SlideShare a Scribd company logo
ประวัติตรีโกณมิติ (History Trigonometry)
ตรีโกณมิติ (Trigonometry)ไม่มีใครรู้ว่าเริ่มมีมาตั้งแต่เมื่อใด ใครเป็นผู้คิดค้นหรือเกิด
จากชนชาติใด แต่มีการพบบันทึกที่อยู่ใน Rhind papyrus (กระดาษกกที่พบ ณ เมือง Rhind) ที่
เขียนไว้เกี่ยวกับ cotangent ของมุมที่ฐานของพีระมีด และพบตารางด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก บนแผ่นดินเหนียวของชาวบาบินโลน(Plimpton 322) ในตารางเมื่อกาหนด
ด้านสองด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จะบอกความยาวของด้านที่สาม และน่าสังเกตว่าเป็นค่า
ของ secants ถ้าได้ศึกษาคณิตศาสตร์สมัยเมโสโปเตียเมียโบราณอาจพบว่า มีการใช้ตรีโกณมิติ
มาตั้งแต่สมัยนั้นก็ได้ แต่จากการบันทึกข้อมูลการสังเกตดวงดาวของนักดาราศาสตร์ชาวบาบิ
โลนหลัง 400 ปีก่อนคริสตกาล ชาวกรีกได้นาข้อมูลเหล่านี้มาใช้ศึกษาดาราศาสตร์ อันเป็น
จุดเริ่มต้นการศึกษาตรีโกณมิติทรงกลม
ฮิปปาร์ชัส (Hipparchus of Nicaea :180 – 125 BC) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวกรีกที่มี
ชื่อเสียงมากที่สุดในยุคนั้น จากบันทึกในตาราของโตเลมี ได้อ้างถึงตารางค่าคอร์ดแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของคอร์ดกับมุมที่ศูนย์กลางของวงกลมของฮิปปาร์ชัส
โตเลมี (Claudius Ptolemy of Alexandria : A.D. 150) นักดาราศาสตร์และนัก
คณิตศาสตร์ชาวกรีกได้เขียนตาราชื่อ “Syntaxis mathematica” หรือ “Mathematical
collection” โดยได้รวบรวมและเรียบเรียงความรู้ต่างๆ ไว้อย่างละเอียดและเป็นลาดับขั้นตอน
ง่ายต่อการค้นคว้า และจะพบว่าผลงานของฮิปปาร์ชัสมีอิทธิพลต่อความคิดในการพัฒนา
ผลงานต่างๆ ของโตเลมี ปัจจุบันสามารถศึกษาผลงานฮิปปาร์ชัสได้จากตาราชุดนี้ซึ่งเป็นภาษา
อาหรับและเรียกตาราชุดนี้ว่า "อัลมาเกส" (Almagest) หมายความว่า “The Greatest” มีทั้งหมด
13 เล่ม และมีตารางค่าคอร์ด(table of chords) ทุก ๆ มุมหนึ่งองศาตั้งแต่ 0O
ถึง 180O
ซึ่งทาให้
ทราบค่าไซน์(sine) ตั้งแต่ 0O
ถึง 90O
ปรากฏอยู่ในตาราเล่มที่หนึ่ง
เมเนเลาส์(Menelaus of Alexandria : ประมาณ ค.ศ. 98) นักดาราศาสตร์และนัก
คณิตศาสตร์ชาวกรีกได้เขียนตาราที่เกี่ยวกับคอร์ดของวงกลมไว้หกเล่ม แม้นไม่มีหลักฐานการ
คิดปรากฏอยู่ แต่ก็ทราบจากบันทึกของผู้อื่นที่กล่าวไว้ ส่วนตาราอีกชุดหนึ่งมีสามเล่มได้แปล
ไว้เป็นภาษาอาหรับ ชื่อว่า สเฟียริก (Sphaerica) ในตาราชุดนี้เป็นจุดเริ่มของการพัฒนา
ตรีโกณมิติจากทรงกลม
เล่ม 1 กล่าวถึงคาจากัดความของรูปสามเหลี่ยมบนทรงกลม และได้รวบรวมทฤษฎีของ
รูปสามเหลี่ยมบนทรงกลม ในแบบเดียวกับทฤษฎีของรูปสามเหลี่ยมบนระนาบของยุคลิด เช่น
ทฤษฎีเกี่ยวกับผลรวมของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมบนทรงกลมมากกว่า 180 องศา และการ
เท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมบนทรงกลม เมื่อรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเท่ากันสามมุม
มุมต่อมุม ซึ่งรูปสามเหลี่ยมบนระนาบที่มีมุมเท่ากันสามมุมอาจไม่เท่ากันทุกประการ เป็นต้น
เล่ม 2 เกี่ยวกับเรื่องดาราศาสตร์ส่วนเล่ม 3 เป็นทฤษฎีบทที่เมเนเลาส์ได้คิดขึ้นเกี่ยวกับเรขาคณิต
บนระนาบและบนทรงกลม และมีทฤษฎีที่สาคัญและได้รับการยกย่องคือ ทฤษฎีบทเมเนเลาส์
(Menelaus’ theorem) ซึ่งกล่าวว่า
“ในรูปสามเหลี่ยม ABC บนระนาบ ลากเส้นตรงผ่านให้ตัดด้าน (หรือส่วนต่อ) BC,
CA, AB ที่จุด D, E, F ตามลาดับ ดังนั้น 1

















