SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ ที่ 15
                                     เรื่อง ความน่ าจะเป็ น
                                ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15

ความน่ าจะเป็ น
         3. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์
              ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด เท่ากับอัตราส่ วนของจานวนผลที่จะเกิดเหตุการณ์
นั้น ต่อจานวนผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้
                                                          จานวนผลทีจะเกิดขึ้นในเหตุการณ ์์น้น
                                                                   ่                        ั
            หรื อ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                          จานวนผลทั้งหมดทีอาจ จะเกิดขึ้นได้
                                                                            ่

            เมื่อผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ ม แต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่าๆ กัน
            กาหนดให้          E เป็ นเหตุการณ์ที่เราสนใจ
                              P(E) เป็ นความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์น้ น
                                                                     ั
                              n(s) เป็ นจานวนสมาชิกทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้จากการทดลองสุ่ ม
                              n(E) เป็ นจานวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่เราสนใจ
                                                    n( E )
                         ดังนั้น P(E)        =
                                                    n( S )


ตัวอย่างที่ 1    ขวดแก้วใบหนึ่ง มีลูกแก้วอยู่ 10 ลูก เป็ นลูกแก้วสี ขาว 7 ลูก ที่เหลือเป็ นลูกแก้วสี
                 ดา เมื่อสุ่ มหยิบลูกแก้วขึ้นมา 1 ลูก ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ขาวเป็ น
                 เท่าไร และความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ดาเป็ นเท่าไร
วิธีทา                              ในขวดแก้วมีลูกแก้วสี ดา 10 - 7          =     3     ลูก
                                                                                               7
                                        ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ขาว
                                                                                              10
                                                                                           3
                                        และความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ดา
                                                                                          10
ตัวอย่างที่ 2          จงบอกผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นจากการทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง และ
                         จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋ าทั้งสองเท่ากับ 11
  วิธีทา          ในการทอดลูกเต๋ า 1 ลูก ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ ขึ้นแต้ม 1, 2, 3, 4, 5, 6
                  ดังรู ป




           ถ้าทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกัน ผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นสามารถแสดงได้ดวยตารางต่อไปนี้
                                                                          ้

     ลูกเต๋ า ลูกที่ 2
                              1           2           3            4             5              6
ลูกเต๋ าลูกที่1
             1              (1, 1)      (1, 2)      (1, 3)       (1, 4)        (1, 5)       (1, 6)
             2              (2, 1)      (2, 2)      (2, 3)       (2, 4)        (2, 5)       (2, 6)
             3              (3, 1)      (3, 2)      (3, 3)       (3, 4)        (3, 5)       (3, 6)
             4              (4, 1)      (4, 2)      (4, 3)       (4, 4)        (4, 5)       (4, 6)
             5              (5, 1)      (5, 2)      (5, 3)       (5, 4)        (5, 5)       (5, 6)
             6              (6, 1)      (6, 2)      (6, 3)       (6, 4)        (6, 5)       (6, 6)



        ในตาราง สมาชิกตัวหน้า หมายถึง แต้มของลูกเต๋ าลูกที่ 1 และสมาชิกตัวหลังคือ
  แต้มของลูกเต๋ าลูกที่ 2
        จะเห็นว่า จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36
        ผลบวกของแต้มทั้งสองเท่ากับ 11 เมื่อลูกเต๋ าลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ขึ้นหน้าตามคู่อนดับ
                                                                                       ั
  (5, 6) และ (6, 5) ตามลาดับ
ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋ าทั้งสองเท่ากับ 11 คือ
                           2          1
                                =
                          36         18
หมายเหตุ            ในการทอดลูกเต๋ าสองลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง จะเกิดผลทั้งหมดเหมือนกับการทอด
                    ลูกเต๋ าหนึ่งลูกพร้อมกัน 2 ครั้ง

ตัวอย่างที่ 3       ในขวดโหลทึบใบหนึ่ง มีลูกปิ งปองสี ส้ม 3 ลูก และลูกปิ งปองสี แดง 2 ลูกถ้าหยิบ
                    ลูกปิ งปองครั้งละหนึ่งลูก แล้วใส่ กลับคืน โดยหยิบจานวน 2 ครั้ง จงหาผลที่
                    เกิดขึ้นทั้งหมด และความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกัน
                    และเป็ นลูกเดียวกัน
วิธีทา        กาหนดให้ ส1 ส2 ส3 แทนลูกปิ งปองสี ส้มลูกที่ 1 ลูกที่ 2 และลูกที่ 3 ตามลาดับ
                       ด1 ด 2              แทนลูกปิ งปองสี แดงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ




         ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25
                       จานวนผลที่ได้ลูกปิ งปองแต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็ นลูกเดียวกันเท่ากับ 5
                ดังนั้นความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็ นลูกเดียวกัน
                                 5           1
                    เท่ากับ            =
                                25           5
ตัวอย่างที่ 4     ในการหยิบไพ่ 1 ใบ ออกจากไพ่สารับหนึ่ง จานวนผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นเป็ น
                  เท่าไร จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรื อไพ่หมายเลข 7
                  ข้าวหลามตัด
วิธีทา      ไพ่ 1 สารับ มี 52 ใบ ซึ่ งแบ่งเป็ น 4 ชุด ชุดละ 13 ใบ ดังนี้




            ผลทั้งหมด คือ A โพดา, 2 โพดา, 3 โพดา, ..., K โพดา
                           A โพแดง, 2 โพแดง, 3 โพแดง, ..., K โพแดง
                           A ข้าวหลามตัด, 2 ข้าวหลามตัด, 3 ข้าวหลามตัด, ..., K ข้าวหลามตัด
                           A ดอกจิก, 2 ดอกจิก, 3 ดอกจิก, ..., K ดอกจิก
                  จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 52
            จานวนที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรื อไพ่หมายเลข 7 ข้าวหลามตัด
            เท่ากับ 2
                  ดังนั้น     ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรื อไพ่หมายเลข 7
                                                     2        1
                              ข้าวหลามตัดเท่ากับ         =
                                                    52        26
ตัวอย่างที่ 5    จากการทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
                 1) ที่แต้มเป็ นจานวนคู่ท้ งสองลูก
                                           ั
                 2) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋ าทั้งสองมากกว่า 10
                 3) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋ าทั้งสองเป็ น 15
                 4) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋ าทั้งสองมากกว่า 1
วิธีทา           ในการทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกันผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดเป็ นดังตาราง




