SlideShare a Scribd company logo
หน้าที่ 37

                    2    1             1   2             1    2
8. กาหนด A =                 , B=              , C=                 จงหาค่าต่อไปนี้
                    3    4             3   4             0    2
  ( 1 ) det ( A ) = ………………………………………………………………….
        det ( B ) = …………………………………………………………………
        det ( A )  det ( B ) = …………………………………………………………………

  ( 2 ) AB =

 ( 3 ) det ( AB ) = …………………………………………………………………

  ( 4 ) BA =

  ( 5 ) det ( BA ) = …………………………………………………………………
  ( 6 ) ( AB ) C =
  ( 7 ) A- 1 =
         det (A- 1 ) = …………………………………………………………………
  ( 8 ) det ( A )  det ( A- 1 ) = …………………………………………………………………

  ( 9) At =

     det ( At ) = …………………………………………………………………

 ( 12 ) ( - A ) =
         det ( - A ) = …………………………………………………………………


  ข้ อสั งเกต ( 1 ) AB และ BA เป็ นเมตริ กซ์ที่เท่ากันหรื อไม่ ……………………………….
               ( 2 ) det ( AB ) และ det ( BA ) มีค่าเท่ากันหรื อไม่ …………………………..
               ( 3 ) มีผลลัพธ์ในข้อใดบ้างที่มีค่าเท่ากัน
                     …………………………………………………………………………………
                     …………………………………………………………………………………
                     …………………………………………………………………………………

   โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 38

คุณสมบัติของดีเทอร์ มนันต์
                     ิ
1. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ซึ่งมีแถวใดแถวหนึ่ง ( หรื อหลักใดหลักหนึ่ง ) เป็ น 0 ทั้งแถว
                           ่
   ( หรื อทั้งหลัก ) จะได้วา det ( A ) = 0
    ตัวอย่าง        0       0
                                     = 0              0     1
                                                                    = 0
                    3       5                         0     2
                                                                                ่
2. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ซึ่งมีสองแถว ( หรื อสองหลัก ) ใด ๆ เท่ากัน จะได้วา det ( A ) = 0
                     1 2                3                      1     1          5
     ตัวอย่าง         1 5                1    = 0               2     2           3       = 0
                     1 2                3                      3     3           4

3. ถ้าเมตริ กซ์ B เกิดจาก n  n เมตริ กซ์ A โดยการสลับแถวคู่ใดคู่หนึ่ง(หรื อสลับหลักคู่ใดคู่หนึ่ง )
   จะได้ det ( B ) = - det ( A )
                    2       3           1                                   1            2    3
     ตัวอย่าง       1        2           3    = - 20                แต่      2        3        1       = 20
                    2        1           1                                   2         1        1
                        2
                        3
                                1
                                0
                                         = -3                        แต่         1    2
                                                                                               = 3
                                                                                 0    3
4. ถ้าเมตริ กซ์ B เกิดจาก n  n เมตริ กซ์ A โดยการคูณแถวใดแถวหนึ่ง ( หรื อหลักใดหลักหนึ่ง )
   ด้วยค่าคงตัว k จะได้ det ( B ) = k det ( A )
                    1       2        3                                               2(1)       2( 2)       2 ( 3)
     ตัวอย่าง       4       5        6       = -3                          แต่        4            5           6        = -6
                    1       1        2                                                 1           1           2
                        2
                        3
                                1
                                2
                                         = 1                               แต่        5( 2)
                                                                                      5 ( 3)
                                                                                                   1
                                                                                                   2
                                                                                                         = 5
5. ถ้าเมตริ กซ์ B เกิดจาก n  n เมตริ กซ์ A โดยการคูณแถวใดแถวหนึ่ง ( หรื อหลักใดหลักหนึ่ง )
                                                          ่
   ด้วยค่าคงตัวแล้วนาไปบวกกับแถวหนึ่ง ( หลักหนึ่ง ) จะได้วา det ( B ) = det ( A )
                    1       2 3                                                            1                  2                3
    วิธีทา          4       5 6              = -3                         แต่             4                  5                6     = -3
                    1        1 2                                                     2(1)  1          2( 2)  1       2 ( 3)  2
                                                                                                5( 2)  1
                        2
                        3
                                1
                                2
                                         = 1                               แต่       2
                                                                                     1          5 ( 3)  2
                                                                                                                   =      2
                                                                                                                          3
                                                                                                                               11
                                                                                                                               12
                                                                                                                                    = 1
6. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ซึ่งแถวที่ i ( หลักที่ i ) ของ A เท่ากับ ผลคูณของค่าคงตัว
                                   ่
   กับแถวที่ j ( หลักที่ j ) จะได้วา det ( A ) = 0
                       1               2        3
     ตัวอย่าง        3(1)           3( 2 )    3( 3)   = 0                  และ        4
                                                                                      5
                                                                                               2( 4 )
                                                                                               2(5)
                                                                                                          = 0
                      1               0         2




 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 39

       7. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์สามเหลี่ยม จะได้ det ( A ) เท่ากับผลคูณของสมาชิกเส้นทแยงมุมหลัก
                           2    0     0                                      1   4   6
           ตัวอย่าง        1     3    0   = 30                         และ   0   2   0   = 6
                           4     6    5                                      0   0   3

                                                      ่
     8. ถ้า A และ B เป็ น n  n เมตริ กซ์ จะได้วา det ( AB ) = ( det ( A ) ) ( det ( B ) )
     9. เมตริ กซ์ A ซึ่งเป็ น n  n เมตริ กซ์ จะมีอินเวอร์ การคูณก็เมื่อ det ( A )  0
                               det ( A- 1 ) =          1
                                                   det ( A )

     10.                       det (At ) = det ( A )
     11.                       det ( 0 ) = 0
                                      
     12.                       det ( In ) = 1
     13. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ แล้ว det ( kA ) = kn det ( A ) เมื่อ k เป็ นจานวนจริ ง
                                      2 1
           ตัวอย่าง        A =                           det ( A ) = 5
                                      3 4
                                        8    4
                           4A =                              det ( 4 A ) = 80 = 42  5
                                        12 16 



3.9 การหาอินเวอร์ สการคูณของเมตริกซ์
     จากสมบัติการคูณเมตริ กซ์และอินเวอร์สของ 2  2 เมตริ กซ์ จะมีสมบัติท่ีเกี่ยวกับการคูณดังนี้
     1. เมตริ กซ์ A มิติ n  n เป็ นอินเวอร์สของการคูณเมตริ กซ์ B มิติ n  n ก็ต่อเมื่อ AB = BA = In
     2. เมตริ กซ์ A มิติ n  n เป็ นอินเวอร์ สการคูณก็ต่อเมื่อ det ( A )  0 เรี ยกเมตริ กซ์ A ที่มี
อินเวอร์ สการคูณว่า นอนซิงกูลาร์ เมตริกซ์ เรี ยกเมตริ กซ์ A ที่ไม่มีอินเวอร์ สการคูณว่า ซิงกูลาร์ เมตริกซ์
( เมตริ กซ์เอกฐาน )
     3. ถ้าเมตริ กซ์ A มิติ n  n มีอินเวอร์ ส จะมีได้เพียงเมตริ กซ์เดียวเท่านั้น
                      a       b
    4. ถ้า A =                       โดยที่ det ( A )           0
                      c       d
                                         1     d  b
                           A- 1 =
                                      ad  bc  c a 
                                                    
