SlideShare a Scribd company logo
y
x y 7        x y 3



              คู่อันดับ (5,2)
                            x
3.1 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร หมายถึง สมการเชิงเส้นสอง
ตัวแปร สองสมการมาเกี่ยวข้องกัน ซึงเมื่อเขียนกราฟจะได้กราฟ
                                 ่
เส้นตรงสองเส้น ลักษณะต่างๆ
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟที่กาหนดโดยสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ต่อไปนี้และหาจุดตัดของกราฟทั้งสองเส้น
y
2x  y  2
                        3x  y  3
                                         กราฟตัดกันที่
                                          จุด (1,0 ) ซึ่ง
                                         เป็นคาตอบของ
                                           ระบบสมการ
                 คู่อันดับ   (1,0)
                                          เมื่อแทนค่า
                                     x    x = 1 และ
                                          y = 0 จะทา
                                          ให้สมการทั้ง
                                          สองเป็นจริง
2) x – 2y = 1      และ   2x - 4y = 2

                   y


                                         x – 2y = 1            กราฟสองเส้น
                                                                ซ้อนทับกัน
                                                               หมายความว่า
                                                             ทุกจุดที่กราฟผ่าน
                                                               เป็นคาตอบ
                                                       x        ของระบบ
2x - 4y = 2
                                                                  สมการ


     ( คาตอบของระบบสมการ คือทุกจุดที่กราฟผ่าน จึงมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ )
3) 3x – 2y = -6 และ 2y - 3x = -3

                      3x – 2y = -6
                 y
                                      2y – 3x = -3

                                                         กราฟสองเส้น
                                                            ขนานกัน
                                                         หมายความว่า
                                                           ไม่มีจุดใด
                                                          เป็นคาตอบ
                                                     x     ของระบบ
                                                            สมการ


          ( กราฟสองเส้นขนานกัน ดังนันระบบสมการไม่มีคาตอบ )
                                    ้
ทา ... แบบฝึกหัด 3.1 หน้า 124 - 127
1. จงเขียนกราฟ แล้วหาว่าระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรต่อไปนี้
มีคาตอบเดียว หรือไม่มีคาตอบ

          1) x + 2y = 4       และ 2x + 3y = 7
          2) y + x = -2       และ 2y + 2x = -4
          3) x – 3y = 6        และ 2x - 6y = 8

          4) 2x + y = -3       และ 4x + 2y = -6
          5) 2y – x = 6        และ 2y = x - 4
          6) 2x – 3y -14 = 0 และ 3x + 2y = 8
1) x + 2y = 4      และ      2x + 3y = 7


              y                                     กราฟตัดกันที่
                                                    จุด (2,1) เป็น
2x + 3y = 7
                                                    คาตอบของ
                                                    ระบบสมการ
                                                    เมื่อแทนค่า
x + 2y = 4
                      คู่อันดับ   (2,1)
                                                    x = 2 และ
                                                    y = 1 จะทา
                                                x   ให้สมการทั้ง
                                                    สองเป็นจริง
2) y + x = -2          และ   2y + 2x = -4

                    y
                                                               กราฟสองเส้น
   y + x = -2                                                   ซ้อนทับกัน
                                                               หมายความว่า
                                                             ทุกจุดที่กราฟผ่าน
                                                               เป็นคาตอบ
2y + 2x = -4                                                    ของระบบ
                                                                  สมการ
                                                        x


      ( คาตอบของระบบสมการ คือทุกจุดที่กราฟผ่าน จึงมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ )
3) x – 3y = 6       และ    2x - 6y = 8

           y
                                                  กราฟสองเส้น
                                                     ขนานกัน
                                                  หมายความว่า
                                                    ไม่มีจุดใด
                          2x - 6y = 8              เป็นคาตอบ
                                                    ของระบบ
                                                     สมการ
                                            x
   x – 3y = 6


   ( กราฟสองเส้นขนานกัน ดังนันระบบสมการไม่มีคาตอบ )
                             ้
4) 2x + y = -3         และ    4x + 2y = -6


4x + 2y = -6     y
                                                             กราฟสองเส้น
                                                              ซ้อนทับกัน
                                                             หมายความว่า
                                                           ทุกจุดที่กราฟผ่าน
2x + y = -3                                                  เป็นคาตอบ
                                                              ของระบบ
                                                                สมการ
                                                     x