               จานวนผลลัพธ์ท้ งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36
                                   ั
            1) เหตุการณ์ท่ีแต้มเป็ นจานวนคู่ท้ งสองลูก ได้แก่ (2, 2), (2, 4) (2, 6), (4, 2),
                                                    ั
               (4, 4), (4, 6), (6, 2), (6, 4), (6, 6)
               จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 9
                                                                                       9         1
               ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่แต้มเป็ นจานวนคู่ท้ งสองลูกเท่ากับ
                                                                  ั                          =
                                                                                      36         4
            2) ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 ได้แก่ (5, 6), (6, 5), (6, 6)
               จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 3
                                                                                          3       1
               ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 เท่ากับ                   =
                                                                                         36      12
3) ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 ไม่มี เพราะผลรวมของแต้มสู งสุ ดเท่ากับ 12
                จึงไม่มีจานวนเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 หรื อจานวนเหตุการณ์น้ น
                                                                                      ั
               เท่ากับ 0
                                                                         0
               ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 คือ        =0
                                                                        36
             4) ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 ได้แก่ (1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1),
                      (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6),
                      (4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5),
                      (5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)
                      จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 36
                                                                                             36
                ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 เท่ากับ                           =1
                                                                                             36
ตัวอย่างที่ 6 ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลขนาดเดียวกัน แต่สีต่างกันดังนี้ ลูกบอลสี เขียว 2 ลูก ลูก
                บอล สี ม่วง 2 ลูก และลูกบอลสี ฟ้า 1 ลูกถ้าเขย งแล้วหลับตาหยิบลูกบอล 2
                                                                         าถุ
                ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้า และลูกบอลสี ม่วงอย่างละลูก
                เมื่อ
                1) หยิบทีละลูก หยิบแล้วไม่ใส่ คืน
                2) หยิบทีละลูก เมื่อหยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง
                3) หยิบสองลูกพร้อมกัน
วิธีทา      ให้ ข1 ข2                 แทน ลูกบอลสี เขียวลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ
                ม1 ม2                 แทน ลูกบอลสี ม่วงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ
                   ฟ             แทน            ลูกบอลสี ฟ้า
เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและสี ม่วง ได้แก่ (ม1, ฟ), (ม2, ฟ), (ฟ, ม1), (ฟ, ม2)
     จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 4
1) หยิบทีละลูกหยิบแล้วไม่ใส่ คืน ลูกบอลทั้งสองลูกจะไม่ซ้ ากัน จากตาราง
   จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 20
                                                              4        1
                                                  ่
   ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี มวงเท่ากับ       =
                                                             20        5
2) หยิบทีละลูกหยิบแล้วใส่ คืน ลูกบอลที่หยิบครั้งที่ 2 เป็ นลูกเดียวกับลูกบอลที่
   หยิบได้ครั้งที่ 1 จากตาราง
   จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25
                                                                    4
                                                     ่
   ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี มวงเท่ากับ
                                                                    25
3) หยิบสองลูกพร้อมกัน ลูกบอลทั้งสองจะไม่ซ้ ากัน การหาค่าความน่าจะเป็ นทาได้
    2 วิธี
    วิธีที่ 1 ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เป็ นลูกบอลลูกที่ 1 และลูกที่ 2
                   ตามลาดับ วิธีน้ ีใช้จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และจานวน
                   เหตุการณ์ เช่นเดียวกับข้อ1
                   ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงเท่ากับ
                                              4              1
                                                      =
                                             20              5
วิธีที่ 2   ไม่ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เนื่องจากไม่ทราบว่าหยิบลูกใด
                            ก่อน ในกรณี น้ ีจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และเหตุการณ์แตกต่าง
                            ไปจากข้อ 1 ดังนี้
                            จากตารางข้างต้นถือว่า (ข1, ข2) เหมือนกับ (ข2, ข1), (ข1, ม1)
                            เหมือนกับ (ม1, ข1), ...
                            ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 10
                                                                       ่
                             เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี มวง คือ ม1 กับ ฟ
                                                  ั
                            และ ม2 กับ ฟ (สลับที่กนได้)
                         จานวนเหตุการณ์ที่สนใจเท่ากับ 2
                         ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงเท่ากับ
                          2         1
                              =
                         10         5
ข้ อสั งเกต 1. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 0
            2. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแน่นอนเท่ากับ 1
            3. ความน่าจะเป็ นจะมีค่าระหว่างมากกว่าหรื อเท่ากับ 0 และน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 1
                   นันคือ 0 ≤ P(E) ≤ 1
                     ่
แบบฝึ กทักษะที่ 15
                                     เรื่อง ความน่ าจะเป็ น
                                ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15

            ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่…….

คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้
             ั

1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็ นถุงเท้าสี ดา 2 คู่ และสี ขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่ มโดยการ
หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็ นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็ นสี เดียวกัน

2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่ งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรื อ 11 ไว้ ถ้าสุ่ มหยิบ
เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตวเลขเป็ น
                                                              ั
 2.1 จานวนคู่
 2.2 จานวนเฉพาะ
 2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
 2.4 จานวนที่เป็ นกาลังสองสมบูรณ์

3. หยิบลูกปิ งปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่ งมีลูกปิ งปองสี แดงอยู่ 15 ลูก สี ขาว 1 ลูก สี เหลือง
1 ลูก สี เขียว 1 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก และสี ดา 1 ลูก จงหา
         3.1 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี แดง
         3.2 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิ งปองสี ดา
         3.3 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี ดา หรื อสี ขาว
4. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
       ั

ข้ อที่                              โจทย์                                คาตอบ
   1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้
         1.1 บุตรคนแรกเป็ นชาย                                        1.1 ………………….
         1.2 บุตรทั้งสองคนเป็ นหญิง                                   1.2 ………………….
         1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน                                    1.3 ………………….
   2 จากการสอบถามนักเรี ยน 3 คน ว่าชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ หรื อไม่
        จงหาความน่าจะเป็ นที่
         2.1 นักเรี ยนทั้งสามคนชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์                   2.1 ………………….
         2.2 นักเรี ยนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์          2.2 ………………….
   3 สุ่ มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็ น
         3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ                             3.1 ………………….
         3.2 ที่จะเลือกได้ตวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ
                            ั                                         3.2 ………………….
         3.3 ที่จะเลือกได้ n                                          3.3 ………………….
เฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 15
                                     เรื่อง ความน่ าจะเป็ น
                                ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15

            ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่…….

คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้
             ั

1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็ นถุงเท้าสี ดา 2 คู่ และสี ขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่ มโดยการ
หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็ นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็ นสี เดียวกัน
         วิธีทา สมมติ ด 1 แทน ถุงเท้าสี ดาคู่ที่ 1
  ด                         2 แทน ถุงเท้าสี ดาคู่ที่ 2
  ข                         1 แทน ถุงเท้าสี ขาวคู่ที่ 1
  ข                         2 แทน ถุงเท้าสี ขาวคู่ที่ 2
 จะได้ แซมเปิ ลสเปซ                         S = { ด1ด2 , ด1ข1 , ด1ข2 , ด2ข1 , ด2ข2 , ข1ข2 }
                  ให้ E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ถุงเท้าทั้ง 2 คู่ เป็ นสี เดียวกัน
 จะได้                     E = { ด1ด2 , ข1ข2 }
                          P E  
                                     2 1
                 นันคือ
                   ่                  
                                     6 3


2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่ งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรื อ 11 ไว้ ถ้าสุ่ มหยิบ
เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตวเลขเป็ น
                                                              ั
 2.1 จานวนคู่
 2.2 จานวนเฉพาะ
 2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
 2.4 จานวนที่เป็ นกาลังสองสมบูรณ์

        วิธีทา สมมติให้ S แทน แซมเปิ ลสเปซของเหตุการณ์ทดลองสุ่ มครั้งนี้
                       E1 แทน เหตุการณ์ท่ีหยิบได้เบี้ยมีตวเลขเป็ นจานวนคู่
                                                           ั
                       E 2 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็ นจานวนเฉพาะ
                       E 3 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็ นจานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
E 4 แทน
                                    เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็ นจานวนที่เป็ นกาลังสองสมบูรณ์
 จะได้                    S = 3,4,7,9,10,11
                          E1  4,10
                          E2  3,7,11
                          E3  3,9
                          E 4  4,9


                          PE1  
                                    2 1
          นันคือ
            ่                        
                                    6 3
                          P E 2   
                                    3 1
                                    6 2
                          P E 3   
                                    2 1
                                    6 3
                          P E 4   
                                    2 1
                                    6 3


3. หยิบลูกปิ งปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่ งมีลูกปิ งปองสี แดงอยู่ 15 ลูก สี ขาว 1 ลูก
สี เหลือง 1 ลูก สี เขียว 1 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก และสี ดา 1 ลูก จงหา
         3.1 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี แดง
         3.2 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิ งปองสี ดา
         3.3 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี ดา หรื อสี ขาว

วิธีทา ให้ S แทน แซมเปิ ลสเปซของการสุ่ มหยิบลูกปิ งปอง 1 ลูก
           E1 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองสี แดง
           E 2 แทน เหตุการณ์ที่หยิบไม่ได้ลูกปิ งปองสี ดา
           E 3 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองสี ดา หรื อสี ขาว


                             nE1  15 3
ดังนั้น            PE1                 
                               ns  20 4
                                 nE 2  19
                      P E 2           
                                   ns    20
                                 n E 3  2
                      P E 3  
                                                1
                                             
                                   ns  20 10
4. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
       ั

ข้ อที่                           โจทย์                                          คาตอบ
   1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้
        1.1 บุตรคนแรกเป็ นชาย                                         1.1   1
                                                                            2
        1.2 บุตรทั้งสองคนเป็ นหญิง                                    1.2   1

        1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน                                           4
                                                                      1.3   3
                                                                            4
 2     จากการสอบถามนักเรี ยน 3 คน ว่าชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ หรื อไม่
       จงหาความน่าจะเป็ นที่
        2.1 นักเรี ยนทั้งสามคนชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์                 2.1      1
                                                                            8
        2.2 นักเรี ยนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์
                                                                   2.2      7
                                                                             8



 3     สุ่ มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็ น
           3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ                           3.1   1
                                                                            2
           3.2 ที่จะเลือกได้ตวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ
                             ั                                        3.2   1

           3.3 ที่จะเลือกได้ n                                              2
                                                                      3.3   1
                                                                            4