    ในการหาอินเวอร์สการคูณของ n  n เมตริ กซ์ จะอาศัยบทนิยามที่เกียวข้องดังนี้
                                 บทนิยามโคแฟกเตอร์ เมตริกซ์

    บทนิยาม กาหนด A = [ a ij ] n  n โดยที่ n  2 และ C i j แทนโคแฟกเตอร์ของ a ij
             โคแฟกเตอร์เมตริ กซ์ ( Cofactor matorix ) ของ A คือ n  n เมตริ กซ์ ซึ่งสมาชิกในแถว
             ที่ i และหลักที่ j คือ C i j
      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 40


     เขียนแทนโคแฟกเตอร์ของเมตริ กซ์ A ด้วยสัญลักษณ์ cof . A ดังนี้
                                                          C11    C12    ...  C1n 
                                                                                  
                                                          C 21   C 22   ...  C 2n 
                                                         .                        
                                      cof . A =                                   
                                                         .                        
                                                         .                        
                                                                                  
                                                          Cn 1
                                                                 Cn 2    ... C nn 
                                                                                   
                                       1               1  0
ตัวอย่างที่ 1       กาหนดให้ A =  2  
                                                             
                                                        3  2      จงหา cof . A
                                      3
                                                        0  4
                                                             

วิธีทา          C11 = ( - 1 ) 1 + 1 3 42
                                    0
                                                          = ( 1 ) ( 12 – 0 )     = 12
                                                2
                C12 = ( - 1 ) 1 + 2    2
                                      3         4
                                                          = (-1)(8–6)             = -2
                C13 = ( - 1 ) 1 + 3    2
                                      3
                                                    3
                                                    0
                                                          = ( 1 ) (0 +9 )         = 9
                                          1
                C21 = ( - 1 ) 2 + 1        0
                                                    0
                                                    4
                                                          = ( -1 ) ( - 4 – 0 )     = 4
                C22 = ( - 1 ) 2 + 2    1
                                      3
                                                    0
                                                    4
                                                          = (1)(4–0)               = 4
                                                1
                C23 = ( - 1 ) 2 + 3    1
                                      3         0
                                                          = (-1)(0–3)             = 3
                                          1
                C31 = ( - 1 ) 3 + 1        3
                                                 0
                                                2
                                                          = (1)(2–0)             = 2
                C32 = ( - 1 ) 3 + 2   1
                                      2
                                                0
                                               2
                                                          = (-1)(-2–0) = 2
                                           1
                C33 = ( - 1 ) 3+ 3    1
                                      2     3
                                                          = ( 1 ) ( 3 + 2)       = 5




         โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 41

                            บทนิยามของแอดจอยต์ เมตริกซ์ ( Adjoint matrix )

           บทนิยาม กาหนด A = [ a ij ] n  n โดยที่ n  2
                   แอดจอยต์เมตริ กซ์ของเมตริ กซ์ A คือ ทรานสโพสของ cof . A

           เขียนแทนแอดจอยต์เมตริ กซ์ของ A ด้วยสัญลักษณ์ adj . A
                                                                                                                         t
                                                                                    C11            C12    ...   C1n 
                             C11    C12    ...  C1n                                                               
                                                     
                             C 21   C 22    ... C 2n                              C21            C22    ...   C2n 
                                            .                                    .                                
          จาก cof . A =                                              ่
                                                                 จะได้วา adj . A =                                  
                                            .                                    .                                
                                            .                                    .                                
                                                     
                             Cn 1
                                    Cn 2    ... C nn 
                                                      
                                                                                                                    
                                                                                    Cn1
                                                                                                   Cn 2   ...   Cnn 
                                                                                                                     
                                       1       1         0
                                                           
ตัวอย่างที่ 2         กาหนด A =        2         3       2      จงหา adj . A
                                      3
                                                 0        4
                                                            
                              ่
วิธีทา จากตัวอย่างที่ 1 จะได้วา
                                                   12    2       2
                                                                   
                                 adj . A =         4      4       3
                                                   2
                                                          2       5
                                                                    
                                                                           t
                                                           12     2 2              12 4 2 
            ดังนั้น    adj . A = ( cof . A )t =            4      4 3
                                                                               =       2 4 2
                                                                                           
                                                           2
                                                                  2 5 
                                                                                     2 3 5
                                                                                             
            จากบทนิยามของโคแฟกเตอร์เมตริ กซ์และแอดจอยต์เมตริ กซ์ขางต้น นามาใช้ในการหาอินเวอร์สเมต
                                                                 ้
ริ กซ์ได้ดงนี้
          ั

          บทนิยาม กาหนด A = [ a ij ] n  n โดยที่ n  2
                        ถ้า det ( A )      0         จะได้วา A – 1 =
                                                            ่                         1
                                                                                   det( A)
                                                                                             . adj . A



                                       1 1     0
                                                 
ตัวอย่างที่ 3          กาหนด A =       2    3  2                 จงหา A – 1
                                      3
                                            0   4
                                                  
                                      1 1     0
วิธีทา                det ( A ) =     2   3 2
                                     3    0   4

                   ่
             จะได้วา     det ( A ) =
         โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 42

                            = 12 + ( - 6 ) + 0 – 0 – 0 – ( - 8 ) = 14
                                           12       4   2
    จากตัวอย่างที่ 2 ;     adj . A =      2 4 2
                                           2 3 5

    จากบทนิยาม ;               A- 1 =        1
                                                    . adj . A
                                          det( A)
                                             12        4    2
    ดังนั้น                     -1
                               A =       1 2          4
                                                              
                                                             2
                                            
                                        14 
                                             2         3    5
                                                              




โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 37


                                              แบบฝึ กหัดที่ 10

1.    เมตริ กซ์ต่อไปนี้มีอินเวอร์ สการคูณหรื อไม่ ถ้ามีจงหาอินเวอร์ สการคูณ
                    3   2      1
                                 
      (1) A =       5    6     2
                    1
                         0     3
                                  
…………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
                  1      3   2
                              
     (2) B =     4      2   0
                  1
                         3   2
                               
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..



      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 38

3.10 การแก้ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ เมตริกซ์ และดีเทอร์ มินันต์
        พิจารณาระบบสมการเชิงเส้นที่มีจานวนตัวแปรเท่ากับจานวนสมการ เช่น
                               3x + 2y = 5
                               5x + 3y = 8
        สามารถเขียนแทนระบบนี้ดวยเมตริ กซ์ โดยอาศัยบทนิยามการเท่ากันของเมตริ กซ์
                                 ้
                                3x    2y        5 
                                             =    
                                5x    3y        8
                                3x    2y         3 2  x 
                       แต่                
                                       3y 
                                               =         
                                5x                 5 3  y 
       ดังนั้น เขียนแทนระบบสมการด้วยเมตริ กซ์ ดังนี้
                             3   2  x              5 
                                           =        
                             5   3  y              8
       สาหรับระบบสมการเชิงเส้นโดยทัวไป ซึ่ งมี n ตัวแปร และ n สมการ
                                   ่
                        a11x1 + a12x2 + … + a1nxn = b1
                        a12x1 + a22x2 + … + a2nxn = b2
                                                   .