   ( คาตอบของระบบสมการ คือทุกจุดที่กราฟผ่าน จึงมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ )
5) 2y – x = 6         และ   2y = x - 4


               y

                                                     กราฟสองเส้น
                            2y - x = 6
                                                        ขนานกัน
                                                     หมายความว่า
                                                       ไม่มีจุดใด
                                                      เป็นคาตอบ
                                                       ของระบบ
                                                        สมการ
                                               x

  2y = x - 4
               ( กราฟสองเส้นขนานกัน ดังนันระบบสมการไม่มีคาตอบ )
                                         ้
6) 2x – 3y -14 = 0   และ   3x + 2y = 8

                                                       กราฟตัดกัน
              y
                                                      ที่ จุด (4,-2)
3x + 2y = 8
                                                     เป็นคาตอบของ
                                                    ของระบบสมการ
                                                        เมื่อแทนค่า
                               2x – 3y - 14 = 0        x = 4 และ
                                                      y = -2 จะทา
                                                       ให้สมการทั้ง
                                                  x    สองเป็นจริง
                           คู่อันดับ   (4,-2)
การแก้ระบบสมการโดยการคานวณ




                                 ba


วิธีการแก้ระบบสมการโดยการคานวณ
       ทาได้โดยพยายามกาจัดตัวแปร ออก 1 ตัว
ตัวอย่าง จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ และเขียนกราฟของระบบสมการ
         1)            x+ y = 8
                       x - y = 2
วิธีทา                 x+ y = 8              ----------- ( 1 )
                       x - y = 2            ----------- ( 2 )
 ( 1 ) + ( 2 ),           2x     = 10
                                                  นา 2 มาหารทั้งสองข้าง
                            x    =   5
                 แทนค่า x = 5 ในสมการที่ ( 1 )
                        5+ y = 8
                                                   นา 5 มาลบทั้งสองข้าง
                                y = 8-5
                                y = 3
              ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ คือ (5,3)
เขียนกราฟของระบบสมการ
            x   0   2     4
x+ y = 8
            y   8   6     4
            x   4   6     8
x - y = 2
            y   2   4     6


 x+ y = 8   y
                        x - y = 2



                              จุดตัดของกราฟคือจุด (5,3)
                                            ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ
                                          x คือ (5,3) หรือ x = 5 , y = 3
ข้อ 2 หน้า 135) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ และเขียนกราฟของระบบสมการ (ข้อ 3)
                              3
                           x  y 5         ---------- ( 1 )
                              2
                   12 y  8x  12          ---------- ( 2 )

(1)x8,                   8 x  12 y  40    ---------- ( 3 )

( 2 ) + ( 3 ),                                         นา 12 y มาลบ
                        12 y  12 y  52
                                                       ออกทั้งสองข้าง
                          0  52          เป็นสมการที่ไม่เป็นจริง
                 ดังนั้น ระบบสมการชุดนี้ไม่มีคาตอบ
เขียนกราฟของระบบสมการ
     3            x   -5   -2   1
  x  y 5        y
     2                 0    2    4
                  x    0   3    6
12 y  8x  12
                  y   -1   1    3

                                     3
                  y             x     y 5
                                     2




                                     12 y  8x  12   ดังนั้นระบบสมการนี้
                                                  x    ไม่มีคาตอบ เพราะ
                                                        กราฟ ไม่ตัดกัน
ทำแบบฝึกหัด 3.2 หน้ำ 135
1 ) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ และเขียนกราฟของระบบสมการ
ข้อ1)          x  7y  8
                 3x  2 y  5
วิธีทา            x  7y  8      ..................... (1)
                  3x  2 y  5    ..................... (2)
 (1) x 3 ,          3x  21y  24 ..................... (3)
(2) - (3) ,         2 y  21y  5  24
                                                นา -19 มาหารทั้งสองข้าง
                        19 y  19
                           y 1
                                                              นา 7 มาลบ
 แทนค่า y ลงในสมการที่ ( 1 ) , x  7(1)  8                   ทั้งสองข้าง
                                      x  87
                                         x 1
              ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ คือ ( 1 , 1 )
เขียนกราฟของระบบสมการ                        x  7y  8
                       x   1   -6   8          7 y  x  8
     x  7y  8                                      x 8
                       y   1    2   0          y
    3x  2 y  5       x   1   -1   3                  7
                       y   1    4   -2                   1  8 7
                                             x  1; y          1
                                                           7    7
       3x  2 y  5
       2 y  3 x  5                                     (6)1  8 6  8 14
                                           x  6; y                       2
                                                             7         7    7
           3x  5
       y
             2                                              88   0
                                             x  8; y              0
                 3(1)  5  3  5 2                         7     7
   x  1; y                      1
                    2         2    2

