SlideShare a Scribd company logo
1 of 293
Download to read offline
หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน
รายวิชา คณิตศาสตร
(พค21001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554)
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
2
หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน
รายวิชา คณิตศาสตร (พค21001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2554
ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 7/2555
3
4
สารบัญ
เรื่อง หนา
คํานํา 3
สารบัญ 4
คําแนะนําการใชหนังสือ 5
โครงสรางวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 6
บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ 7
บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม 18
บทที่ 3 เลขยกกําลัง 46
บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ 58
บทที่ 5 การวัด 75
บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว 106
บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ 128
บทที่ 8 ความสัมพันธของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 138
บทที่ 9 สถิติ 151
บทที่ 10 ความนาจะเปน 182
บทที่ 11 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในงานอาชีพ 192
5
คําแนะนําการใชแบบเรียน
หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร พค 21001 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษา
หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร ผูเรียนควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
และขอบขายเนื้อหา
2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด
แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไป
ศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรื่องตอไป
3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรูความเขาใจของ
เนื้อหาในเรื่องนั้นๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาในแตละ
เรื่อง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพื่อนๆ ที่รวมเรียนในรายวิชา
และระดับเดียวกันได
4. แบบเรียนเลมนี้มี 10 บท
บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม
บทที่ 3 เลขยกกําลัง
บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ
บทที่ 5 การวัด
บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว
บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ
บทที่ 8 ความสัมพันธของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
บทที่ 9 สถิติ
บทที่ 10 ความนาจะเปน
6
โครงสรางรายวิชาคณิตศาสตร
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
สาระสําคัญ
ใหผูเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับจํานวนและการดําเนินการ เศษสวน และทศนิยม เลข
ยกกําลัง อัตราสวน สัดสวน และรอยละ การวัด ปริมาตรและพื้นที่ผิว คูอันดับและกราฟ
ความสัมพันธระหวางรูปทรงเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ สถิติ และความนาจะเปน
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. ระบุหรือยกตัวอยางเกี่ยวกับจํานวนและการดําเนินการ เศษสวนและทศนิยม เลขยก
กําลังอัตราสวน สัดสวน รอยละ การวัด การหาปริมาตรและพื้นที่ผิว คูอันดับและกราฟ
ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติ สามมิติ สถิติ และความนาจะเปน
2. สามารถคิดคํานวณและแกปญหาโจทยที่ใชในชีวิตประจําวัน
ขอบขายเนื้อหา
บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม
บทที่ 3 เลขยกกําลัง
บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ
บทที่ 5 การวัด
บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว
บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ
บทที่ 8 ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
บทที่ 9 สถิติ
บทที่ 10 ความนาจะเปน
สื่อการเรียนรู
1. ใบงาน
2. หนังสือเรียน
7
บทที่ 1
จํานวนและการดําเนินการ
สาระสําคัญ
เรื่องของจํานวนและการดําเนินการ เปนหลักการเบื้องตนที่เปนพื้นฐานในการนําไปใชใน
ชีวิตจริงเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ การบวก การลบ การคูณ และการหาร
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนยได
2. เปรียบเทียบจํานวนเต็มได
3. บวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม และอธิบายผลที่เกิดขึ้นได
4. บอกสมบัติของจํานวนเต็มและนําความรูเกี่ยวกับสมบัติของจํานวนเต็มไปใชได
ขอบขายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย
เรื่องที่ 2 การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม
เรื่องที่ 3 การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม
เรื่องที่ 4 สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใช
8
เรื่องที่ 1 จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย
จํานวนเต็มประกอบไปดวย จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และจํานวนเต็มศูนย ดัง
โครงสรางตอไปนี้
จํานวนเต็มบวก คือ จํานวนนับ เปนจํานวนชนิดแรกที่มนุษยรูจัก มีคามากกวาศูนย จํานวนนับจํานวน
แรก คือ 1 จํานวนที่อยูถัดไปจะเพิ่มขึ้นทีละ 1 เสมอ เห็นวาไมสามารถหาจํานวนนับที่มากที่สุด และ
สามารถเขียนจํานวนนับ เรียงตามลําดับไดดังนี้ 1, 2, 3,... ไปเรื่อยๆ จํานวนนับเหลานี้อาจเรียกไดวา
“จํานวนเต็มบวก” ถานําจํานวน 0 และจํานวนเต็มบวกมาเขียนแสดงดวยเสนจํานวนได ดังนี้
จํานวนเต็มศูนย มีจํานวนเดียว คือ ศูนย(0)
สําหรับ 0 ไมเปนจํานวนนับ เพราะจะไมกลาววามีผูเรียนจํานวน 0 คน แตศูนยก็ไมได
หมายความวา ไมมีเสมอไป เชน เมื่อกลาวถึงอุณหภูมิ เพราะทําใหเราทราบและเกิดความรูสึกขณะ
อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียสได
จํานวนเต็มลบ หมายถึงจํานวนที่ตรงขามกับจํานวนเต็มบวก มีคานอยกวาศูนย (0) มีคาลดลง
เรื่อยๆ ไมมีที่สิ้นสุด เชน -1, -2, -3, ....