More Related Content

What's hot

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559
ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559
ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559
Math and Brain @Bangbon3
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdf
ssusera0c3361
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
kroojaja
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
Krukomnuan
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
sawed kodnara
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
พัน พัน
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
Mike Polsit
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
พัน พัน
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
Khunnawang Khunnawang
 

What's hot (20)

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
 
Final 32101 53
Final 32101 53Final 32101 53
Final 32101 53
 
ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559
ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559
ข้อสอบ Pre test สวนกุหลาบ2559
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdf
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
 

Viewers also liked

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Teerayut Matha
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
อนันตชัย แปดเจริญ
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
Aommii Honestly
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
Krukomnuan
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Janova Kknd
 
Prob
ProbProb
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 

Viewers also liked (20)

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Counting theorem2
Counting theorem2Counting theorem2
Counting theorem2
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 

Similar to Probability

Probability
ProbabilityProbability
Probabilitykrubud
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 
122121
122121122121
122121kay
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
Aon Narinchoti
 
Event
EventEvent
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]IKHG
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007Krukomnuan
 

Similar to Probability (20)

สูตรการหาความน่าจะเป็น
สูตรการหาความน่าจะเป็นสูตรการหาความน่าจะเป็น
สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
การทดลองสุ่ม.Pdf
การทดลองสุ่ม.Pdfการทดลองสุ่ม.Pdf
การทดลองสุ่ม.Pdf
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
122121
122121122121
122121
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
Event
EventEvent
Event
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
666
666666
666
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
His brob
His brobHis brob
His brob
Aon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
Aon Narinchoti
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Aon Narinchoti
 
Know5
Know5Know5
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Aon Narinchoti
 
Know4
Know4Know4
Know3
Know3Know3
Know2
Know2Know2
Know1
Know1Know1
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
Aon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
Aon Narinchoti
 
History
HistoryHistory
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
Aon Narinchoti
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
Aon Narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
History
HistoryHistory
History
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 