                 3(1)  5 3  5 8
x  1; y                       4
                     2        2   2

              3(3)  5  9  5  4
x  3; y                          2
                 2         2     2
ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ
                                      คือ (1,1) หรือ x = 1 , y = 1


               y
3x  2 y  5


                   จุดตัดของกราฟคือจุด (1,1)

                                 x  7 yx 8
                                         
ข้อ2 หน้า 135 ) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้
3)                     2 x  2( y  2) ..................... (1)
                      2x  2 y  4      ..................... (2)
  จากสมการที่ (1),          2x  2 y  4                  สมบัติการแจงแจง
                      2 x  2 y  4                  นา 2y มาลบทั้งสองข้าง
 นา -1 มาคูณทั้ง       2x  2 y  4            ..................... (3)
     สองข้าง
                      พบว่าสมการที่ (2) และสมการที่ (3) เหมือนกัน
                      ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ คือทุกๆจุดที่กราฟเส้นตรงผ่าน
                     จะหาจุดที่กราฟผ่านได้จากสมการที่ (1) หรือ (2) หรือ (3) ก็ได้

                                      2 y  2 x  4
                                             2x 4
                                        y      
                                              2 2
                                        y  x  2
ข้อ7 หน้า 135 ) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้
                         0.2 x  0.3 y  0 .5        ..................... (1)
                         0.5 x  0.2 y  0 .7        ..................... (2)
สมการที่ (1)x 5,      5(0.2 x  0.3 y)  5  0.5
                            x  1.5 y  2.5 ..................... (3)
สมการที่ (2)x 2,      2(0.5x  0.2 y)  2  0.7
                             x  0.4 y  1.4         ..................... (4)
 (3)- (4),            1.5 y  (0.4 y)  2.5  1.4
                         1.5 y  0.4 y  1.1
                                 1.9 y  1.1
                                       1.1
                                    y
                                       1.9
                                       11
                                    y
                                       19
11
                                   2 x  3( )  5
                                           19
                                         33
                                     2x   5
                                         19
                                                   33
                                           2x  5 
                                                   19
                                              (5 19)  33
                                         2x 
                                                   19
                                                 95  33
                                          2x 
                                                   19
                                               62
                                          2x 
                                               19
                                                62
                                           x
                                              19  2
                                                 31
                                           x
                  11                             19
      0.2 x  0.3( )  0.5
                  19
                 11 
10  0.2 x  0.3( )  10  0.5
                 19 
3.3 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
หลักการแก้ปัญหา             อ่านโจทย์ให้เข้าใจ

                    สมมติตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ถาม

                    สร้างสมการจากเงื่อนไขของโจทย์

                      แก้สมการหาค่าของตัวแปร

                  ถูกต้อง                        ไม่ถกต้อง
                                                     ู
                             ตรวจคาตอบ

แทนค่าตัวแปร/ตอบคาถามของโจทย์
ตัวอย่ำง ผลบวกของจำนวนสองจำนวนเท่ำกับ 36 แต่ ผลต่ำงของจำนวน
         ทั้งสองเท่ำกับ 4 จำนวนทั้งสองคือจำนวนใด
วิธีทำ กาหนดให้จานวนแรก คือ x และจานวนที่สองคือ y
                  x + y = 36             --------- ( 1 )
                  x-y = 4                --------- ( 2 )
 (1) + (2),          2x    = 40
                      x    = 20
              แทนค่า x = 20 ในสมการที่ ( 1 )
                  20 + y = 36
                       y    = 36 - 20
                       y    = 16

      ดังนั้นจานวนแรก คือ 20 และจานวนที่สองคือ 16          Ans.
แบบฝึกหัด 3.3 ( หน้า 143 )
1. ถ้าครึ่งหนึ่งของจานวนหนึ่งเป็นสามเท่าของจานวนอีกจานวนหนึ่ง และ
    สี่เท่าของผลต่างของสองจานวนนั้นเป็น 50 จงหาจานวนสองจานวนนั้น
วิธีทำ
              1
                x  3y                                ..................... (1)
              2
        4( x  y)  50                                ..................... (2)
                     (1) X 4 ,          4 x  24 y    ..................... (3)
                    (2) - (3),          4 y  50  24 y
                                  4 y  24 y  50