FB
AF
EA
CE
DC
BD ”
http://cache.eb.com/eb/image?id=67397&rendTypeId=4
และ “รูปสามเหลี่ยม ABC บนทรงกลม ลากเส้นตรงผ่านให้ตัดส่วนโค้ง (หรือส่วนต่อ) BC,
CA, AB ที่จุด L, M, N ตามลาดับ ดังนั้น 1
sin
sin
sin
sin
sin
sin


















MA
CM
LC
BL
NB
AN ”
ซึ่งเป็นทฤษฎีบทที่ใช้ในการพิสูจน์ทฤษฎีอื่นๆ บนทรงกลม
www.kcl.ac.uk/.../exhibitions/gsci/men.jpg
Trigonometry มาจากภาษากรีก trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด
Trigonometry เป็นสาขาของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวัดและหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ด้าน มุม และพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ในภาษาไทย “ตรีโกณมิติ” มาจากคาว่า ตรี(แปลว่า
สาม)+ โกณ(อ่านว่า โกนะ แปลว่ามุมหรือเหลี่ยม)+มิติ(แปลว่า การวัด) เป็นวิชาเกี่ยวกับการวัด
รูปสามเหลี่ยมต่างๆ โดยหาความสัมพันธ์ระหว่าง ด้าน มุม และพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ซึ่ง
คาว่า Trigonometry เริ่มใช้ในศตวรรษที่ 17
ค่า chord หรือ cd คือความยาวของ chord ของวงกลมหนึ่งหน่วยเมื่อมีมุมที่จุด
ศูนย์กลางเท่ากับ  และแบ่งรัศมีวงกลมหนึ่งหน่วยเป็นส่วนย่อยที่เท่ากัน แล้วให้ค่าของ cd
เป็นจานวนเท่าของส่วนย่อยนี้ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าแบ่งรัศมีของวงกลมหนึ่งหน่วยเป็น 60 ส่วน
เท่ากัน แล้ว cd 
60 = 60 และ cd 
180 = 120 เป็นต้น ที่จริงแล้ว cd 
60 = 60/60 = 1 และ cd

180 = 120/60 =2 ดังรูป
จากนั้นจึงนิยามฟังก์ชัน sin จากฟังก์ชัน cd ดังนี้
2
)2(
sin