พิจารณาจากเสนจํานวน จะเห็นวาจํานวนที่อยูทางซายของ 0 เปนระยะทาง 1 หนวย เขียน
แทนดวย -1 อานวา ลบหนึ่ง
จากจํานวนที่อยูทางซายของ 0 สองชอง เขียนแทนดวย -2 อานวา ลบสอง ถาอยูทางซาย
ของ 0 สามชอง เขียนแทนดวย -3 อานวา ลบสาม
จํานวนเต็ม
จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มศูนย จํานวนเต็มลบ
9
เรื่องที่ 2 การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม
จํานวนเต็ม 2 จํานวน เมื่อนํามาเปรียบเทียบกันจะไดวา จํานวนหนึ่งที่มากกวาจํานวนหนึ่ง
หรือจํานวนหนึ่งที่นอยกวาอีกจํานวนหนึ่ง หรือจํานวนทั้ง 2 จํานวนเทากัน เพียงอยางใดอยางหนึ่ง
เทานั้น
ถา a, b, c เปน จํานวนธรรมชาติใดๆ แลว
a – b = c แลว a มากกวา b
a – b = - c แลว b มากกวา a
หรือ a นอยกวา b
a – b = 0 แลว a เทากับ b
เครื่องหมายที่ใช > แทนมากกวา
< แทนนอยกวา
= แทนเทากับ หรือเทากัน
การเปรียบเทียบจํานวนเต็มสามารถเปรียบเทียบจากเสนจํานวนไดดังนี้
จากเสนจํานวนจะเห็นวา 4 > 3 > 2 > 1 > 0 > -1 > -2 > -3 ซึ่งจะเห็นไดวา จํานวนที่อยู
บนเสนจํานวนดานขวามีคามากกวาจํานวนที่อยูดานซายเสมอ
10
แบบฝกหัดที่ 1
1. จงเลือกจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และจํานวนเต็มจากจํานวนตอไปนี้
- 1,
2
4
, 0, - 3,
1000
500
,
250
500
−
จํานวนเต็มบวก ประกอบดวย...............................................................................................
จํานวนเต็มลบ ประกอบดวย...............................................................................................
จํานวนเต็ม ประกอบดวย..............................................................................................
2. จงเติมเครื่องหมาย < หรือ > เพื่อใหประโยคตอไปนี้เปนจริง
1) -4 ..................................... 3
2) -4 .................................... -3
3) -2 ..................................... -5
4) 4..................................... -2
5) 4..................................... -8
3. จงเรียงลําดับจํานวนเต็มจากนอยไปหามาก
1) -2, -8, -4, -15, -20, -7
…………………………………………………………………………………………………..
2) 4, -8, 0, -2, 16, -17
…………………………………………………………………………………………………..