                                        20 y  50
                                              5
                                           y
                                              2
5
x  6
         2
4. ถ้าผลบวกของขนาดของมุมภายในสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็น 137 องศา
และผลต่างของขนาดของมุมสองมุมนี้เป็น 73 องศา จงหำขนำดของมุมภำยในทั้งสำม
ของรูปสำมเหลี่ยมนั้น
วิธีทำ
                             x  y  137         --------- ( 1 )
                             x  y  73           --------- ( 2 )
    (1) + (2),                 2x  210
                                 x  105

                            105  y  137

                                 y  137  105  32



    นั่นคือมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม คือ 105 , 32 และ 43 องศา
ทาแบบฝึกหัด 3.3 ( หน้า 143 )
ข้อ 5) ติ๊กมีเหรียญชนิดสิบบาท และหนึ่งบาท รวมกันได้ 200 เหรียญ คิดเป็นเงิน
     รวมกันได้ 920 บาท อยากทราบว่า ติ๊กมีเหรียญแต่ละชนิดอย่างละกี่เหรียญ
วิธีทา
                              x  y  200      --------- ( 1 )
                           10 x  y  920      --------- ( 2 )
   (2) - (1),                    9x  720
                                        720
                                    x       80
                                         9
                              80  y  200

                                   y  200  80  120

         ติ๊กมีเหรียญสิบบาท 80 เหรียญ และมีเหรียญหนึ่งบาท 120 เหรียญ
7. เมื่อเฝ้าดูนกกระจาบบินจับดอกบัวในสระน้าแห่งหนึ่ง พบว่าถ้านกจับดอกบัว
 ดอกละตัว จะเหลือนก 1 ตัวไม่มีบัวจับ และถ้านกจับดอกละ 2 ตัว จะเหลือดอกบัว
 1 ดอกที่ไม่มีนกจับ อยากทราบว่าในสระนี้มีบัวกี่ดอกและมีนกกี่ตัว
          วิธีทำ
แสดงว่ามีนกมากกว่า     x  y 1      ………...( 1 )     แสดงว่าดอกบัว 1 ดอก
  ดอกบัวอยู่ 1 ตัว        x                            เท่ากับนก 2 ตัว
                       y  1        ………...( 2 )
                          2
 สมการที่ (1) x 2 ,   2y  x  2    ………...( 3 )

  (1) + (3) ,              y3
                        x 3 1
                           x4

 ดังนั้น มีนกอยู่ 4 ตัวและมีดอกบัวอยู่ 3 ดอก
13. เมื่อเวลา 8.30 น. ก้องขับรถยนต์ออกจากเมืองดาหลาไปตามถนนสายหนึ่ง
  ด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อีก 1 ชั่วโมงต่อมา ปอขับรถยนต์ออก
  จากที่เดียวกันและไปตามเส้นทางเดียวกันกับก้องด้วยอัตราเร็วมากกว่าก้อง 20
  กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหาว่าปอจะตามก้องทันในเวลาใด
             9.30
             8.30 น.
เมืองดาหลา

  วิธีทา รถทั้งสองคันใช้ระยะทางเท่ากัน และใช้เวลาต่างกัน 1 ชั่วโมง
     กาหนดให้ ก้อง ใช้เวลาในการขับรถยนต์ x ชั่วโมงด้วยความเร็ว 60 กม./ชม.
     และให้ ปอ ใช้เวลาในการขับรถยนต์       y ชั่วโมงด้วยความเร็ว 80 กม./ชม.
วิธีทา รถทั้งสองคันใช้ระยะทางเท่ากัน และใช้เวลาต่างกัน 1 ชั่วโมง
   กาหนดให้ ก้อง ใช้เวลาในการขับรถยนต์ x ชั่วโมงด้วยความเร็ว 60 กม./ชม.
   และให้ ปอ ใช้เวลาในการขับรถยนต์ y ชั่วโมงด้วยความเร็ว 80 กม./ชม.
    ในเวลา x ชั่วโมง ก้อง ขับรถยนต์ได้ระยะทาง 60x กม.
    ในเวลา y ชั่วโมง ปอ ขับรถยนต์ได้ระยะทาง 80y กม.
             ดังนั้น 60x = 80y .................( 1 )
              และ x - y = 1               .................( 2 )
60x = 80y .................( 1 )
                         x-y = 1             .................( 2 )
( 2 ) x 60 ,      60x - 60y = 60             .................( 3 )

 (1)– (2) ,            60y = 80 y - 60
                 60y – 80y = - 60
                       – 20y = - 60
                              y = - 60
                                   – 20
                              y = 3
   ดังนั้น ปอใช้เวลาในการขับรถยนต์   y ชั่วโมง คือ 3 ชั่วโมง
   ดังนั้น ปอ จะขับรถยนต์ตามก้องทันเมื่อเวลา 09.30 + 3 = 12.30 น.