cd

แรกเริ่มนั้น Aryabhata (c. 150) เรียกฟังก์ชัน sine ว่า jya ซึ่งหมายถึงคอร์ดในภาษาฮินดี
ต่อมา jya เพี้ยนเป็น jaib ในภาษาฮาหรับ จากนั้นชื่อฟังก์ชันดังกล่าวกลายมาเป็น sinus ซึ่ง
เป็นคาในภาษาละตินที่มีความหมายเช่นเดียวกับ jaib ตัวย่อ sin ถูกใช้เป็นครั้งแรกใน
ภาพประกอบงานเขียนของ Gunter(1620)
θ
θ
sin θ
cd (2θ)
1
1
เมื่อพิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีมุมแหลมมุมหนึ่งเท่ากับ θ เราสามารถหาค่า
sine ของมุมแหลมอีกมุมหนึ่งได้ ค่าดังกล่าวนี้เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า sine of the
complementary angle (sin ของมุมประกอบหนึ่งมุมฉาก) ซึ่งเขียนอย่างสั้นได้เป็น cosine ตัวย่อ
cos ถูกใช้เป็นครั้งแรกในงานเขียนของ Moore (ค.ศ.1674)
แม้ในปัจจุบันฟังก์ชัน tangent มีนิยามว่าเป็นอัตราส่วนของฟังก์ชัน sin กับฟังก์ชัน
cosine แรกเริ่มนั้น tan θ คืออัตราส่วนระหว่างความสูงของวัตถุและความยาวของเงาของวัตถุ
นั้น โดย θ คือมุมเงยของยอดของวัตถุเมื่อวัดจากจุดปลายของเงาของวัตถุ ชื่อ tangent ได้มา
จากข้อสังเกตในงานเขียนของ Finck (ค.ศ.1583) ว่า tan θ คือ ความยาวของด้านตรงข้ามมุม θ
ของสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยด้านตรงข้ามมุม θ นี้สัมผัส (tangent) กับวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีจุด
ศูนย์กลางอยู่ที่จุดยอดของมุม θ ดังรูป
นอกจากนั้นแล้ว Fincke ยังเรียกความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากในรูปว่า secant
ของ θ ตัวย่อ tan และ sec ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดย Girard (ค.ศ.1626) ส่วนฟังก์ชัน cotangent
และ cosecant นั้นมีต้นกานิดจากฟังก์ชัน tangent และ secant ในลักษณะเดียวกับที่ฟังก์ชัน
cosine มีต้นกาเนิดจากฟังก์ชัน sine
cos θ = sin (90O
-θ)
90O
-θ
θ
θ
sec θ
tan θ
1
ศตวรรษที่ 17 Georg Joachim Rhaeticus นักดาราศาสตร์ชาว Teutonic เป็นผู้นิยาม
ฟังก์ชันตรีโกณมิติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากบนวงกลมหนึ่งหน่วยโดยขยายมุมรอบวงกลมที่
เราใช้มาจนถึงทุกวันนี้
นอกจากนั้น Brook Taylor (ค.ศ.1685–1731) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้นิยาม
ค่าฟังก์ชันตรีโกณอยู่ในรูปอนุกรมอนันต์ ดังนี้
และเรียกอนุกรมนี้ว่า “อนุกรมเทเลอร์” (Taylor’s series) ทาให้การหาค่าของตารางค่า
อัตราส่วนทางตรีโกณมิติสมบูรณ์ แม่นยาจนถึงหลักทศนิยมที่ต้องการ
จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าข้อมูลตรีโกณมิติในอดีตส่วนใหญ่มาจากตาราของ
ชาวอาหรับโบราณ ที่ได้แปลไว้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าชนชาตินี้ได้ให้ความสนใจและมีส่วนในการ
พัฒนาแขนงวิชาตรีโกณมิติให้มีความก้าวหน้าและสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ต่าง ๆ มากมายดังที่เห็นในปัจจุบัน
ที่มา :
สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (เล่ม๑๒) และ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน
โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (เล่ม ๖)
David Smith. History of Mathematics, Volume II. Dover, New York, 1958.
http://www.algebralab.org/lessons/lesson.aspx?file=Trigonometry_TrigNameOrigins.xml
http://en.wikipedia.org/wiki/Trigonometric_functions
http://tu-mathmania.blogspot.com/2007/09/blog-post_5607.html

More Related Content

What's hot

สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินKobwit Piriyawat
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
krurutsamee
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
Thitaree Samphao
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56krupornpana55
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
ชัญญานุช นิลประดับ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
Thanyamon Chat.
 