                                                   .

                            am1x1 + an2x2 + … + an2xn = bn
                    ่
       เปลี่ยนให้อยูในรู ปเมตริ กซ์ได้ดงนี้
                                        ั
       การหาคาตอบของระบบสมการโดยใช้เมตริ กซ์มีวธีดาเนินการได้หลายวิธี ดังนี้
                                                     ิ
3.10.1 การหาคาตอบโดยใช้ เมตริกซ์ ผกผันของเมตริกซ์ สัมประสิ ทธิ์
      ให้ A, B, X เป็ นเมตริ กซ์ โดยที่ A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์
                      กาหนดโดย AX = B
                              A- 1 ( AB ) = A- 1 B
                             ( A- 1 A ) X = A - 1 B
                                       I X = A- 1 B
          ดังนั้น                         X = A- 1 B

           นันคือ ถ้า A X = B แล้ว X = A- 1 B เมื่อ A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์
             ่




     โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 39

ตัวอย่างที่ 1       จงแก้ระบบสมการ      3x + 2y = 5
                                          5x + 3y = 8
วิธีทา           เขียนสมการเมตริ กซ์แทนระบบสมการได้ดงนี้
                                                    ั
                                         3        2  x               5 
                                                               =      
                                         5        3  y               8

                                                   1
                           x        3      2        5 
                 ดังนั้น        =                    
                           y        5      3        8

                           x                 3               2  5 
                                =      1
                                                                  
                           y         9  10   5              3  8 

                           x                   1                   1
                                = (-1)                     =        
                           y                   1                   1


                ดังนั้น x = 1         และ          y = 1




         โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 37


                                              แบบฝึ กหัดที่ 11

จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้เมตริ กซ์ผกผันของเมตริ กซ์สัมประสิ ทธิ์
 ( 1 ) 4x + 3y = 1
         2x + 5y = 11
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

( 2)  x + y +z = 6
    2x - y - z = - 3
   x – 3y + 2z = 1
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
       โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 38


                                                                                    ่
         ในหัวข้อ 3.10.1 จะเห็นว่าระบบสมการที่มี 3 ตัวแปร วิธีแก้ระบบสมการจะมีความยุงยาก
เกี่ยวกับการหาอินเวอร์ สการคูณเมตริ กซ์ ดังนั้นอาจจะหลีกเลี่ยงไปใช้วธีอื่นดังนี้
                                                                    ิ
3.10.2 การแก้ระบบสมการโดยใช้ กฎของคราเมอร์ ( Cramer , s rule )

     ทฤษฎีบทที่ 4 ( กฎของคราเมอร์ )
         ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์มิติ n  n โดยที่ det ( A )  0 แล้วระบบสมการที่เขียนในรู ปสมการเมตริ กซ์
     A X = B เมื่อตัวไม่ทราบค่าคือ x1, x2 , … xn และ b1, b2, … bn เป็ นค่าคงตัว
                              x1                    b1 
                                                       
                              x2                    b2 
                             .                     . 
            โดยที่      x=          ,       B=         
                             .                     . 
                             .                     . 
                                                       
                              xn 
                                                    bn 
                                                         

            มีคาตอบคือ x1 =           det ( A1 )
                                      det ( A )
                                                   , x2 =      det ( A2 )
                                                               det ( A )
                                                                            , … , xn =        det ( An )
                                                                                               det ( A )
            เมื่อ A i    คือ เมตริ กซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A ด้วยหลักของเมตริ กซ์ B



ตัวอย่างที่ 2       จงหาคาตอบของระบบสมการที่กาหนดโดยใช้กฎของคราเมอร์
                                     x+y+z = 6
                                     2x - y - z = - 3
                                    x - 3y + 2z = 1
วิธีทา          เขียนสมการเมตริ กซ์ได้ดงนี้
                                       ั
                             1        1     1    x         6
                                                              
                             2       1     1   y   =      3
                             1
                                     3     2   z
                                                             1
                                                                  
                             1        1    1
                                             
                ให้ A =      2       1    1       จะได้ det ( A ) = - 15                                 ่
                                                                                      โดยกฎของคราเมอร์ จะได้วา
                             1
                                     3    2
                           6     1   1 
                                                                                                                   15
                 A1 =       3  1  1  det ( A 1 ) = - 15                 ดังนั้น x =     det ( A1 )
                                                                                              det ( A )
                                                                                                               =     15
                                                                                                                           =1
                           1 3
                                     2
                          1    6   1 
                                                                                                                  30
                 A2 =      2  3  1  det ( A 2 ) = - 30                 ดังนั้น y =     det ( A2 )
                                                                                            det ( A )
                                                                                                           =        15
                                                                                                                           =2
                          1
                               1   2




         โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 39

                 1    1     6
                                                                                            45
       A3 =     2    1     3      det ( A 3 ) = - 45 ดังนั้น z =       det ( A3 )
                                                                                         =          =3
                 1
                                                                            det ( A )         15
                     3      1
                               


   คาตอบของระบบสมการ คือ x1 = 1 , y = 2 , และ z = 3




โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 37


                                          แบบฝึ กหัดที่ 12

          จงแก้ระบบสมการเชิงเส้นต่อไปนี้โดยใช้กฎของคราเมอร์
( 1 ) x - 2y – 3z = 3
         x+y-z = 2
       2x - 3y         = 5z + 5
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
( 2 ) x1 + x2 + x3 = 0
       x2 - x3 + x4 = 5
       x2 + x3 - x4 = - 7
     2x 2 - x 3 + 2x 4 = 6
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………


   โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 38

จากแบบฝึ กหัด 12          จะเห็นว่า เมื่อระบบสมการมีตวแปรมากกว่า 3 ตัวแปร การหาค่า
                                                         ั
             ั                                      ุ่
ดีเทอร์ มินนต์เพื่อใช้กฎของคราเมอร์ เป็ นวิธีการที่ยงยาก ดังนั้นอาจจะใช้วธีการอื่น เช่น การแปลงเมตริ กซ์
                                                                         ิ
โดยใช้วธีการดาเนินการตามแถว ( row operation )
          ิ
3.10.3 การแก้ระบบสมการโดยใช้ การแปลงเมตริกซ์
            การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยวิธีพีชคณิ ตธรรมดานั้น มีวธีการสร้างระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
                                                                    ิ
เครื่ องมือ 3 วิธีการ ซึ่ งทาให้คาตอบของระบบสมการไม่เปลี่ยนแปลง

      เครื่องมือ 3 วิธีการดังกล่าว คือ
      1. การสลับที่ระหว่างสมการสองสมการใด ๆ ในระบบ
      2. การใช้ค่าคงตัวที่ไม่ใช่ศูนย์ คูณทุก ๆ พจน์ของจานวนทั้งสองข้างของเครื่ องหมายเท่ากับของสมการ
                                                         ่
      3. การเปลี่ยนสมการใดสมการหนึ่งในระบบ โดยใช้คาคงตัวที่ไม่ใช่ศูนย์คูณทุก ๆ พจน์ของจานวนทั้ง
สองข้างของเครื่ องหมายเท่ากับ ในสมการที่ตองการเปลี่ยนแปลงสมการอื่นอีกสมการหนึ่งในระบบ ( ใช้ค่าคง
                                            ้
ตัวคนละจานวน )         เเล้วนามาบวกหรื อลบกัน เป็ นสมการใหม่ที่ใช้เเทนสมการเดิม