Probability

  • 1. ใบความรู้ ที่ 15 เรื่อง ความน่ าจะเป็ น ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15 ความน่ าจะเป็ น 3. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด เท่ากับอัตราส่ วนของจานวนผลที่จะเกิดเหตุการณ์ นั้น ต่อจานวนผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้ จานวนผลทีจะเกิดขึ้นในเหตุการณ ์์น้น ่ ั หรื อ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดทีอาจ จะเกิดขึ้นได้ ่ เมื่อผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ ม แต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่าๆ กัน กาหนดให้ E เป็ นเหตุการณ์ที่เราสนใจ P(E) เป็ นความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์น้ น ั n(s) เป็ นจานวนสมาชิกทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้จากการทดลองสุ่ ม n(E) เป็ นจานวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่เราสนใจ n( E ) ดังนั้น P(E) = n( S ) ตัวอย่างที่ 1 ขวดแก้วใบหนึ่ง มีลูกแก้วอยู่ 10 ลูก เป็ นลูกแก้วสี ขาว 7 ลูก ที่เหลือเป็ นลูกแก้วสี ดา เมื่อสุ่ มหยิบลูกแก้วขึ้นมา 1 ลูก ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ขาวเป็ น เท่าไร และความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ดาเป็ นเท่าไร วิธีทา ในขวดแก้วมีลูกแก้วสี ดา 10 - 7 = 3 ลูก 7 ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ขาว 10 3 และความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสี ดา 10
  • 2. ตัวอย่างที่ 2 จงบอกผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นจากการทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง และ จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋ าทั้งสองเท่ากับ 11 วิธีทา ในการทอดลูกเต๋ า 1 ลูก ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ ขึ้นแต้ม 1, 2, 3, 4, 5, 6 ดังรู ป ถ้าทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกัน ผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นสามารถแสดงได้ดวยตารางต่อไปนี้ ้ ลูกเต๋ า ลูกที่ 2 1 2 3 4 5 6 ลูกเต๋ าลูกที่1 1 (1, 1) (1, 2) (1, 3) (1, 4) (1, 5) (1, 6) 2 (2, 1) (2, 2) (2, 3) (2, 4) (2, 5) (2, 6) 3 (3, 1) (3, 2) (3, 3) (3, 4) (3, 5) (3, 6) 4 (4, 1) (4, 2) (4, 3) (4, 4) (4, 5) (4, 6) 5 (5, 1) (5, 2) (5, 3) (5, 4) (5, 5) (5, 6) 6 (6, 1) (6, 2) (6, 3) (6, 4) (6, 5) (6, 6) ในตาราง สมาชิกตัวหน้า หมายถึง แต้มของลูกเต๋ าลูกที่ 1 และสมาชิกตัวหลังคือ แต้มของลูกเต๋ าลูกที่ 2 จะเห็นว่า จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36 ผลบวกของแต้มทั้งสองเท่ากับ 11 เมื่อลูกเต๋ าลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ขึ้นหน้าตามคู่อนดับ ั (5, 6) และ (6, 5) ตามลาดับ
  • 3. ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋ าทั้งสองเท่ากับ 11 คือ 2 1 = 36 18 หมายเหตุ ในการทอดลูกเต๋ าสองลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง จะเกิดผลทั้งหมดเหมือนกับการทอด ลูกเต๋ าหนึ่งลูกพร้อมกัน 2 ครั้ง ตัวอย่างที่ 3 ในขวดโหลทึบใบหนึ่ง มีลูกปิ งปองสี ส้ม 3 ลูก และลูกปิ งปองสี แดง 2 ลูกถ้าหยิบ ลูกปิ งปองครั้งละหนึ่งลูก แล้วใส่ กลับคืน โดยหยิบจานวน 2 ครั้ง จงหาผลที่ เกิดขึ้นทั้งหมด และความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกัน และเป็ นลูกเดียวกัน วิธีทา กาหนดให้ ส1 ส2 ส3 แทนลูกปิ งปองสี ส้มลูกที่ 1 ลูกที่ 2 และลูกที่ 3 ตามลาดับ ด1 ด 2 แทนลูกปิ งปองสี แดงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25 จานวนผลที่ได้ลูกปิ งปองแต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็ นลูกเดียวกันเท่ากับ 5 ดังนั้นความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็ นลูกเดียวกัน 5 1 เท่ากับ = 25 5
  • 4. ตัวอย่างที่ 4 ในการหยิบไพ่ 1 ใบ ออกจากไพ่สารับหนึ่ง จานวนผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นเป็ น เท่าไร จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรื อไพ่หมายเลข 7 ข้าวหลามตัด วิธีทา ไพ่ 1 สารับ มี 52 ใบ ซึ่ งแบ่งเป็ น 4 ชุด ชุดละ 13 ใบ ดังนี้ ผลทั้งหมด คือ A โพดา, 2 โพดา, 3 โพดา, ..., K โพดา A โพแดง, 2 โพแดง, 3 โพแดง, ..., K โพแดง A ข้าวหลามตัด, 2 ข้าวหลามตัด, 3 ข้าวหลามตัด, ..., K ข้าวหลามตัด A ดอกจิก, 2 ดอกจิก, 3 ดอกจิก, ..., K ดอกจิก จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 52 จานวนที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรื อไพ่หมายเลข 7 ข้าวหลามตัด เท่ากับ 2 ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรื อไพ่หมายเลข 7 2 1 ข้าวหลามตัดเท่ากับ = 52 26