More Related Content

What's hot

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
sawed kodnara
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
ssusera0c3361
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 

What's hot (20)

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 

Viewers also liked

สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
kruthanapornkodnara
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 

Viewers also liked (7)

56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
 
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 

Similar to ระบบสมการเชิงเส้น

คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวeakbordin
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
ทับทิม เจริญตา
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นsuwanpinit
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศpummath
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
ทับทิม เจริญตา
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒMajolica-g
 

Similar to ระบบสมการเชิงเส้น (20)

คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Equation
EquationEquation
Equation
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 
Domain and range2
Domain and range2Domain and range2
Domain and range2
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2 ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 

More from Ritthinarongron School

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Ritthinarongron School
 

More from Ritthinarongron School (9)

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
พาราโบลา
 พาราโบลา พาราโบลา
พาราโบลา
 
ดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกายดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกาย
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

ระบบสมการเชิงเส้น

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. y x y 7 x y 3 คู่อันดับ (5,2) x
  • 6. ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร หมายถึง สมการเชิงเส้นสอง ตัวแปร สองสมการมาเกี่ยวข้องกัน ซึงเมื่อเขียนกราฟจะได้กราฟ ่ เส้นตรงสองเส้น ลักษณะต่างๆ ตัวอย่าง จงเขียนกราฟที่กาหนดโดยสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ต่อไปนี้และหาจุดตัดของกราฟทั้งสองเส้น
  • 7. y 2x  y  2 3x  y  3 กราฟตัดกันที่ จุด (1,0 ) ซึ่ง เป็นคาตอบของ ระบบสมการ คู่อันดับ (1,0) เมื่อแทนค่า x x = 1 และ y = 0 จะทา ให้สมการทั้ง สองเป็นจริง
  • 8. 2) x – 2y = 1 และ 2x - 4y = 2 y x – 2y = 1 กราฟสองเส้น ซ้อนทับกัน หมายความว่า ทุกจุดที่กราฟผ่าน เป็นคาตอบ x ของระบบ 2x - 4y = 2 สมการ ( คาตอบของระบบสมการ คือทุกจุดที่กราฟผ่าน จึงมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ )
  • 9. 3) 3x – 2y = -6 และ 2y - 3x = -3 3x – 2y = -6 y 2y – 3x = -3 กราฟสองเส้น ขนานกัน หมายความว่า ไม่มีจุดใด เป็นคาตอบ x ของระบบ สมการ ( กราฟสองเส้นขนานกัน ดังนันระบบสมการไม่มีคาตอบ ) ้