    ตัวอย่างเช่ น         ระบบสมการ              x - 2y = 3                                 ………… ( 1 )
                                                  x + 3y = 8                                 ………… ( 2 )
    ระบบสมการ ( 1 ), ( 2 ) จะมีคาตอบเหมือนกับระบบสมการ x - 2y = 3                            ………… ( 3 )
                                                                      5y = 5                 ………… ( 4 )
    ระบบสมการ ( 3 ), ( 4 ) จะมีคาตอบเหมือนกับระบบสมการ x - 2y = 3                            ………… ( 5 )
                                                                       y =1                  ………… ( 6 )
ในทานองเดียวกัน ระบบสมการ ( 5 ), ( 6 ) จะมีคาตอบเหมือนกับระบบสมการ x = 5 ………… ( 7 )
                                                                                y = 1 ………… ( 8 )
       เราสามารถนาวิธีการข้างต้นนี้มาใช้แก้ระบบสมการ โดยจัดให้อยู๋ในรู ปของเมตริ กซ์ แล้วปรับให้
เมตริ กซ์ของสัมประสิ ทธิ์ ที่ได้จากระบบสมการเป็ นเมตริ กซ์ของเอกลักษณ์การคูณได้ ซึ่ งมีข้ นตอนการ
                                                                                          ั
ดาเนินงานดังนี้




      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 39

     (1)                       ่
             จัดระบบสมการให้อยูในรู ป
                          a11x1 + a12x2 + … + a1nxn = b1
                          a22x1 + a22x2 + … + a2nxn = b2
                                                  .

                                                  .

                                                  .

                                  an1x1 + an2x2 + … + annxn = bn
                             ่
               แล้วจัดให้อยูในรู ปสมการเมตริ กซ์ AX = B                ดังนี้
       ( 2 ) เขียนเมตริ กซ์ใหม่ในรู ปเมตริ กซ์ [ A :B ] ซึ่ งเรี ยกว่า เมตริ กซ์แต่งเติม ( augmented matrix )
       ( 3 ) ใช้การดาเนินการตามแถว ( row operation ) เพื่อเปลี่ยนรู ปเมตริ กซ์แต่งเติมชุดเดิม [ A : B ]
ให้เป็ นเมตริ กซ์แต่งเติมชุดใหม่ในรู ปของ [ I : D ] ดังนี้

    1. สลับทีระหว่างสองแถวใด ๆ ในเมตริกซ์ แต่ งเติม
                 ่
         ใช้ สัญลักษณ์ รหัส R ij หมายถึง การสลับที่แถวที่ i และแถวที่ j โดยแถวอื่น ๆ คงเดิม
    2. คูณสมาชิ กทุกตัวในแถวใดแถวหนึ่งด้ วยค่ าคงตัวทีไม่ ใช่ ศูนย์
                                                      ่
         ใช้ สัญลักษณ์ รหัส cR i หมายถึง การคูณสมาชิกแถวที่ i ด้วย c  0
    2. เปลียนแปลงแถวใดแถวหนึ่งด้ วยการคูณสมาชิ กทุกตัวในแถวอืน ( แถวเดียว ) ด้ วยค่ าคงตัว
               ่                                                    ่
         c แล้วนาผลคูณที่ได้มาบวกกับสมาชิกทุกตัวในลาดับเดียวกันของแถวที่ตองการเปลี่น
                                                                                ้
         ใช้ สัญลักษณ์ R i + c R
การใช้การดาเนินการตามแถวบนเมตริ กซ์ [ A : B ] ให้อยูในรู ปเมตริ กซ์ [ I : D ] จะได้ค่า [ A : B ] สมมูล
                                                    ่
แบบแถว [ I : D ] และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ [ A : B ] ~ [ I : D ]
                                        1 0 .. . 0          d1
                                        0 1… 0             d2
                     โดยที่ [ I : D ] = . . . . .
                                        0 0       1        dn




      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 40


                                      ่
           ซึ่ งเมื่อเปลี่ยนรู ปให้อยูในรู ปของสมการ จะได้รูปแบบระบบสมการเป็ น
                                             x 1 = d1
                                             x2 = d2
                                                 .
                                             xn = dn
                  นั้นคือ คาตอบของระบบสมการคือ x 1 = d 1, x 2 = d 2, … , x n = d n

ตัวอย่างที่ 3          จงแก้ระบบสมการ             x - 2y - 3z = 3
                                                      x+y-z = 2
                                                          2x - 3y = 5z + 5
วิธีทา          จงเขียนเมตริ กซ์แต่งเติมจากระบบสมการได้ดงนี้
                                                        ั

                                  1  2  3        3
                                                    
                   [ A : B] =     1 1   1         2
                                  2  3  5
                                                   5
                                                     


                ใช้การดาเนินการตามแถว ( row operation ) ได้ดงนี้
                                                            ั

                                   1  2  3 3 
                   [A:B] ~                      
                                            2 1           R2-R1
                                   0 3
                                   0  5  3 1 
                                                          R3-2R2

                                        5        7
                                  1 0  3        3
                                                              R1 + (2/3)R2
                                                   
                                                 1
                             ~    0 1
                                        2
                                        3
                                                 
                                                  3
                                                              (1/3)R2
                                                   
                                  0 0 1        
                                                  2
                                  
                                       3         3         R3 + (5/3)R2

                                 1 0 0       1           R1 + 5R3
                                               
                            ~    0 1 0       1            R2 – 2R3
                                 0 0 1
                                             2
                                                           3R3




         โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 41

         จะได้ระบบสมการที่มีคาตอบเท่ากับระบบสมการเดิม ดังนี้
                          x + 0y + 0z = - 1
                          0x + y + 0z = 1
                         0x + 0y + z = - 2
            ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ x = - 1, y = 1 และ z = - 2

3.10.4    การหาเมตริกซ์ ผกผันของการคูณเมตริกซ์ โดยใช้ การดาเนินการตามแถว
                                       ์
           การดาเนินการตามแถวของเมตริ กสามารถนาไปใช้หาเมตริ กซ์ผกผันสาหรับการคูณของเมตริ กซ์
นอนซิ งกูลาร์ ได้ดงนี้
                  ั

     กาหนด A = [ a ij ] n  n ซึ่งเป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ จะหา A- 1 โดยใช้วธีดาเนินการตามแถว
                                                                                ิ
 ( row operation ) ดังนี้
                             ่
    1. เขียนเมตริ กซ์ให้อยูในรู ป [ A I n ] ซึ่งเป็ นเมตริ กซ์ n  2n โดยการเขียนเมตริ กซ์ A ต่อด้วย
       เมตริ กซ์ I n
    2. ใช้การดาเนินการตามแถวบน [ A I n ] สร้างเมตริ กซ์ใหม่ จนกระทังเมตริ กซ์ใหม่อยู๋ในรู ป I n B |
                                                                           ่
        ซึ่งมี I n เป็ นส่ วนแรก และตามด้วยเมตริ กซ์ B




     โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 37

วิธีการนี้ใช้ได้เฉพาะกับเมตริ กซ์ A ซึ่ งเป็ นนอนซิ งกูลาร์ เมตริ กซ์เท่านั้น
ข้อสอบ O-NET 2549
1. ถ้า x, y ,z สอดคล้องกับระบบสมการ
              x + 2y – 2z = -2
            2x + y + 2z = 5
             x – 3y – 2z = 3
                                         2        1         3
      แล้ว ดีเทอร์มิแนนต์               2        2         2       มีค่าเท่ากับข้อใด
                                        x  2 y 2x  y x  3 y
        1.. 60         2. 75           3. 90                4. 105
     ตอบ 60
2.
                       3 x 3 
         กาหนดให้ A = 2 0 9 เมื่อ
                                               x เป็ นจานวนจริ ง
                       1 1 2 
                             
             3 x 3 : 1 0 0                      1 0 0 : 9 5  36
      ถ้า     2 0 9 : 0 1 0 ~                   0 1 0 :  5  3 21                   แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด
                                                                   
             1 1 2 : 0 0 1
                                                0 0 1 :  2  1 8 
                                                                     
       ตอบ x = 4




        โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32

More Related Content

What's hot

เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
Thanuphong Ngoapm
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์
porntipa Thupmongkol
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
Aon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
Thidarat Termphon
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
Chon Chom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Thanuphong Ngoapm
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
Thanuphong Ngoapm
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
Thanuphong Ngoapm
 

What's hot (20)

ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Unit 1 matrix
Unit 1 matrixUnit 1 matrix
Unit 1 matrix
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์
 
Addition matrix
Addition matrixAddition matrix
Addition matrix
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
P2a
P2aP2a
P2a
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 

Viewers also liked

เมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายเมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
Adisak1341
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1K'Keng Hale's
 
โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)
โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)
โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)Krupom Ppk
 
โค้งปกติ (Normal curve)
โค้งปกติ  (Normal curve)โค้งปกติ  (Normal curve)
โค้งปกติ (Normal curve)
Krupom Ppk
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 

Viewers also liked (6)

เมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายเมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
 
โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)
โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)
โควต้า ม.เกษตร 55(สกลนคร)
 
3 3
3 33 3
3 3
 
โค้งปกติ (Normal curve)
โค้งปกติ  (Normal curve)โค้งปกติ  (Normal curve)
โค้งปกติ (Normal curve)
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 

Similar to Matrix3

กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
Ritthinarongron School
 
31202 mid512
31202 mid51231202 mid512
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
31202 final502
31202 final50231202 final502
31202 final522
31202 final52231202 final522
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
ภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
9789740329183
97897403291839789740329183
9789740329183
CUPress
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2Destiny Nooppynuchy
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3คุณครูพี่อั๋น
 

Similar to Matrix3 (19)

Math4
Math4Math4
Math4
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
Key o net math6 y50
Key o net math6 y50Key o net math6 y50
Key o net math6 y50
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
31202 mid512
31202 mid51231202 mid512
31202 mid512
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
 
Math onet49
Math onet49Math onet49
Math onet49
 
เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49
 
เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
31202 final502
31202 final50231202 final502
31202 final502
 
31202 final522
31202 final52231202 final522
31202 final522
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
9789740329183
97897403291839789740329183
9789740329183
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 