  • 5. ตัวอย่างที่ 5 จากการทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่อไปนี้ 1) ที่แต้มเป็ นจานวนคู่ท้ งสองลูก ั 2) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋ าทั้งสองมากกว่า 10 3) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋ าทั้งสองเป็ น 15 4) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋ าทั้งสองมากกว่า 1 วิธีทา ในการทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้อมกันผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดเป็ นดังตาราง จานวนผลลัพธ์ท้ งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36 ั 1) เหตุการณ์ท่ีแต้มเป็ นจานวนคู่ท้ งสองลูก ได้แก่ (2, 2), (2, 4) (2, 6), (4, 2), ั (4, 4), (4, 6), (6, 2), (6, 4), (6, 6) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 9 9 1 ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่แต้มเป็ นจานวนคู่ท้ งสองลูกเท่ากับ ั = 36 4 2) ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 ได้แก่ (5, 6), (6, 5), (6, 6) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 3 3 1 ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 เท่ากับ = 36 12
  • 6. 3) ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 ไม่มี เพราะผลรวมของแต้มสู งสุ ดเท่ากับ 12 จึงไม่มีจานวนเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 หรื อจานวนเหตุการณ์น้ น ั เท่ากับ 0 0 ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 คือ =0 36 4) ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 ได้แก่ (1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6), (4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 36 36 ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 เท่ากับ =1 36 ตัวอย่างที่ 6 ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลขนาดเดียวกัน แต่สีต่างกันดังนี้ ลูกบอลสี เขียว 2 ลูก ลูก บอล สี ม่วง 2 ลูก และลูกบอลสี ฟ้า 1 ลูกถ้าเขย งแล้วหลับตาหยิบลูกบอล 2 าถุ ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้า และลูกบอลสี ม่วงอย่างละลูก เมื่อ 1) หยิบทีละลูก หยิบแล้วไม่ใส่ คืน 2) หยิบทีละลูก เมื่อหยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง 3) หยิบสองลูกพร้อมกัน วิธีทา ให้ ข1 ข2 แทน ลูกบอลสี เขียวลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ ม1 ม2 แทน ลูกบอลสี ม่วงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ ฟ แทน ลูกบอลสี ฟ้า
  • 7. เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและสี ม่วง ได้แก่ (ม1, ฟ), (ม2, ฟ), (ฟ, ม1), (ฟ, ม2) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 4 1) หยิบทีละลูกหยิบแล้วไม่ใส่ คืน ลูกบอลทั้งสองลูกจะไม่ซ้ ากัน จากตาราง จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 20 4 1 ่ ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี มวงเท่ากับ = 20 5 2) หยิบทีละลูกหยิบแล้วใส่ คืน ลูกบอลที่หยิบครั้งที่ 2 เป็ นลูกเดียวกับลูกบอลที่ หยิบได้ครั้งที่ 1 จากตาราง จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25 4 ่ ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี มวงเท่ากับ 25 3) หยิบสองลูกพร้อมกัน ลูกบอลทั้งสองจะไม่ซ้ ากัน การหาค่าความน่าจะเป็ นทาได้ 2 วิธี วิธีที่ 1 ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เป็ นลูกบอลลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ วิธีน้ ีใช้จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และจานวน เหตุการณ์ เช่นเดียวกับข้อ1 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงเท่ากับ 4 1 = 20 5
  • 8. วิธีที่ 2 ไม่ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เนื่องจากไม่ทราบว่าหยิบลูกใด ก่อน ในกรณี น้ ีจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และเหตุการณ์แตกต่าง ไปจากข้อ 1 ดังนี้ จากตารางข้างต้นถือว่า (ข1, ข2) เหมือนกับ (ข2, ข1), (ข1, ม1) เหมือนกับ (ม1, ข1), ... ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 10 ่ เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี มวง คือ ม1 กับ ฟ ั และ ม2 กับ ฟ (สลับที่กนได้) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจเท่ากับ 2 ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงเท่ากับ 2 1 = 10 5 ข้ อสั งเกต 1. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 0 2. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแน่นอนเท่ากับ 1 3. ความน่าจะเป็ นจะมีค่าระหว่างมากกว่าหรื อเท่ากับ 0 และน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 1 นันคือ 0 ≤ P(E) ≤ 1 ่
  • 9. แบบฝึ กทักษะที่ 15 เรื่อง ความน่ าจะเป็ น ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15 ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่……. คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้ ั 1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็ นถุงเท้าสี ดา 2 คู่ และสี ขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่ มโดยการ หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็ นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็ นสี เดียวกัน 2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่ งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรื อ 11 ไว้ ถ้าสุ่ มหยิบ เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตวเลขเป็ น ั 2.1 จานวนคู่ 2.2 จานวนเฉพาะ 2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว 2.4 จานวนที่เป็ นกาลังสองสมบูรณ์ 3. หยิบลูกปิ งปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่ งมีลูกปิ งปองสี แดงอยู่ 15 ลูก สี ขาว 1 ลูก สี เหลือง 1 ลูก สี เขียว 1 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก และสี ดา 1 ลูก จงหา 3.1 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี แดง 3.2 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิ งปองสี ดา 3.3 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี ดา หรื อสี ขาว