11
2.1 จํานวนตรงขามของจํานวนเต็ม
ถา a เปนจํานวนใดๆ จํานวนตรงขามของ a มีเพียงจํานวนเดียว เขียนแทนดวย -a
พิจารณาจากเสนจํานวน
จํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบจะอยูคนละขางของศูนย (0) และอยูหางจาก 0 เปน
ระยะเทากัน เชน -3 กับ 3 เปนจํานวนตรงขามกัน
ซึ่งสรุปไดวา
สําหรับจํานวนเต็ม a ใดๆ จํานวนตรงขามของ a คือ –a
และจํานวนตรงขามของ -a คือ –a
เนื่องจากจํานวนตรงขามของ(-a) เขียนแทนดวย – (-a)
ดังนั้น – (-a) = a
เชน จํานวนตรงขามของ (-3) เขียนแทนดวย –(-3) คือ 3
2.2 คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม
สัญลักษณของคาสัมบูรณ ไดแก
ขอสังเกต เมื่อ a แทนจํานวนใดๆ
พิจารณาจากเสนจํานวนจะเห็นวา
คาสัมบูรณของ 2 เทากับ 2 เขียนในรูปสัญลักษณ 22 =
คาสัมบูรณของ -2 เทากับ 2 เขียนในรูปสัญลักษณ 22 =−
ซึ่งสรุปไดวาคาสัมบูรณของจํานวนใดๆ เทากับระยะทางที่จํานวนนั้นอยูหางจาก 0 บนเสน
จํานวน
12
แบบฝกหัดที่ 2
1. จงเติมคําวา “มากกวา” หรือ “นอยกวา” หรือ “เทากับ”
1) คาสัมบูรณของ (-3).................................................คาสัมบูรณของ 3
2) จํานวนตรงขามของ (-4) .........................................จํานวนตรงขามของ 4
3) จํานวนตรงขามของ 5 ..............................................จํานวนตรงขามของ -5
4) คาสัมบูรณของ A....................................คาสัมบูรณของ(-A) เมื่อA เปนจํานวนใดๆ
5) จํานวนตรงขามของ A ...........................จํานวนตรงขามของ (-A) เมื่อA เปนจํานวนใดๆ
2. จงเติมเครื่องหมาย <, > หรือ = ลงในชองวาง
1) – (- 5) ............................................5
2) จํานวนตรงขามของ 8 .........................................8
3) จํานวนตรงขามของ (-8).......................................(-8)
4) 25.........................................25 −−
5) ( )20.........................................20 −−
6) 5..........................................25 −−
7) จํานวนตรงขามของ (-2) .........................................จํานวนตรงขามของ(-7)
8) จํานวนตรงขามของ 32.............................................จํานวนตรงขามของ 77
13
เรื่องที่ 3 การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม
3.1 การบวกจํานวนเต็ม
หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปนจํานวนเต็มบวก เชน 2 + 3 = 5
1). การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
พิจารณาจากเสนจํานวน
เริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวา 2 ชอง และนับเพิ่มไปทางขวาอีก 3 ชอง จะสิ้นสุดที่ 5
จะได 5 เปนผลบวกของ 2 กับ 3
หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปนจํานวนเต็มลบ เชน
(-2) + (-3) = (-5)
2). การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
พิจารณาจากเสนจํานวน
เริ่มตนที่ 0 นับไปทางซาย 2 ชอง และนับเพิ่มไปทางซายอีก 3 ชอง จะสิ้นสุดที่ -5
จะได -5 เปนผลบวกของ -2 กับ -3
3.1 กรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา
3). การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก เชน 12 + (-8) = 4
พิจารณาจากเสนจํานวน
เริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวา 12 ชอง เมื่อบวกดวย -8 ใหนับลดไปทางซายอีก 8 ชอง
จะสิ้นสุดที่ 4
จะได 4 เปนผลบวกของ 12 กับ -8
14
3.2 กรณีที่ จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา
หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ เชน 3 +(-10) = -7
พิจารณาจากเสนจํานวน
เริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวา 3 ชอง เมื่อบวกดวย – 10 ใหนับลดไปทางซายอีก 10 ชอง
จะสิ้นสุดที่ -7
จะได -7 เปนผลบวกของ 3 กับ -10
4.1 กรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา
4). การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก
หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก เชน (-3) + 5 = 2
พิจารณาจากเสนจํานวน
เริ่มตนที่ 0 นับไปทางซาย 3 ชอง เมื่อบวกดวย 5 ใหนับเพิ่มไปทางขวาอีก 5 ชอง
จะสิ้นสุดที่ 2
จะได 2 เปนผลบวกของ -3 กับ 3
4.2 กรณีจํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา
หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ เชน (-5) + 3 = -2
พิจารณาจากเสนจํานวน
เริ่มตนที่ 0 นับไปทางซาย 5 ชอง เมื่อบวกดวย 3 ใหนับเพิ่มไปทางขวาอีก 3 ชอง
จะสิ้นสุดที่ -2
จะได -2 เปนผลบวกของ -5 กับ 3
15
1. จงแสดงการหาผลบวกของสองจํานวนที่กําหนดให โดยใชเสนจํานวน
แบบฝกหัดที่ 3
1. 3+2
2. (-3)+(-2)
3. 2+1
4. (-2)+(-1)
5. 5+ (-1)
6. (-1) +5
7. (-5) +3
8. 3 + (-5)
16
2. จากผลการบวกโดยใชเสนจํานวน จงเติมคําตอบตอไปนี้ใหสมบูรณ
ประโยคแสดงผลบวกของ a+b คาสัมบูรณของ a คาสัมบูรณของ b คาสัมบูรณของ(a+b) ผลบวกของ a กับ b
เทากันหรือไมกับ ba +
1. 3+2 = 5 3 2 5 เทากัน
2. (-3)+(-2) = -5
3. 2+1 = 3
4. (-2)+(-1) = -3
5. 5+ (-1) = 4
6. (-1) +5 = 4
7. (-5) +3 = -2
8. 3 + (-5) = -2
สรุป หลักการบวกจํานวนเต็ม
1. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกัน แลว
ตอบเปนจํานวนเต็มบวก
2. การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปน
จํานวนเต็มลบ
3. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ ที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณ
มากกวาใหนําคาสัมบูรณมาลบกัน แลวตอบเปนจํานวนเต็มบวก
4. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ ที่จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา
ใหนําคาสัมบูรณมาลบกัน แลวคําตอบเปนจํานวนเต็มลบ
5. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบที่มีคาสัมบูรณเทากัน ผลบวกเปน 0
3.2 การลบจํานวนเต็ม
ทบทวนจํานวนตรงขามของจํานวนเต็มดังตอไปนี้
จํานวนตรงขามของ 3 คือ -3
จํานวนตรงขามของ – 3 คือ 3 และ 3+(-3) = 0
จํานวนตรงขามของ -3 เขียนแทนดวย –(-3) ดังนี้ –(-3) = 3
17
พิจารณาการลบจํานวนเต็มสองจํานวนที่กําหนดใหดังนี้
1. 3 – 2
2. 3 – 5
โดยพิจารณาทั้งสองแบบ
1. แสดงการหาผลลบของสองจํานวนที่กําหนดให โดยใชเสนจํานวน
1). 3 – 2 = 1
2). 3 – 5 = -2
2. แสดงการหาผลลบโดย กําหนดให – b แทนจํานวนตรงขามของ b แลวพิจารณาคาของ a + (-b)
ประโยคแสดงผลลัพธของ a – b a b (-b) ประโยคแสดงผลลัพธของ a + (-b)
1). 3 – 2 = 1 3 2 (-2) 3 + (-2) = 1
2). 3 – 5 = -2 3 5 (-5) 3 + (-5) = -2
จากการลบจํานวนเต็มสองจํานวนทั้ง 2 แบบจะเห็นไดวา
กําหนด (-b) เปนจํานวนตรงขามของ b
ผลลัพธของ a-b และผลลัพธของ a+(-b) มีคาเทากัน
ดังนั้น การลบจํานวนเต็ม เราอาศัยการบวกตามขอตกลงดังตอไปนี้
ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ
นั่นคือ เมื่อ a และ b แทนจํานวนใดๆ
a –b = a + จํานวนตรงขามของ b
หรือ a – b = a + (-b)
18
1. จงทําใหเปนผลสําเร็จ
แบบฝกหัดที่ 4
1. (-12) – 7
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
2. 7 – (-12)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
3. (-8) – (-5)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
4. (-5) – (-8)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
5. [8 – (-2)] – 6
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
6. 8 – [(-2) – 6]
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
2. จงหาคาของ a – b และ b – a เมื่อกําหนด a และ b ดังตอไปนี้
1. a = 5, b = (-3)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
2. a = (-14), b = (-6)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
3. a = (-4), b = (-4)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
19
3.3 การคูณจํานวนเต็ม
1) การคูณจํานวนเต็มบวกดวนจํานวนเต็มบวก
เชน 3 × 5 = 5 + 5 + 5
= 15
7 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4
= 28
การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวกนั้น ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มบวกที่มีคา
สัมบูรณเทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
2) การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
เชน 3 × (-8) = (-8) + (-8) + (-8)
= -24
2 × (-7) = (-7) + (-7)
= -14
การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มลบที่มีคาสัมบูรณ
เทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
3) การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก
เชน (-7) × 4 = 4 × (-7) (สมบัติการสลับที่การคูณ)
= (-7) + (-7)+ (-7) + (-7)
= -28
การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มลบที่มีคาสัมบูรณ
เทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
4) การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
เชน (-3) × (-5) = 15
( -11) × (-20) = 220
การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มบวกที่มีคาสัมบูรณ
เทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
20
จงหาผลลัพธ
แบบฝกหัดที่ 5
1). [(-3) × (-5)] × (-2)
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
…………………………………………
2). (-3) × [(-5) × (-2)]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
3). [4 × (-3)] × (-1)
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
4). 4 × [(-3) × (-1)]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
5). [(-5) × (-6)] + [(-5) × (-6)]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
6). (-5) × [6 + (-6)]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
7). [(-7) × (-5)] + [(-7) × 2]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
8). (-7) × [(-5) + 2]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
9). [5 × (-7)] + [5 × 3]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
10). 5 × [(-7) + 3]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
21
3.4 การหารจํานวนเต็ม
การหารจํานวนเต็ม เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใดๆ ที่ b ไมเทากับ 0 จะหาผลหารได
โดยอาศัยการคูณ ดังนี้
ตัวตั้ง ÷ ตัวหาร = ผลลัพธ มีความหมายเดียวกับ ผลลัพธ × ตัวหาร = ตัวตั้ง
ถา cba =÷ แลว cba ×=
การหาผลหาร
5
25−
จะตองหาจํานวนที่คูณกับ 5 แลวได -25 ดังนั้น 5
5
25
−=
−
การหาผลหาร
5
25
−
จะตองหาจํานวนที่คูณกับ -5 แลวได 25 ดังนั้น 5
5
25
−=
−
จากการหาผลหารขางตนจะไดวา
ถาทั้งตัวตั้งหรือตัวหาร ตัวใดตัวหนึ่งเปนจํานวนเต็มลบโดยที่อีกตัวหนึ่งเปนจํานวนเต็มบวก
คําตอบเปนจํานวนเต็มลบ ที่มีคาสัมบูรณเทากับผลหารของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
การหาผลหาร
5
25
−
−
จะตองหาจํานวนที่คูณกับ -5 แลวได -25 ดังนั้น 5
5
25
=
−
−
การหาผลหาร
5
25
จะตองหาจํานวนที่คูณกับ 5 แลวได 25 ดังนั้น 5
5
25
=
จากการหาผลหารขางตนจะไดวา
ถาทั้งตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มบวกทั้งคูหรือจํานวนเต็มลบทั้งคู คําตอบเปนจํานวน
เต็มบวก ที่มีคาสัมบูรณเทากับผลหารของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
22
แบบฝกหัดที่ 6
1. จงเติมคําตอบใหสมบูรณเพื่อแสดงหลักของความสัมพันธระหวางการหารและการคูณ ตอไปนี้
ประโยคที่แสดงความสัมพันธ cba ×= ประโยคที่แสดงความสัมพันธ cba =÷ หรือ bca =÷
10 = 5 x 2 10 ÷ 5 = 2 หรือ 10 ÷ 2 = 5
35 = 7 x 5
33 = 3 x 11
(-14) = 7 x (-2) (-14) ÷7 = (-2) หรือ (-14) ÷ (-2) = 7
(-21) = 7 x (-3)
(-15) = 3 x (-5)
10 = (-5) x (-2)
จงหาผลหาร
1. 17 ÷ 17
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
2. 23 ÷ (-23)
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
3. 15 ÷ (-3)
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
4. (-72) ÷ 9
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
5. [(-51) ÷ (-17)] ÷ [15 ÷(-5)]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
6. [(-72) ÷ 9] ÷ [ 16 ÷ (-2)]
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
17
เรื่องที่ 4 สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใช
4.1 สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจํานวนเต็ม
1). สมบัติการสลับที่
ถา a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ
a + b = b + a (สมบัติการสลับที่การบวก)
a × b = b × a (สมบัติการสลับที่การคูณ)
2) สมบัติการเปลี่ยนหมู
ถา a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ
(a + b) + c = a + (b + c) (สมบัติการเปลี่ยนหมูการบวก)
(a × b) × c = a × (b × c) (สมบัติการเปลี่ยนหมูการคูณ)
3) สมบัติการแจกแจง