What's hot (20)

สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 

Similar to History

ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguest1d763e
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
chanphen
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.guestf22633
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
T'Rak Daip
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 

Similar to History (18)

ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
03
0303
03
 
3
33
3
 
2
22
2
 
ทา
ทาทา
ทา
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
02
0202
02
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
1
11
1
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
Prob
ProbProb
Event
EventEvent
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
Aon Narinchoti
 
His brob
His brobHis brob
His brob
Aon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
Aon Narinchoti
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Aon Narinchoti
 
Know5
Know5Know5
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Aon Narinchoti
 
Know4
Know4Know4
Know3
Know3Know3
Know2
Know2Know2
Know1
Know1Know1
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
Aon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

History

  • 1. ประวัติตรีโกณมิติ (History Trigonometry) ตรีโกณมิติ (Trigonometry)ไม่มีใครรู้ว่าเริ่มมีมาตั้งแต่เมื่อใด ใครเป็นผู้คิดค้นหรือเกิด จากชนชาติใด แต่มีการพบบันทึกที่อยู่ใน Rhind papyrus (กระดาษกกที่พบ ณ เมือง Rhind) ที่ เขียนไว้เกี่ยวกับ cotangent ของมุมที่ฐานของพีระมีด และพบตารางด้านทั้งสามของรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก บนแผ่นดินเหนียวของชาวบาบินโลน(Plimpton 322) ในตารางเมื่อกาหนด ด้านสองด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จะบอกความยาวของด้านที่สาม และน่าสังเกตว่าเป็นค่า ของ secants ถ้าได้ศึกษาคณิตศาสตร์สมัยเมโสโปเตียเมียโบราณอาจพบว่า มีการใช้ตรีโกณมิติ มาตั้งแต่สมัยนั้นก็ได้ แต่จากการบันทึกข้อมูลการสังเกตดวงดาวของนักดาราศาสตร์ชาวบาบิ โลนหลัง 400 ปีก่อนคริสตกาล ชาวกรีกได้นาข้อมูลเหล่านี้มาใช้ศึกษาดาราศาสตร์ อันเป็น จุดเริ่มต้นการศึกษาตรีโกณมิติทรงกลม ฮิปปาร์ชัส (Hipparchus of Nicaea :180 – 125 BC) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวกรีกที่มี ชื่อเสียงมากที่สุดในยุคนั้น จากบันทึกในตาราของโตเลมี ได้อ้างถึงตารางค่าคอร์ดแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของคอร์ดกับมุมที่ศูนย์กลางของวงกลมของฮิปปาร์ชัส
  • 2. โตเลมี (Claudius Ptolemy of Alexandria : A.D. 150) นักดาราศาสตร์และนัก คณิตศาสตร์ชาวกรีกได้เขียนตาราชื่อ “Syntaxis mathematica” หรือ “Mathematical collection” โดยได้รวบรวมและเรียบเรียงความรู้ต่างๆ ไว้อย่างละเอียดและเป็นลาดับขั้นตอน ง่ายต่อการค้นคว้า และจะพบว่าผลงานของฮิปปาร์ชัสมีอิทธิพลต่อความคิดในการพัฒนา ผลงานต่างๆ ของโตเลมี ปัจจุบันสามารถศึกษาผลงานฮิปปาร์ชัสได้จากตาราชุดนี้ซึ่งเป็นภาษา อาหรับและเรียกตาราชุดนี้ว่า "อัลมาเกส" (Almagest) หมายความว่า “The Greatest” มีทั้งหมด 13 เล่ม และมีตารางค่าคอร์ด(table of chords) ทุก ๆ มุมหนึ่งองศาตั้งแต่ 0O ถึง 180O ซึ่งทาให้ ทราบค่าไซน์(sine) ตั้งแต่ 0O ถึง 90O ปรากฏอยู่ในตาราเล่มที่หนึ่ง เมเนเลาส์(Menelaus of Alexandria : ประมาณ ค.