  • 10. ทา ... แบบฝึกหัด 3.1 หน้า 124 - 127 1. จงเขียนกราฟ แล้วหาว่าระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรต่อไปนี้ มีคาตอบเดียว หรือไม่มีคาตอบ 1) x + 2y = 4 และ 2x + 3y = 7 2) y + x = -2 และ 2y + 2x = -4 3) x – 3y = 6 และ 2x - 6y = 8 4) 2x + y = -3 และ 4x + 2y = -6 5) 2y – x = 6 และ 2y = x - 4 6) 2x – 3y -14 = 0 และ 3x + 2y = 8
  • 11. 1) x + 2y = 4 และ 2x + 3y = 7 y กราฟตัดกันที่ จุด (2,1) เป็น 2x + 3y = 7 คาตอบของ ระบบสมการ เมื่อแทนค่า x + 2y = 4 คู่อันดับ (2,1) x = 2 และ y = 1 จะทา x ให้สมการทั้ง สองเป็นจริง
  • 12. 2) y + x = -2 และ 2y + 2x = -4 y กราฟสองเส้น y + x = -2 ซ้อนทับกัน หมายความว่า ทุกจุดที่กราฟผ่าน เป็นคาตอบ 2y + 2x = -4 ของระบบ สมการ x ( คาตอบของระบบสมการ คือทุกจุดที่กราฟผ่าน จึงมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ )
  • 13. 3) x – 3y = 6 และ 2x - 6y = 8 y กราฟสองเส้น ขนานกัน หมายความว่า ไม่มีจุดใด 2x - 6y = 8 เป็นคาตอบ ของระบบ สมการ x x – 3y = 6 ( กราฟสองเส้นขนานกัน ดังนันระบบสมการไม่มีคาตอบ ) ้
  • 14. 4) 2x + y = -3 และ 4x + 2y = -6 4x + 2y = -6 y กราฟสองเส้น ซ้อนทับกัน หมายความว่า ทุกจุดที่กราฟผ่าน 2x + y = -3 เป็นคาตอบ ของระบบ สมการ x ( คาตอบของระบบสมการ คือทุกจุดที่กราฟผ่าน จึงมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ )
  • 15. 5) 2y – x = 6 และ 2y = x - 4 y กราฟสองเส้น 2y - x = 6 ขนานกัน หมายความว่า ไม่มีจุดใด เป็นคาตอบ ของระบบ สมการ x 2y = x - 4 ( กราฟสองเส้นขนานกัน ดังนันระบบสมการไม่มีคาตอบ ) ้
  • 16. 6) 2x – 3y -14 = 0 และ 3x + 2y = 8 กราฟตัดกัน y ที่ จุด (4,-2) 3x + 2y = 8 เป็นคาตอบของ ของระบบสมการ เมื่อแทนค่า 2x – 3y - 14 = 0 x = 4 และ y = -2 จะทา ให้สมการทั้ง x สองเป็นจริง คู่อันดับ (4,-2)
  • 17. การแก้ระบบสมการโดยการคานวณ ba วิธีการแก้ระบบสมการโดยการคานวณ ทาได้โดยพยายามกาจัดตัวแปร ออก 1 ตัว
  • 18. ตัวอย่าง จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ และเขียนกราฟของระบบสมการ 1) x+ y = 8 x - y = 2 วิธีทา x+ y = 8 ----------- ( 1 ) x - y = 2 ----------- ( 2 ) ( 1 ) + ( 2 ), 2x = 10 นา 2 มาหารทั้งสองข้าง x = 5 แทนค่า x = 5 ในสมการที่ ( 1 ) 5+ y = 8 นา 5 มาลบทั้งสองข้าง y = 8-5 y = 3 ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ คือ (5,3)
  • 19. เขียนกราฟของระบบสมการ x 0 2 4 x+ y = 8 y 8 6 4 x 4 6 8 x - y = 2 y 2 4 6 x+ y = 8 y x - y = 2 จุดตัดของกราฟคือจุด (5,3) ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ x คือ (5,3) หรือ x = 5 , y = 3
  • 20. ข้อ 2 หน้า 135) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ และเขียนกราฟของระบบสมการ (ข้อ 3) 3 x  y 5 ---------- ( 1 ) 2 12 y  8x  12 ---------- ( 2 ) (1)x8, 8 x  12 y  40 ---------- ( 3 ) ( 2 ) + ( 3 ), นา 12 y มาลบ 12 y  12 y  52 ออกทั้งสองข้าง 0  52 เป็นสมการที่ไม่เป็นจริง ดังนั้น ระบบสมการชุดนี้ไม่มีคาตอบ