ถา a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ
a + (b × c) = ab + ac
และ (b + c) × a = ba + ca
4.2 สมบัติของหนึ่งและศูนย
1). สมบัติของหนึ่ง
1). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a × 1 = 1 × a = a
2). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a
a
=
1
2).สมบัติของศูนย
1). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a + 0 = 0 + a = a
2). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a × 0 = 0 × a = 0
3). ถา a แทนจํานวนใดๆ ที่ไมใช 0 แลว 0
0
=
a
(เราไมใช 0 เปนตัวหาร
ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว
0
a
ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร)
4). ถา a และ b แทนจํานวนใดๆ และ a × b = 0 แลว จะได a = 0 หรือ b = 0
บทที่ 2
เศษสวนและทศนิยม
18
สาระสําคัญ
การอาน เขียนเศษสวน และทศนิยมโดยใชสมบัติ การบวก การลบ การคูณ การหาร
การเปรียบเทียบ และการแกโจทยปญหาตามสภาพการณจริงได
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. บอกความหมายของเศษสวนและทศนิยมได
2. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวนได
3. เปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยมได
4. สามารถบวก ลบ คูณ หาร เศษสวนและทศนิยมได และอธิบายผลที่เกิดขึ้นได
5. นําความรูเกี่ยวกับเศษสวนและทศนิยมไปใชแกโจทยปญหา
ขอบขายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ความหมายของเศษสวนและทศนิยม
เรื่องที่ 2 การเขียนเศษสวนดวยทศนิยม และการเขียนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
เรื่องที่ 3 การเปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยม
เรื่องที่ 4 การบวก ลบ คูณ หาร เศษสวนและทศนิยม
เรื่องที่ 1 ความหมายของเศษสวน และทศนิยม
1.1 เศษสวน หมายถึง สวนตางๆ ของจํานวนเต็มที่ถูกแบงออกเปนสวนละเทาๆ กัน การ
นําเสนอเศษสวนสามารถนําเสนอไดทั้งแบบรูปภาพ หรือแบบเสนจํานวน เชน
19
รูปวงกลม 1 วง แบงออกเปน 4 สวนเทา ๆ กัน
สวนที่แรเงาเปน 1 สวนใน 4 สวน
เขียนแทนดวย
4
1
อานวา “เศษหนึ่งสวนสี่”
หรือ
1 หนวยบนเสนจํานวนแบงออกเปน 5 สวนเทา ๆ กัน
จุด A อยูหางจาก 0 ไปทางขวามือเปนระยะ 3 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น A แทนดวย
5
3
จุด B อยูหางจาก 0 ไปทางขวามือเปนระยะ 7 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น B แทนดวย
5
7
หรือ
5
2
1
จุด C อยูหางจาก 0 ไปทางขวามือเปนระยะ 13 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น C แทนดวย
5
13
หรือ
5
3
2
จุด D อยูหางจาก 0 ไปทางซายมือเปนระยะ 8 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น D แทนดวย
5
8−
หรือ
5
3
1−
เศษสวน
"
บทนิยาม เศษสวนเปนจํานวนที่เขียนอยูในรูป เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม โดยที่ b ไมเทากับศูนย
เรียก a วา "ตัวเศษ" เรียก b วา "ตัวสวน”
อานวา เศษหนึ่งสวนหา
อานวา เศษหนึ่งสวนสอง
อานวา ลบเศษสามสวนสอง
อานวา ลบเศษสี่สวนสาม
20
ตัวอยางที่ 1 จงเติมเศษสวนลงใน ใหถูกตอง
1.2. ทศนิยม
ทศนิยม คือ จํานวนที่อยูในรูปทศนิยมประกอบดวยสองสวนคือ สวนที่เปนจํานวนเต็ม
และสวนที่เปนทศนิยม และมีจุด (.) คั่นระหวางจํานวนเต็มกับสวนที่เปนทศนิยม
ทศนิยมแบงไดเปน 2 ชนิด คือ
1. ทศนิยมแบบไมซ้ํา เชน 1.5 , 2.35, 3.14, ...
2 ทศนิยมซ้ํา แบงเปน
2.1 ทศนิยมซ้ําศูนย เชน 1.5000 … เขียนแทนดวย 1.5
0.0030000 … เขียนแทนดวย 0.003
ถาตัวซ้ําเปน 0 ไมนิยมเขียน
2.2 ทศนิยมที่ตัวซ้ําไมเปนศูนย เชน
0.3333… เขียนแทนดวย 0.3 อานวา ศูนยจุดสามสามซ้ํา
21
1.414141 … เขียนแทนดวย 1.41 อานวา หนึ่งจุดสี่หนึ่งสี่หนึ่งซ้ํา
0.213213213 … เขียนแทนดวย 0.213 อานวา ศูนยจุดสองหนึ่งสาม สองหนึ่งสามซ้ํา
2.10371037 … เขียนแทนดวย 2.1037 อานวา สองจุดหนึ่งศูนยสามเจ็ด หนึ่งศูนยสามเจ็ดซ้ํา
แบบฝกหัดที่ 1
1. จงเติมเศษสวนลงใน ใหถูกตอง
2. จงเขียนเสนจํานวนแลวหาจุดที่แทนจํานวนตอไปนี้
1)
8
4
,
2
1
1 ,
8
20
2)
2
1
1 ,
6
3
4 ,
6
29
จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปของทศนิยม
1.
10
6
= ………………………… 2. .................................
100
12
=
3. ................................
1000
357
= 4.
..............