Recently uploaded (11)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 

Matrix3

  • 1. หน้าที่ 37 2 1 1 2 1 2 8. กาหนด A =   , B=   , C=   จงหาค่าต่อไปนี้ 3 4 3 4 0 2 ( 1 ) det ( A ) = …………………………………………………………………. det ( B ) = ………………………………………………………………… det ( A )  det ( B ) = ………………………………………………………………… ( 2 ) AB = ( 3 ) det ( AB ) = ………………………………………………………………… ( 4 ) BA = ( 5 ) det ( BA ) = ………………………………………………………………… ( 6 ) ( AB ) C = ( 7 ) A- 1 = det (A- 1 ) = ………………………………………………………………… ( 8 ) det ( A )  det ( A- 1 ) = ………………………………………………………………… ( 9) At = det ( At ) = ………………………………………………………………… ( 12 ) ( - A ) = det ( - A ) = ………………………………………………………………… ข้ อสั งเกต ( 1 ) AB และ BA เป็ นเมตริ กซ์ที่เท่ากันหรื อไม่ ………………………………. ( 2 ) det ( AB ) และ det ( BA ) มีค่าเท่ากันหรื อไม่ ………………………….. ( 3 ) มีผลลัพธ์ในข้อใดบ้างที่มีค่าเท่ากัน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 2. หน้าที่ 38 คุณสมบัติของดีเทอร์ มนันต์ ิ 1. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ซึ่งมีแถวใดแถวหนึ่ง ( หรื อหลักใดหลักหนึ่ง ) เป็ น 0 ทั้งแถว ่ ( หรื อทั้งหลัก ) จะได้วา det ( A ) = 0 ตัวอย่าง 0 0 = 0 0 1 = 0 3 5 0 2 ่ 2. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ซึ่งมีสองแถว ( หรื อสองหลัก ) ใด ๆ เท่ากัน จะได้วา det ( A ) = 0 1 2 3 1 1 5 ตัวอย่าง 1 5 1 = 0 2 2 3 = 0 1 2 3 3 3 4 3. ถ้าเมตริ กซ์ B เกิดจาก n  n เมตริ กซ์ A โดยการสลับแถวคู่ใดคู่หนึ่ง(หรื อสลับหลักคู่ใดคู่หนึ่ง ) จะได้ det ( B ) = - det ( A ) 2 3 1 1 2 3 ตัวอย่าง 1 2 3 = - 20 แต่ 2 3 1 = 20 2 1 1 2 1 1 2 3 1 0 = -3 แต่ 1 2 = 3 0 3 4. ถ้าเมตริ กซ์ B เกิดจาก n  n เมตริ กซ์ A โดยการคูณแถวใดแถวหนึ่ง ( หรื อหลักใดหลักหนึ่ง ) ด้วยค่าคงตัว k จะได้ det ( B ) = k det ( A ) 1 2 3 2(1) 2( 2) 2 ( 3) ตัวอย่าง 4 5 6 = -3 แต่ 4 5 6 = -6 1 1 2 1 1 2 2 3 1 2 = 1 แต่ 5( 2) 5 ( 3) 1 2 = 5 5. ถ้าเมตริ กซ์ B เกิดจาก n  n เมตริ กซ์ A โดยการคูณแถวใดแถวหนึ่ง ( หรื อหลักใดหลักหนึ่ง ) ่ ด้วยค่าคงตัวแล้วนาไปบวกกับแถวหนึ่ง ( หลักหนึ่ง ) จะได้วา det ( B ) = det ( A ) 1 2 3 1 2 3 วิธีทา 4 5 6 = -3 แต่ 4 5 6 = -3 1 1 2 2(1)  1 2( 2)  1 2 ( 3)  2 5( 2)  1 2 3 1 2 = 1 แต่ 2 1 5 ( 3)  2 = 2 3 11 12 = 1 6. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ซึ่งแถวที่ i ( หลักที่ i ) ของ A เท่ากับ ผลคูณของค่าคงตัว ่ กับแถวที่ j ( หลักที่ j ) จะได้วา det ( A ) = 0 1 2 3 ตัวอย่าง 3(1) 3( 2 ) 3( 3) = 0 และ 4 5 2( 4 ) 2(5) = 0 1 0 2 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 3. หน้าที่ 39 7. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์สามเหลี่ยม จะได้ det ( A ) เท่ากับผลคูณของสมาชิกเส้นทแยงมุมหลัก 2 0 0 1 4 6 ตัวอย่าง 1 3 0 = 30 และ 0 2 0 = 6 4 6 5 0 0 3 ่ 8. ถ้า A และ B เป็ น n  n เมตริ กซ์ จะได้วา det ( AB ) = ( det ( A ) ) ( det ( B ) ) 9. เมตริ กซ์ A ซึ่งเป็ น n  n เมตริ กซ์ จะมีอินเวอร์ การคูณก็เมื่อ det ( A )  0 det ( A- 1 ) = 1 det ( A ) 10. det (At ) = det ( A ) 11. det ( 0 ) = 0  12. det ( In ) = 1 13. ถ้า A เป็ น n  n เมตริ กซ์ แล้ว det ( kA ) = kn det ( A ) เมื่อ k เป็ นจานวนจริ ง  2 1 ตัวอย่าง A =   det ( A ) = 5  3 4  8 4 4A =   det ( 4 A ) = 80 = 42  5  12 16  3.9 การหาอินเวอร์ สการคูณของเมตริกซ์ จากสมบัติการคูณเมตริ กซ์และอินเวอร์สของ 2  2 เมตริ กซ์ จะมีสมบัติท่ีเกี่ยวกับการคูณดังนี้ 1. เมตริ กซ์ A มิติ n  n เป็ นอินเวอร์สของการคูณเมตริ กซ์ B มิติ n  n ก็ต่อเมื่อ AB = BA = In 2. เมตริ กซ์ A มิติ n  n เป็ นอินเวอร์ สการคูณก็ต่อเมื่อ det ( A )  0 เรี ยกเมตริ กซ์ A ที่มี อินเวอร์ สการคูณว่า นอนซิงกูลาร์ เมตริกซ์ เรี ยกเมตริ กซ์ A ที่ไม่มีอินเวอร์ สการคูณว่า ซิงกูลาร์ เมตริกซ์ ( เมตริ กซ์เอกฐาน ) 3. ถ้าเมตริ กซ์ A มิติ n  n มีอินเวอร์ ส จะมีได้เพียงเมตริ กซ์เดียวเท่านั้น a b 4. ถ้า A =   โดยที่ det ( A )  0 c d 1  d  b A- 1 = ad  bc  c a    ในการหาอินเวอร์สการคูณของ n  n เมตริ กซ์ จะอาศัยบทนิยามที่เกียวข้องดังนี้ บทนิยามโคแฟกเตอร์ เมตริกซ์ บทนิยาม กาหนด A = [ a ij ] n  n โดยที่ n  2 และ C i j แทนโคแฟกเตอร์ของ a ij โคแฟกเตอร์เมตริ กซ์ ( Cofactor matorix ) ของ A คือ n  n เมตริ กซ์ ซึ่งสมาชิกในแถว ที่ i และหลักที่ j คือ C i j โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 4. หน้าที่ 40 เขียนแทนโคแฟกเตอร์ของเมตริ กซ์ A ด้วยสัญลักษณ์ cof . A ดังนี้  C11 C12 ... C1n     C 21 C 22 ... C 2n  .  cof . A =   .  .     Cn 1  Cn 2 ... C nn    1 1 0 ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ A =  2   3  2 จงหา cof . A 3  0 4  วิธีทา C11 = ( - 1 ) 1 + 1 3 42 0 = ( 1 ) ( 12 – 0 ) = 12 2 C12 = ( - 1 ) 1 + 2 2 3 4 = (-1)(8–6) = -2 C13 = ( - 1 ) 1 + 3 2 3 3 0 = ( 1 ) (0 +9 ) = 9 1 C21 = ( - 1 ) 2 + 1 0 0 4 = ( -1 ) ( - 4 – 0 ) = 4 C22 = ( - 1 ) 2 + 2 1 3 0 4 = (1)(4–0) = 4 1 C23 = ( - 1 ) 2 + 3 1 3 0 = (-1)(0–3) = 3 1 C31 = ( - 1 ) 3 + 1 3 0 2 = (1)(2–0) = 2 C32 = ( - 1 ) 3 + 2 1 2 0 2 = (-1)(-2–0) = 2 1 C33 = ( - 1 ) 3+ 3 1 2 3 = ( 1 ) ( 3 + 2) = 5 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 5. หน้าที่ 41 บทนิยามของแอดจอยต์ เมตริกซ์ ( Adjoint matrix ) บทนิยาม กาหนด A = [ a ij ] n  n โดยที่ n  2 แอดจอยต์เมตริ กซ์ของเมตริ กซ์ A คือ ทรานสโพสของ cof . A เขียนแทนแอดจอยต์เมตริ กซ์ของ A ด้วยสัญลักษณ์ adj . A t  C11 C12 ... C1n   C11 C12 ... C1n       C 21 C 22 ... C 2n   C21 C22 ... C2n   .  .  จาก cof . A =   ่ จะได้วา adj . A =    .  .   .  .     Cn 1  Cn 2 ... C nn      Cn1  Cn 2 ... Cnn    1 1 0   ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A =  2 3  2 จงหา adj . A 3  0 4  ่ วิธีทา จากตัวอย่างที่ 1 จะได้วา  12 2 2   adj . A =  4 4 3  2  2 5  t  12  2 2  12 4 2  ดังนั้น adj . A = ( cof . A )t =  4 4 3 =   2 4 2      2  2 5    2 3 5   จากบทนิยามของโคแฟกเตอร์เมตริ กซ์และแอดจอยต์เมตริ กซ์ขางต้น นามาใช้ในการหาอินเวอร์สเมต ้ ริ กซ์ได้ดงนี้ ั บทนิยาม กาหนด A = [ a ij ] n  n โดยที่ n  2 ถ้า det ( A )  0 จะได้วา A – 1 = ่ 1 det( A) . adj . A  1 1 0   ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A =  2 3  2 จงหา A – 1 3  0 4  1 1 0 วิธีทา det ( A ) = 2 3 2 3 0 4 ่ จะได้วา det ( A ) = โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 6. หน้าที่ 42 = 12 + ( - 6 ) + 0 – 0 – 0 – ( - 8 ) = 14 12 4 2 จากตัวอย่างที่ 2 ; adj . A = 2 4 2 2 3 5 จากบทนิยาม ; A- 1 = 1 . adj . A det( A)  12 4 2 ดังนั้น -1 A = 1 2 4  2  14   2 3 5  โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 7. หน้าที่ 37 แบบฝึ กหัดที่ 10 1. เมตริ กซ์ต่อไปนี้มีอินเวอร์ สการคูณหรื อไม่ ถ้ามีจงหาอินเวอร์ สการคูณ 3 2 1   (1) A = 5 6 2 1  0  3  ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………  1 3 2   (2) B = 4 2 0  1  3 2  ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….. โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 8. หน้าที่ 38 3.10 การแก้ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ เมตริกซ์ และดีเทอร์ มินันต์ พิจารณาระบบสมการเชิงเส้นที่มีจานวนตัวแปรเท่ากับจานวนสมการ เช่น 3x + 2y = 5 5x + 3y = 8 สามารถเขียนแทนระบบนี้ดวยเมตริ กซ์ โดยอาศัยบทนิยามการเท่ากันของเมตริ กซ์ ้  3x  2y  5    =    5x  3y  8  3x  2y   3 2  x  แต่    3y  =      5x  5 3  y  ดังนั้น เขียนแทนระบบสมการด้วยเมตริ กซ์ ดังนี้ 3 2  x  5      =   5 3  y  8 สาหรับระบบสมการเชิงเส้นโดยทัวไป ซึ่ งมี n ตัวแปร และ n สมการ ่ a11x1 + a12x2 + … + a1nxn = b1 a12x1 + a22x2 + … + a2nxn = b2 . . am1x1 + an2x2 + … + an2xn = bn ่ เปลี่ยนให้อยูในรู ปเมตริ กซ์ได้ดงนี้ ั การหาคาตอบของระบบสมการโดยใช้เมตริ กซ์มีวธีดาเนินการได้หลายวิธี ดังนี้ ิ 3.10.1 การหาคาตอบโดยใช้ เมตริกซ์ ผกผันของเมตริกซ์ สัมประสิ ทธิ์ ให้ A, B, X เป็ นเมตริ กซ์ โดยที่ A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ กาหนดโดย AX = B A- 1 ( AB ) = A- 1 B ( A- 1 A ) X = A - 1 B I X = A- 1 B ดังนั้น X = A- 1 B นันคือ ถ้า A X = B แล้ว X = A- 1 B เมื่อ A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ ่ โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 9. หน้าที่ 39 ตัวอย่างที่ 1 จงแก้ระบบสมการ 3x + 2y = 5 5x + 3y = 8 วิธีทา เขียนสมการเมตริ กซ์แทนระบบสมการได้ดงนี้ ั 3 2  x  5      =   5 3  y  8 1 x 3 2 5  ดังนั้น   =     y 5 3 8 x  3  2  5    = 1    y 9  10   5 3  8  x   1  1   = (-1)   =   y   1  1 ดังนั้น x = 1 และ y = 1 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 10. หน้าที่ 37 แบบฝึ กหัดที่ 11 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้เมตริ กซ์ผกผันของเมตริ กซ์สัมประสิ ทธิ์ ( 1 ) 4x + 3y = 1 2x + 5y = 11 ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ( 2) x + y +z = 6 2x - y - z = - 3 x – 3y + 2z = 1 ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 11. หน้าที่ 38 ่ ในหัวข้อ 3.10.1 จะเห็นว่าระบบสมการที่มี 3 ตัวแปร วิธีแก้ระบบสมการจะมีความยุงยาก เกี่ยวกับการหาอินเวอร์ สการคูณเมตริ กซ์ ดังนั้นอาจจะหลีกเลี่ยงไปใช้วธีอื่นดังนี้ ิ 3.10.2 การแก้ระบบสมการโดยใช้ กฎของคราเมอร์ ( Cramer , s rule ) ทฤษฎีบทที่ 4 ( กฎของคราเมอร์ ) ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์มิติ n  n โดยที่ det ( A )  0 แล้วระบบสมการที่เขียนในรู ปสมการเมตริ กซ์ A X = B เมื่อตัวไม่ทราบค่าคือ x1, x2 , … xn และ b1, b2, … bn เป็ นค่าคงตัว  x1   b1       x2   b2  .  .  โดยที่ x=   , B=   .  .  .  .       xn     bn    มีคาตอบคือ x1 = det ( A1 ) det ( A ) , x2 = det ( A2 ) det ( A ) , … , xn = det ( An ) det ( A ) เมื่อ A i คือ เมตริ กซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A ด้วยหลักของเมตริ กซ์ B ตัวอย่างที่ 2 จงหาคาตอบของระบบสมการที่กาหนดโดยใช้กฎของคราเมอร์ x+y+z = 6 2x - y - z = - 3 x - 3y + 2z = 1 วิธีทา เขียนสมการเมตริ กซ์ได้ดงนี้ ั 1 1 1 x  6       2 1  1 y =   3 1  3 2 z    1   1 1 1   ให้ A = 2 1  1 จะได้ det ( A ) = - 15 ่ โดยกฎของคราเมอร์ จะได้วา 1  3 2  6 1 1     15 A1 =   3  1  1  det ( A 1 ) = - 15 ดังนั้น x = det ( A1 ) det ( A ) =  15 =1  1 3  2 1 6 1     30 A2 =  2  3  1  det ( A 2 ) = - 30 ดังนั้น y = det ( A2 ) det ( A ) =  15 =2 1  1 2 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 12. หน้าที่ 39  1 1 6    45 A3 = 2 1  3  det ( A 3 ) = - 45 ดังนั้น z = det ( A3 ) = =3  1 det ( A )  15  3 1  คาตอบของระบบสมการ คือ x1 = 1 , y = 2 , และ z = 3 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 13. หน้าที่ 37 แบบฝึ กหัดที่ 12 จงแก้ระบบสมการเชิงเส้นต่อไปนี้โดยใช้กฎของคราเมอร์ ( 1 ) x - 2y – 3z = 3 x+y-z = 2 2x - 3y = 5z + 5 ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ( 2 ) x1 + x2 + x3 = 0 x2 - x3 + x4 = 5 x2 + x3 - x4 = - 7 2x 2 - x 3 + 2x 4 = 6 ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 14. หน้าที่ 38 จากแบบฝึ กหัด 12 จะเห็นว่า เมื่อระบบสมการมีตวแปรมากกว่า 3 ตัวแปร การหาค่า ั ั ุ่ ดีเทอร์ มินนต์เพื่อใช้กฎของคราเมอร์ เป็ นวิธีการที่ยงยาก ดังนั้นอาจจะใช้วธีการอื่น เช่น การแปลงเมตริ กซ์ ิ โดยใช้วธีการดาเนินการตามแถว ( row operation ) ิ 3.10.3 การแก้ระบบสมการโดยใช้ การแปลงเมตริกซ์ การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยวิธีพีชคณิ ตธรรมดานั้น มีวธีการสร้างระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้ ิ เครื่ องมือ 3 วิธีการ ซึ่ งทาให้คาตอบของระบบสมการไม่เปลี่ยนแปลง เครื่องมือ 3 วิธีการดังกล่าว คือ 1. การสลับที่ระหว่างสมการสองสมการใด ๆ ในระบบ 2. การใช้ค่าคงตัวที่ไม่ใช่ศูนย์ คูณทุก ๆ พจน์ของจานวนทั้งสองข้างของเครื่ องหมายเท่ากับของสมการ ่ 3. การเปลี่ยนสมการใดสมการหนึ่งในระบบ โดยใช้คาคงตัวที่ไม่ใช่ศูนย์คูณทุก ๆ พจน์ของจานวนทั้ง สองข้างของเครื่ องหมายเท่ากับ ในสมการที่ตองการเปลี่ยนแปลงสมการอื่นอีกสมการหนึ่งในระบบ ( ใช้ค่าคง ้ ตัวคนละจานวน ) เเล้วนามาบวกหรื อลบกัน เป็ นสมการใหม่ที่ใช้เเทนสมการเดิม ตัวอย่างเช่ น ระบบสมการ x - 2y = 3 ………… ( 1 ) x + 3y = 8 ………… ( 2 ) ระบบสมการ ( 1 ), ( 2 ) จะมีคาตอบเหมือนกับระบบสมการ x - 2y = 3 ………… ( 3 ) 5y = 5 ………… ( 4 ) ระบบสมการ ( 3 ), ( 4 ) จะมีคาตอบเหมือนกับระบบสมการ x - 2y = 3 ………… ( 5 ) y =1 ………… ( 6 ) ในทานองเดียวกัน ระบบสมการ ( 5 ), ( 6 ) จะมีคาตอบเหมือนกับระบบสมการ x = 5 ………… ( 7 ) y = 1 ………… ( 8 ) เราสามารถนาวิธีการข้างต้นนี้มาใช้แก้ระบบสมการ โดยจัดให้อยู๋ในรู ปของเมตริ กซ์ แล้วปรับให้ เมตริ กซ์ของสัมประสิ ทธิ์ ที่ได้จากระบบสมการเป็ นเมตริ กซ์ของเอกลักษณ์การคูณได้ ซึ่ งมีข้ นตอนการ ั ดาเนินงานดังนี้ โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 15. หน้าที่ 39 (1) ่ จัดระบบสมการให้อยูในรู ป a11x1 + a12x2 + … + a1nxn = b1 a22x1 + a22x2 + … + a2nxn = b2 . . . an1x1 + an2x2 + … + annxn = bn ่ แล้วจัดให้อยูในรู ปสมการเมตริ กซ์ AX = B ดังนี้ ( 2 ) เขียนเมตริ กซ์ใหม่ในรู ปเมตริ กซ์ [ A :B ] ซึ่ งเรี ยกว่า เมตริ กซ์แต่งเติม ( augmented matrix ) ( 3 ) ใช้การดาเนินการตามแถว ( row operation ) เพื่อเปลี่ยนรู ปเมตริ กซ์แต่งเติมชุดเดิม [ A : B ] ให้เป็ นเมตริ กซ์แต่งเติมชุดใหม่ในรู ปของ [ I : D ] ดังนี้ 1. สลับทีระหว่างสองแถวใด ๆ ในเมตริกซ์ แต่ งเติม ่ ใช้ สัญลักษณ์ รหัส R ij หมายถึง การสลับที่แถวที่ i และแถวที่ j โดยแถวอื่น ๆ คงเดิม 2. คูณสมาชิ กทุกตัวในแถวใดแถวหนึ่งด้ วยค่ าคงตัวทีไม่ ใช่ ศูนย์ ่ ใช้ สัญลักษณ์ รหัส cR i หมายถึง การคูณสมาชิกแถวที่ i ด้วย c  0 2. เปลียนแปลงแถวใดแถวหนึ่งด้ วยการคูณสมาชิ กทุกตัวในแถวอืน ( แถวเดียว ) ด้ วยค่ าคงตัว ่ ่ c แล้วนาผลคูณที่ได้มาบวกกับสมาชิกทุกตัวในลาดับเดียวกันของแถวที่ตองการเปลี่น ้ ใช้ สัญลักษณ์ R i + c R การใช้การดาเนินการตามแถวบนเมตริ กซ์ [ A : B ] ให้อยูในรู ปเมตริ กซ์ [ I : D ] จะได้ค่า [ A : B ] สมมูล ่ แบบแถว [ I : D ] และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ [ A : B ] ~ [ I : D ] 1 0 .. . 0 d1 0 1… 0 d2 โดยที่ [ I : D ] = . . . . . 0 0 1 dn โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 16. หน้าที่ 40 ่ ซึ่ งเมื่อเปลี่ยนรู ปให้อยูในรู ปของสมการ จะได้รูปแบบระบบสมการเป็ น x 1 = d1 x2 = d2 . xn = dn นั้นคือ คาตอบของระบบสมการคือ x 1 = d 1, x 2 = d 2, … , x n = d n ตัวอย่างที่ 3 จงแก้ระบบสมการ x - 2y - 3z = 3 x+y-z = 2 2x - 3y = 5z + 5 วิธีทา จงเขียนเมตริ กซ์แต่งเติมจากระบบสมการได้ดงนี้ ั 1  2  3 3   [ A : B] = 1 1 1 2 2  3  5  5  ใช้การดาเนินการตามแถว ( row operation ) ได้ดงนี้ ั 1  2  3 3  [A:B] ~   2 1  R2-R1 0 3 0  5  3 1    R3-2R2  5 7 1 0  3 3 R1 + (2/3)R2    1 ~ 0 1 2 3   3 (1/3)R2   0 0 1  2   3 3 R3 + (5/3)R2 1 0 0  1 R1 + 5R3   ~ 0 1 0 1  R2 – 2R3 0 0 1   2  3R3 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 17. หน้าที่ 41 จะได้ระบบสมการที่มีคาตอบเท่ากับระบบสมการเดิม ดังนี้ x + 0y + 0z = - 1 0x + y + 0z = 1 0x + 0y + z = - 2 ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ x = - 1, y = 1 และ z = - 2 3.10.4 การหาเมตริกซ์ ผกผันของการคูณเมตริกซ์ โดยใช้ การดาเนินการตามแถว ์ การดาเนินการตามแถวของเมตริ กสามารถนาไปใช้หาเมตริ กซ์ผกผันสาหรับการคูณของเมตริ กซ์ นอนซิ งกูลาร์ ได้ดงนี้ ั กาหนด A = [ a ij ] n  n ซึ่งเป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ จะหา A- 1 โดยใช้วธีดาเนินการตามแถว ิ ( row operation ) ดังนี้ ่ 1. เขียนเมตริ กซ์ให้อยูในรู ป [ A I n ] ซึ่งเป็ นเมตริ กซ์ n  2n โดยการเขียนเมตริ กซ์ A ต่อด้วย เมตริ กซ์ I n 2. ใช้การดาเนินการตามแถวบน [ A I n ] สร้างเมตริ กซ์ใหม่ จนกระทังเมตริ กซ์ใหม่อยู๋ในรู ป I n B | ่ ซึ่งมี I n เป็ นส่ วนแรก และตามด้วยเมตริ กซ์ B โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 18. หน้าที่ 37 วิธีการนี้ใช้ได้เฉพาะกับเมตริ กซ์ A ซึ่ งเป็ นนอนซิ งกูลาร์ เมตริ กซ์เท่านั้น ข้อสอบ O-NET 2549 1. ถ้า x, y ,z สอดคล้องกับระบบสมการ x + 2y – 2z = -2 2x + y + 2z = 5 x – 3y – 2z = 3 2 1 3 แล้ว ดีเทอร์มิแนนต์ 2 2 2 มีค่าเท่ากับข้อใด x  2 y 2x  y x  3 y 1.. 60 2. 75 3. 90 4. 105 ตอบ 60 2. 3 x 3  กาหนดให้ A = 2 0 9 เมื่อ   x เป็ นจานวนจริ ง 1 1 2    3 x 3 : 1 0 0  1 0 0 : 9 5  36 ถ้า  2 0 9 : 0 1 0 ~ 0 1 0 :  5  3 21  แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด     1 1 2 : 0 0 1   0 0 1 :  2  1 8    ตอบ x = 4 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32