  • 21. เขียนกราฟของระบบสมการ 3 x -5 -2 1 x  y 5 y 2 0 2 4 x 0 3 6 12 y  8x  12 y -1 1 3 3 y x y 5 2 12 y  8x  12 ดังนั้นระบบสมการนี้ x ไม่มีคาตอบ เพราะ กราฟ ไม่ตัดกัน
  • 23. 1 ) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ และเขียนกราฟของระบบสมการ ข้อ1) x  7y  8 3x  2 y  5 วิธีทา x  7y  8 ..................... (1) 3x  2 y  5 ..................... (2) (1) x 3 , 3x  21y  24 ..................... (3) (2) - (3) , 2 y  21y  5  24 นา -19 มาหารทั้งสองข้าง  19 y  19 y 1 นา 7 มาลบ แทนค่า y ลงในสมการที่ ( 1 ) , x  7(1)  8 ทั้งสองข้าง x  87 x 1 ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ คือ ( 1 , 1 )
  • 24. เขียนกราฟของระบบสมการ x  7y  8 x 1 -6 8 7 y  x  8 x  7y  8  x 8 y 1 2 0 y 3x  2 y  5 x 1 -1 3 7 y 1 4 -2 1  8 7 x  1; y   1 7 7 3x  2 y  5 2 y  3 x  5  (6)1  8 6  8 14 x  6; y    2 7 7 7  3x  5 y 2 88 0 x  8; y   0  3(1)  5  3  5 2 7 7 x  1; y    1 2 2 2  3(1)  5 3  5 8 x  1; y    4 2 2 2  3(3)  5  9  5  4 x  3; y     2 2 2 2
  • 25. ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ คือ (1,1) หรือ x = 1 , y = 1 y 3x  2 y  5 จุดตัดของกราฟคือจุด (1,1) x  7 yx 8 
  • 26. ข้อ2 หน้า 135 ) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ 3)  2 x  2( y  2) ..................... (1) 2x  2 y  4 ..................... (2) จากสมการที่ (1),  2x  2 y  4 สมบัติการแจงแจง  2 x  2 y  4 นา 2y มาลบทั้งสองข้าง นา -1 มาคูณทั้ง 2x  2 y  4 ..................... (3) สองข้าง พบว่าสมการที่ (2) และสมการที่ (3) เหมือนกัน ดังนั้นคาตอบของระบบสมการ คือทุกๆจุดที่กราฟเส้นตรงผ่าน จะหาจุดที่กราฟผ่านได้จากสมการที่ (1) หรือ (2) หรือ (3) ก็ได้ 2 y  2 x  4 2x 4 y  2 2 y  x  2
  • 27. ข้อ7 หน้า 135 ) จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ 0.2 x  0.3 y  0 .5 ..................... (1) 0.5 x  0.2 y  0 .7 ..................... (2) สมการที่ (1)x 5, 5(0.2 x  0.3 y)  5  0.5 x  1.5 y  2.5 ..................... (3) สมการที่ (2)x 2, 2(0.5x  0.2 y)  2  0.7 x  0.4 y  1.4 ..................... (4) (3)- (4), 1.5 y  (0.4 y)  2.5  1.4 1.5 y  0.4 y  1.1 1.9 y  1.1 1.1 y 1.9 11 y 19
  • 28. 11 2 x  3( )  5 19 33 2x   5 19 33 2x  5  19 (5 19)  33 2x  19 95  33 2x  19 62 2x  19 62 x 19  2 31 x 11 19 0.2 x  0.3( )  0.5 19  11  10  0.2 x  0.3( )  10  0.5  19 
  • 29. 3.3 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร หลักการแก้ปัญหา อ่านโจทย์ให้เข้าใจ สมมติตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ถาม สร้างสมการจากเงื่อนไขของโจทย์ แก้สมการหาค่าของตัวแปร ถูกต้อง ไม่ถกต้อง ู ตรวจคาตอบ แทนค่าตัวแปร/ตอบคาถามของโจทย์
  • 30. ตัวอย่ำง ผลบวกของจำนวนสองจำนวนเท่ำกับ 36 แต่ ผลต่ำงของจำนวน ทั้งสองเท่ำกับ 4 จำนวนทั้งสองคือจำนวนใด วิธีทำ กาหนดให้จานวนแรก คือ x และจานวนที่สองคือ y x + y = 36 --------- ( 1 ) x-y = 4 --------- ( 2 ) (1) + (2), 2x = 40 x = 20 แทนค่า x = 20 ในสมการที่ ( 1 ) 20 + y = 36 y = 36 - 20 y = 16 ดังนั้นจานวนแรก คือ 20 และจานวนที่สองคือ 16 Ans.