1000
3
100
2
10
1
=++
เรื่องที่ 2 การเขียนเศษสวนดวยทศนิยม และการเขียนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
2.1 การเขียนเศษสวนดวยทศนิยม
1)
2)
22
เศษสวนและทศนิยมอาจเปลี่ยนรูปกันได หมายความวา เศษสวนสามารถเขียนใน
รูปของทศนิยมได และทศนิยมสามารถเขียนในรูปของเศษสวนไดเชนเดียวกัน เชน
1. ทําสวนใหเปน 10 , 100 , 1,000,.......
เชน 0.2 =
10
2
0.25 = 





×+





×
100
1
5
10
1
2
=
100
5
10
2
+
=
100
25
เพื่อใหเกิดความรวดเร็วในการเปลี่ยนทศนิยมเปนเศษสวน อาจทําไดโดยการเลื่อน
จุดทศนิยมและตัวหารเปนจํานวน 10, 100 หรือ 1,000 ขึ้นอยูกับจํานวนทศนิยม เชน ถาทศนิยม 1
ตําแหนง ตัวที่เปนสวนก็จะเปน 10 ถา 2 ตําแหนง ตัวที่เปนสวนก็จะเปน 100 หรือสรุปไดวา จํานวน
0 ที่ถัดเลข 1 จะเทากับจํานวนตําแหนงของทศนิยม
หมายเหตุ เศษสวนที่เปนลบเมื่อเขียนใหอยูในรูปทศนิยมจะไดทศนิยมที่เปนลบ
เชน
10
7−
= 7.0− ,
000,1
39−
= 039.0−
2.2 การเขียนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
ทศนิยมซ้ํา คือ จํานวนเต็มของทศนิยมที่ซ้ําๆ กัน เชน 0.777.... เขียนแทนดวย 7.0 
เมื่อจะเขียนใหเปนเศษสวน สามารถทําไดดังนี้
ตัวอยางที่ 1 จงเปลี่ยน 7.0  ใหเปนเศษสวน
วิธีทํา 7.0  = 0.77777..... = X
ให X = 0.77777… -------------- (1)
(1) × 10 ------> 10X = 7.7777… -------------- (2)
(2) –(1) ------> 10X – X = 7.7777… - 0.777…
9X = 7
X =
9
7
∴ 7.0  =
9
7
ตัวอยางที่ 2 จงเปลี่ยน 312.1  เปนเศษสวน
จาก 312.1  = 1.2131313…
23
ให x = 1.2131313… -------------- (1)
(1) × 10 10x = 12.131313….. ---------------(2)
(1) × 1,000 1,000x = 1213.131313… ---------------(3)
(3) – (2) 1,000x – 10x = 1213 – 12
990x = 1213 – 12
x =
990
121213 −
x =
990
1201
ดังนั้น 312.1  =
990
1201
จากตัวอยาง สรุปไดวา การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวนโดยวิธีลัด ทําไดดังนี้
1. 7134.0  =
9900
373417 −
=
9900
3383
เศษ เขียนจํานวนทั้งหมดลบดวยจํานวนที่ไมซ้ํา สวน แทนดวย 9 เทากับจํานวนที่ซ้ําและ
แทนดวย 0 เทากับจํานวนไมซ้ํา
2. 513.1  =
990
131315 −
=
990
1302
=
495
651
3. 3410.3  =
9900
31031043 −
=
9900
30733
แบบฝกหัดที่ 2
24
1. จงเปลี่ยนเศษสวนตอไปนี้ใหเปนทศนิยม โดยการทําสวนใหเปน 10 , 100 ,1,000, .......
1)
4
9
2)
4
3
1
........................................................... ............................................................
............................................................ ............................................................