ศ. 98) นักดาราศาสตร์และนัก คณิตศาสตร์ชาวกรีกได้เขียนตาราที่เกี่ยวกับคอร์ดของวงกลมไว้หกเล่ม แม้นไม่มีหลักฐานการ คิดปรากฏอยู่ แต่ก็ทราบจากบันทึกของผู้อื่นที่กล่าวไว้ ส่วนตาราอีกชุดหนึ่งมีสามเล่มได้แปล ไว้เป็นภาษาอาหรับ ชื่อว่า สเฟียริก (Sphaerica) ในตาราชุดนี้เป็นจุดเริ่มของการพัฒนา ตรีโกณมิติจากทรงกลม เล่ม 1 กล่าวถึงคาจากัดความของรูปสามเหลี่ยมบนทรงกลม และได้รวบรวมทฤษฎีของ รูปสามเหลี่ยมบนทรงกลม ในแบบเดียวกับทฤษฎีของรูปสามเหลี่ยมบนระนาบของยุคลิด เช่น ทฤษฎีเกี่ยวกับผลรวมของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมบนทรงกลมมากกว่า 180 องศา และการ เท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมบนทรงกลม เมื่อรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเท่ากันสามมุม มุมต่อมุม ซึ่งรูปสามเหลี่ยมบนระนาบที่มีมุมเท่ากันสามมุมอาจไม่เท่ากันทุกประการ เป็นต้น เล่ม 2 เกี่ยวกับเรื่องดาราศาสตร์ส่วนเล่ม 3 เป็นทฤษฎีบทที่เมเนเลาส์ได้คิดขึ้นเกี่ยวกับเรขาคณิต
  • 3. บนระนาบและบนทรงกลม และมีทฤษฎีที่สาคัญและได้รับการยกย่องคือ ทฤษฎีบทเมเนเลาส์ (Menelaus’ theorem) ซึ่งกล่าวว่า “ในรูปสามเหลี่ยม ABC บนระนาบ ลากเส้นตรงผ่านให้ตัดด้าน (หรือส่วนต่อ) BC, CA, AB ที่จุด D, E, F ตามลาดับ ดังนั้น 1                  FB AF EA CE DC BD ” http://cache.eb.com/eb/image?id=67397&rendTypeId=4 และ “รูปสามเหลี่ยม ABC บนทรงกลม ลากเส้นตรงผ่านให้ตัดส่วนโค้ง (หรือส่วนต่อ) BC, CA, AB ที่จุด L, M, N ตามลาดับ ดังนั้น 1 sin sin sin sin sin sin                   MA CM LC BL NB AN ” ซึ่งเป็นทฤษฎีบทที่ใช้ในการพิสูจน์ทฤษฎีอื่นๆ บนทรงกลม www.kcl.ac.uk/.../exhibitions/gsci/men.jpg
  • 4. Trigonometry มาจากภาษากรีก trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด Trigonometry เป็นสาขาของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวัดและหาความสัมพันธ์ระหว่าง ด้าน มุม และพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ในภาษาไทย “ตรีโกณมิติ” มาจากคาว่า ตรี(แปลว่า สาม)+ โกณ(อ่านว่า โกนะ แปลว่ามุมหรือเหลี่ยม)+มิติ(แปลว่า การวัด) เป็นวิชาเกี่ยวกับการวัด รูปสามเหลี่ยมต่างๆ โดยหาความสัมพันธ์ระหว่าง ด้าน มุม และพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ซึ่ง คาว่า Trigonometry เริ่มใช้ในศตวรรษที่ 17 ค่า chord หรือ cd คือความยาวของ chord ของวงกลมหนึ่งหน่วยเมื่อมีมุมที่จุด ศูนย์กลางเท่ากับ  และแบ่งรัศมีวงกลมหนึ่งหน่วยเป็นส่วนย่อยที่เท่ากัน แล้วให้ค่าของ cd เป็นจานวนเท่าของส่วนย่อยนี้ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าแบ่งรัศมีของวงกลมหนึ่งหน่วยเป็น 60 ส่วน เท่ากัน แล้ว cd  60 = 60 และ cd  180 = 120 เป็นต้น ที่จริงแล้ว cd  60 = 60/60 = 1 และ cd  180 = 120/60 =2 ดังรูป จากนั้นจึงนิยามฟังก์ชัน sin จากฟังก์ชัน cd ดังนี้ 2 )2( sin   cd  แรกเริ่มนั้น Aryabhata (c. 150) เรียกฟังก์ชัน sine ว่า jya ซึ่งหมายถึงคอร์ดในภาษาฮินดี ต่อมา jya เพี้ยนเป็น jaib ในภาษาฮาหรับ จากนั้นชื่อฟังก์ชันดังกล่าวกลายมาเป็น sinus ซึ่ง เป็นคาในภาษาละตินที่มีความหมายเช่นเดียวกับ jaib ตัวย่อ sin ถูกใช้เป็นครั้งแรกใน ภาพประกอบงานเขียนของ Gunter(1620) θ θ sin θ cd (2θ) 1 1
