถึง เหตุผลทางบวก ความมั่นใจเหตุผลในการยอมรับ ตัวอย่างคำถามแบบหมวกสีเหลือง – จุดดีคืออะไร – ผลดีคืออะไร
  • 44. 110 หมวกสีเขียว หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์และความคิดใหม่ๆ หลบเลี่ยงความคิดเก่า มุมมองเก่า สู่ความคิดใหม่ ตัวอย่างคำถามหมวกสีเขียว – นักเรียนจะนำความคิดนี้ไปทำ (สร้าง ปรับปรุง พัฒนา) อย่างไรบ้าง – ถ้าจะให้สิ่งนี้ (ดีขึ้น) จะต้องเปลี่ยนอย่างไร หมวกสีฟ้า แสดงถึง ความเยือกเย็น ท้องฟ้า ซึ่งอยู่เหนือทุกสิ่งทุกอย่าง จึงหมายถึงการจัดระเบียบกระบวนการและ ขั้นตอน ตัวอย่างคำถามหมวกสีฟ้า – การคิดอะไรที่ต้องการ – ขั้นตอนต่อไปคืออะไร – การคิดอะไรที่ทำไปก่อนแล้ว การนำหมวกแต่ละใบไปใช้ หมวกสีขาว เป็นตัวแทนของข้อมูล ข่าวสาร เมื่อใช้หมวกสีขาว – ทุกคนจะพุ่งความสนใจไปที่ข้อมูลอะไรบ้าง – จำเป็นต้องใช้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือไม่ – ข้อมูลด้านใดที่ขาดหายไป – จะมีวิธีใดบ้างที่ได้ข้อมูลที่ต้องการ หมวกสีแดง แสดงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในขณะนั้น หมวกสีเขียว มุ่งความสนใจไปที่สิ่งที่น่าจะเป็นไปได้ – ความเป็นไปได้ ครอบคลุมวิธีการของสมมุติฐานในเชิงวิทยาศาสตร์ – การเตรียมความคิดและข้อมูล – ความเป็นไปนำมาซึ่งการใช้วิจารณญาณ – ความเป็นไปได้นำมาซึ่งวิสัยทัศน์ หมวกสีฟ้า มองภาพรวมเกี่ยวกับเรื่องที่คิดมาทั้งหมดและจัดกระบวนการคิด _________________________________________
  • 45. 111 แบบประเมินตนเองในการทำงานกลุ่ม ชั้น................................................................................................ภาคเรียนที่...........................ปีการศึกษา.............................................. สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้....................................................................... รายชื่อสมาชิก 1. ...................................................................................................... 2. ...................................................................................................... 3. ...................................................................................................... 4. ...................................................................................................... 5. ...................................................................................................... 6. ...................................................................................................... คำชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของกลุ่มตามความเป็นจริง ลำดับที่ หัวข้อประเมิน ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ หมายเหตุ 1 ทุกคนรู้หน้าที่ว่าจะต้องทำอะไร 2 ทุกคนในกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็น 3 ทุกคนในกลุ่มช่วยกันตัดสินใจ 4 มีผู้อาสาจดบันทึก 5 มีผู้คอยกระตุ้นสมาชิกและควบคุมเวลาในการทำงาน 6 ทุกคนช่วยกันเตรียมการนำเสนอ 7 กิจกรรมนี้มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้จริง หมายเหตุ หัวข้อการประเมินอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม การสรุปผลการประเมินผ่านเกณฑ์/ไม่ผ่านเกณฑ์เป็นไปตามสถานศึกษากำหนด ลงชื่อ..............................................................................................ผู้ประเมิน (..............................................................................................) ................../................../..................
  • 46. 112 แนวทางในการใช้ปัญญาศึกษาพุทธศาสนาให้ถึงแก่นแท้ 1. ควรยึดถือพระไตรปิฎก 2. ควรยึดหลักไม่เชื่องมงาย 10 ประการ ที่มีอยู่ในกาลามสูตร – อย่าถือโดยฟังตามๆ กันมา – อย่าถือโดยตื่นข่าว – อย่าถือโดยอ้างตำรา – อย่าถือโดยการเดา – อย่าถือโดยการคาดคะเน – อย่าถือโดยตรึกตรองตามอาการ – อย่าถือโดยชอบใจว่าต้องกับลัทธิของตน – อย่าถือโดยเชื่อว่าผู้พูดเป็นคนควรเชื่อได้ – อย่าถือโดยนับถือว่าสมณะนี้เป็นครูของเรา _________________________________________
  • 47. 93 ถึงแม้ว่าเราจะยังเป็นเด็ก และไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ แต่เราก็สามารถนำหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของเราได้ โดยอาศัยหลักการดำเนินชีวิตที่ว่า ให้อยู่แบบพออยู่พอกินไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย รู้จักประหยัดเก็บออม ซึ่งจะทำให้สามารถพึ่งตนเองได้ – รู้จักเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ – กินอาหารอย่างประหยัด ไม่ให้เหลือทิ้ง – เลือกซื้อสิ่งของตามความจำเป็น ไม่ซื้อสิ่งของที่ฟุ่มเฟือยหรือราคาแพงเกิน – รู้จักนำเศษวัสดุที่มีอยู่มาประดิษฐ์เป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่สามารถทำเองได้เพราะช่วยประหยัดเงิน เช่น นำกล่องกระดาษมาประดิษฐ์เป็นที่คั่นหนังสือ – รู้จักซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ชำรุด – รู้จักเก็บออมเงิน การที่เรารู้จักนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ชีวิตประจำวัน เป็นการช่วยพ่อแม่ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว ซึ่ง เป็นการช่วยแบ่งเบาภาระของพ่อแม่ได้ส่วนหนึ่งด้วย ใบความรู้ เรื่องการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  • 48. 94 หลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ของเรา ที่เน้นการดำเนินชีวิตอยู่แบบพอมีพอกิน ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย แล้วค่อยๆ พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนทำให้ครอบครัวมี ความเป็นอยู่ดีขึ้น เมื่อแต่ละครอบครัวสามารถพึ่งพาตนเองได้ ก็จะทำให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเข้มแข็งด้วย การดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพัฒนาได้ใน 3 ระดับ ใบความรู้ เรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1. ระดับครอบครัว – การปลูกพืชผักผลไม้หรือเลี้ยงสัตว์ไว้กินภายในครอบครัว 2. ระดับชุมชน – เมื่อผลผลิตที่ผลิตไว้มีมากก็นำไปจำหน่ายในชุมชน 3. ระดับประเทศ – สร้างเครือข่ายระบบเศรษฐกิจในชุมชน เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสหกรณ์ เพื่อหาตลาดจำหน่ายผลผลิต