  • 10. 4. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ั ข้ อที่ โจทย์ คาตอบ 1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ 1.1 บุตรคนแรกเป็ นชาย 1.1 …………………. 1.2 บุตรทั้งสองคนเป็ นหญิง 1.2 …………………. 1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน 1.3 …………………. 2 จากการสอบถามนักเรี ยน 3 คน ว่าชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ หรื อไม่ จงหาความน่าจะเป็ นที่ 2.1 นักเรี ยนทั้งสามคนชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ 2.1 …………………. 2.2 นักเรี ยนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ 2.2 …………………. 3 สุ่ มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็ น 3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ 3.1 …………………. 3.2 ที่จะเลือกได้ตวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ ั 3.2 …………………. 3.3 ที่จะเลือกได้ n 3.3 ………………….
  • 11. เฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 15 เรื่อง ความน่ าจะเป็ น ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15 ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่……. คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้ ั 1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็ นถุงเท้าสี ดา 2 คู่ และสี ขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่ มโดยการ หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็ นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็ นสี เดียวกัน วิธีทา สมมติ ด 1 แทน ถุงเท้าสี ดาคู่ที่ 1 ด 2 แทน ถุงเท้าสี ดาคู่ที่ 2 ข 1 แทน ถุงเท้าสี ขาวคู่ที่ 1 ข 2 แทน ถุงเท้าสี ขาวคู่ที่ 2 จะได้ แซมเปิ ลสเปซ S = { ด1ด2 , ด1ข1 , ด1ข2 , ด2ข1 , ด2ข2 , ข1ข2 } ให้ E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ถุงเท้าทั้ง 2 คู่ เป็ นสี เดียวกัน จะได้ E = { ด1ด2 , ข1ข2 } P E   2 1 นันคือ ่  6 3 2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่ งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรื อ 11 ไว้ ถ้าสุ่ มหยิบ เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตวเลขเป็ น ั 2.1 จานวนคู่ 2.2 จานวนเฉพาะ 2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว 2.4 จานวนที่เป็ นกาลังสองสมบูรณ์ วิธีทา สมมติให้ S แทน แซมเปิ ลสเปซของเหตุการณ์ทดลองสุ่ มครั้งนี้ E1 แทน เหตุการณ์ท่ีหยิบได้เบี้ยมีตวเลขเป็ นจานวนคู่ ั E 2 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็ นจานวนเฉพาะ E 3 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็ นจานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
  • 12. E 4 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็ นจานวนที่เป็ นกาลังสองสมบูรณ์ จะได้ S = 3,4,7,9,10,11 E1  4,10 E2  3,7,11 E3  3,9 E 4  4,9 PE1   2 1 นันคือ ่  6 3 P E 2    3 1 6 2 P E 3    2 1 6 3 P E 4    2 1 6 3 3. หยิบลูกปิ งปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่ งมีลูกปิ งปองสี แดงอยู่ 15 ลูก สี ขาว 1 ลูก สี เหลือง 1 ลูก สี เขียว 1 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก และสี ดา 1 ลูก จงหา 3.1 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี แดง 3.2 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิ งปองสี ดา 3.3 ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกปิ งปองสี ดา หรื อสี ขาว วิธีทา ให้ S แทน แซมเปิ ลสเปซของการสุ่ มหยิบลูกปิ งปอง 1 ลูก E1 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองสี แดง E 2 แทน เหตุการณ์ที่หยิบไม่ได้ลูกปิ งปองสี ดา E 3 แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองสี ดา หรื อสี ขาว nE1  15 3 ดังนั้น PE1     ns  20 4 nE 2  19 P E 2    ns  20 n E 3  2 P E 3   1   ns  20 10
  • 13. 4. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ั ข้ อที่ โจทย์ คาตอบ 1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ 1.1 บุตรคนแรกเป็ นชาย 1.1 1 2 1.2 บุตรทั้งสองคนเป็ นหญิง 1.2 1 1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน 4 1.3 3 4 2 จากการสอบถามนักเรี ยน 3 คน ว่าชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ หรื อไม่ จงหาความน่าจะเป็ นที่ 2.1 นักเรี ยนทั้งสามคนชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ 2.1 1 8 2.2 นักเรี ยนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรี ยนคณิ ตศาสตร์ 2.2 7 8 3 สุ่ มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็ น 3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ 3.1 1 2 3.2 ที่จะเลือกได้ตวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ ั 3.2 1 3.3 ที่จะเลือกได้ n 2 3.3 1 4