  • 5. เมื่อพิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีมุมแหลมมุมหนึ่งเท่ากับ θ เราสามารถหาค่า sine ของมุมแหลมอีกมุมหนึ่งได้ ค่าดังกล่าวนี้เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า sine of the complementary angle (sin ของมุมประกอบหนึ่งมุมฉาก) ซึ่งเขียนอย่างสั้นได้เป็น cosine ตัวย่อ cos ถูกใช้เป็นครั้งแรกในงานเขียนของ Moore (ค.ศ.1674) แม้ในปัจจุบันฟังก์ชัน tangent มีนิยามว่าเป็นอัตราส่วนของฟังก์ชัน sin กับฟังก์ชัน cosine แรกเริ่มนั้น tan θ คืออัตราส่วนระหว่างความสูงของวัตถุและความยาวของเงาของวัตถุ นั้น โดย θ คือมุมเงยของยอดของวัตถุเมื่อวัดจากจุดปลายของเงาของวัตถุ ชื่อ tangent ได้มา จากข้อสังเกตในงานเขียนของ Finck (ค.ศ.1583) ว่า tan θ คือ ความยาวของด้านตรงข้ามมุม θ ของสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยด้านตรงข้ามมุม θ นี้สัมผัส (tangent) กับวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีจุด ศูนย์กลางอยู่ที่จุดยอดของมุม θ ดังรูป นอกจากนั้นแล้ว Fincke ยังเรียกความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากในรูปว่า secant ของ θ ตัวย่อ tan และ sec ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดย Girard (ค.ศ.1626) ส่วนฟังก์ชัน cotangent และ cosecant นั้นมีต้นกานิดจากฟังก์ชัน tangent และ secant ในลักษณะเดียวกับที่ฟังก์ชัน cosine มีต้นกาเนิดจากฟังก์ชัน sine cos θ = sin (90O -θ) 90O -θ θ θ sec θ tan θ 1
  • 6. ศตวรรษที่ 17 Georg Joachim Rhaeticus นักดาราศาสตร์ชาว Teutonic เป็นผู้นิยาม ฟังก์ชันตรีโกณมิติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากบนวงกลมหนึ่งหน่วยโดยขยายมุมรอบวงกลมที่ เราใช้มาจนถึงทุกวันนี้ นอกจากนั้น Brook Taylor (ค.ศ.1685–1731) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้นิยาม ค่าฟังก์ชันตรีโกณอยู่ในรูปอนุกรมอนันต์ ดังนี้ และเรียกอนุกรมนี้ว่า “อนุกรมเทเลอร์” (Taylor’s series) ทาให้การหาค่าของตารางค่า อัตราส่วนทางตรีโกณมิติสมบูรณ์ แม่นยาจนถึงหลักทศนิยมที่ต้องการ จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าข้อมูลตรีโกณมิติในอดีตส่วนใหญ่มาจากตาราของ ชาวอาหรับโบราณ ที่ได้แปลไว้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าชนชาตินี้ได้ให้ความสนใจและมีส่วนในการ พัฒนาแขนงวิชาตรีโกณมิติให้มีความก้าวหน้าและสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่าง ๆ มากมายดังที่เห็นในปัจจุบัน ที่มา : สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (เล่ม๑๒) และ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (เล่ม ๖) David Smith. History of Mathematics, Volume II. Dover, New York, 1958. http://www.algebralab.org/lessons/lesson.aspx?file=Trigonometry_TrigNameOrigins.xml http://en.wikipedia.org/wiki/Trigonometric_functions http://tu-mathmania.blogspot.com/2007/09/blog-post_5607.html