  • 31. แบบฝึกหัด 3.3 ( หน้า 143 ) 1. ถ้าครึ่งหนึ่งของจานวนหนึ่งเป็นสามเท่าของจานวนอีกจานวนหนึ่ง และ สี่เท่าของผลต่างของสองจานวนนั้นเป็น 50 จงหาจานวนสองจานวนนั้น วิธีทำ 1 x  3y ..................... (1) 2 4( x  y)  50 ..................... (2) (1) X 4 , 4 x  24 y ..................... (3) (2) - (3),  4 y  50  24 y  4 y  24 y  50 20 y  50 5 y 2
  • 33. 4. ถ้าผลบวกของขนาดของมุมภายในสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็น 137 องศา และผลต่างของขนาดของมุมสองมุมนี้เป็น 73 องศา จงหำขนำดของมุมภำยในทั้งสำม ของรูปสำมเหลี่ยมนั้น วิธีทำ x  y  137 --------- ( 1 ) x  y  73 --------- ( 2 ) (1) + (2), 2x  210 x  105 105  y  137 y  137  105  32 นั่นคือมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม คือ 105 , 32 และ 43 องศา
  • 35. ข้อ 5) ติ๊กมีเหรียญชนิดสิบบาท และหนึ่งบาท รวมกันได้ 200 เหรียญ คิดเป็นเงิน รวมกันได้ 920 บาท อยากทราบว่า ติ๊กมีเหรียญแต่ละชนิดอย่างละกี่เหรียญ วิธีทา x  y  200 --------- ( 1 ) 10 x  y  920 --------- ( 2 ) (2) - (1), 9x  720 720 x  80 9 80  y  200 y  200  80  120 ติ๊กมีเหรียญสิบบาท 80 เหรียญ และมีเหรียญหนึ่งบาท 120 เหรียญ
  • 36. 7. เมื่อเฝ้าดูนกกระจาบบินจับดอกบัวในสระน้าแห่งหนึ่ง พบว่าถ้านกจับดอกบัว ดอกละตัว จะเหลือนก 1 ตัวไม่มีบัวจับ และถ้านกจับดอกละ 2 ตัว จะเหลือดอกบัว 1 ดอกที่ไม่มีนกจับ อยากทราบว่าในสระนี้มีบัวกี่ดอกและมีนกกี่ตัว วิธีทำ แสดงว่ามีนกมากกว่า x  y 1 ………...( 1 ) แสดงว่าดอกบัว 1 ดอก ดอกบัวอยู่ 1 ตัว x เท่ากับนก 2 ตัว y  1 ………...( 2 ) 2 สมการที่ (1) x 2 , 2y  x  2 ………...( 3 ) (1) + (3) , y3 x 3 1 x4 ดังนั้น มีนกอยู่ 4 ตัวและมีดอกบัวอยู่ 3 ดอก
  • 37. 13. เมื่อเวลา 8.30 น. ก้องขับรถยนต์ออกจากเมืองดาหลาไปตามถนนสายหนึ่ง ด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อีก 1 ชั่วโมงต่อมา ปอขับรถยนต์ออก จากที่เดียวกันและไปตามเส้นทางเดียวกันกับก้องด้วยอัตราเร็วมากกว่าก้อง 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหาว่าปอจะตามก้องทันในเวลาใด 9.30 8.30 น. เมืองดาหลา วิธีทา รถทั้งสองคันใช้ระยะทางเท่ากัน และใช้เวลาต่างกัน 1 ชั่วโมง กาหนดให้ ก้อง ใช้เวลาในการขับรถยนต์ x ชั่วโมงด้วยความเร็ว 60 กม./ชม. และให้ ปอ ใช้เวลาในการขับรถยนต์ y ชั่วโมงด้วยความเร็ว 80 กม./ชม.
  • 38. วิธีทา รถทั้งสองคันใช้ระยะทางเท่ากัน และใช้เวลาต่างกัน 1 ชั่วโมง กาหนดให้ ก้อง ใช้เวลาในการขับรถยนต์ x ชั่วโมงด้วยความเร็ว 60 กม./ชม. และให้ ปอ ใช้เวลาในการขับรถยนต์ y ชั่วโมงด้วยความเร็ว 80 กม./ชม. ในเวลา x ชั่วโมง ก้อง ขับรถยนต์ได้ระยะทาง 60x กม. ในเวลา y ชั่วโมง ปอ ขับรถยนต์ได้ระยะทาง 80y กม. ดังนั้น 60x = 80y .................( 1 ) และ x - y = 1 .................( 2 )
  • 39. 60x = 80y .................( 1 ) x-y = 1 .................( 2 ) ( 2 ) x 60 , 60x - 60y = 60 .................( 3 ) (1)– (2) , 60y = 80 y - 60 60y – 80y = - 60 – 20y = - 60 y = - 60 – 20 y = 3 ดังนั้น ปอใช้เวลาในการขับรถยนต์ y ชั่วโมง คือ 3 ชั่วโมง ดังนั้น ปอ จะขับรถยนต์ตามก้องทันเมื่อเวลา 09.30 + 3 = 12.30 น.