3)
40
39
4)
25
7
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
5)
8
1
6)
125
8
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
2. จงเปลี่ยนเศษสวนตอไปนี้เปนทศนิยม โดยการหารเศษสวน
1)
11
9
2)
7
1
3
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
3)
16
7
4)
4
5
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
5)
6
5
6)
5
3
8
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
เรื่องที่ 3 การเปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยม
3.1 การเปรียบเทียบเศษสวน
25
เศษสวนที่เทากัน
การหาเศษสวนที่เทากัน ใชจํานวนที่ไมเทากับศูนยมาคูณหรือหารทั้งตัวเศษและ
ตัวสวน
เชน
4
3
=
24
23
×
×
=
8
6
4
3
=
8
6
=
12
9
เปนเศษสวนที่เทากัน
4
3
=
34
33
×
×
=
12
9
18
12
=
218
212
÷
÷
=
9
6
3
2
9
6
18
12
== เปนเศษสวนที่เทากัน
18
12
=
618
612
÷
÷
=
3
2
เศษสวนที่ไมเทากัน
การเปรียบเทียบเศษสวนที่ไมเทากันตองทําสวนใหเทากัน โดยนํา ค.ร.น. ของตัว
สวนของเศษสวนที่ตองการเปรียบเทียบกัน คูณทั้งตัวเศษและตัวสวน เมื่อตัวสวนเทากันแลวใหนํา
ตัวเศษมาเปรียบเทียบกัน
เชน
5
4
มากกวาหรือนอยกวา
10
7
ค.ร.น. ของ 5 และ 10 คือ 10
5
4
=
25
24
×
×
=
10
8
จะเห็นวา 8 > 7
ดังนั้น
10
7
10
8
> หรือ
10
7
5
4
>
ยังมีวิธีเปรียบเทียบโดยใชผลคูณไขว ถาผลคูณขางใดมีคามากกวา เศษสวนขางนั้น
จะมีคามากกวา
เชน
5
4
10
7
เปรียบเทียบ 104× กับ 75× จะเห็นวา 3540 >
ดังนั้น
10
7
5
4
>
ตัวอยางที่ 1 จงเปรียบเทียบ
12
7
และ
18
11
26
วิธีที่ 1 หา ค.ร.น. ของ 12 และ 18 ได 36
ทําสวนของเศษสวนทั้งสองใหเปน 36
312
37
×
×
=
36
21
218
211
×
×
=
36
22
จะได
36
22
>
36
21
ดังนั้น
18
11
>
12
7
วิธีที่ 2
12
7
18
11
ผลจากการคูณไขว จะได
7 × 18 และ 12 × 11
จะเห็นวา 126 < 132
ดังนั้น
12
7
<
18
11
2.1 เปรียบเทียบทศนิยม
การเปรียบเทียบทศนิยมที่เปนบวก ใหพิจารณาเลขโดดจากซายไปขวา ถาเลขโดด
ตัวใดมีคามากกวาทศนิยม จํานวนนั้นจะมีคามากกวา เชน 38.586 กับ 38.498 ทศนิยมใน
ตําแหนงที่ 1 ของทั้ง 2 จํานวนมีเลขโดดคือ 5 และ 4 ตามลําดับ จะเห็นไดวา 5 มากกวา 4
ดังนั้น 38.586 มากกวา 38.498
การเปรียบเทียบทศนิยมที่เปนลบ เชน -0.7 กับ -0.8
คาสัมบูรณของ -0.7 เทากับ 0.7
คาสัมบูรณของ -0.8 เทากับ 0.8
จํานวนที่มีคาสัมบูรณนอยกวาจะเปนจํานวนที่มีคามากกวา ดังนั้น
- 0.7 มากกวา - 0.8
แบบฝกหัดที่ 3
1. ใหเติมตัวเศษหรือตัวสวนของเศษสวนลงใน เพื่อใหไดเศษสวนที่เทากัน
27
2. ใหเติมเครื่องหมาย > , < หรือ = ลงใน ใหถูกตอง
3. ใหนักศึกษาเติมเครื่องหมาย > , < หรือ = ระหวางจํานวนสองจํานวน
1) -0.500 ..............0.501 2) 103.012 ...................... – 0.501
3) 5.28 .................... 5.82 4) – 5.28 .......................... -5.28
28
5) 8.354 ................. 8.534 6) -8.544 ........................... -8.534
7) -13.06 ................. 13.06 8) 103.012 ....................... -103.012
9) -5.125 .................. -5.1250 10) -7.10 ......................... -7.01
4. ใหนักศึกษาเรียงลําดับจํานวนตอไปนี้จากคานอยไปคามาก
1) -1.724, -1.738, 0.832, -2.000
2) -30.710, -31.170, -31.107, 30.017
3) 83.000, -38.000, -83.001, -138.500
4) -34.50, -37.40, -41.54, -39.62, -42.50
เรื่องที่ 4 การบวก ลบ คูณ หารเศษสวนและทศนิยม
4.1 การบวกเศษสวน
วิธีการหาผลบวกของเศษสวน สามารถทําไดดังนี้
29
1) หา ค.ร.น.ของตัวสวน
2) ทําเศษสวนแตละจํานวนใหมีตัวสวนเทากับ ค.ร.น.ที่หาไดจากขอ 1
3) บวกตัวเศษเขาดวยกันโดยที่ตัวสวนยังคงเทาเดิม
ตัวอยางที่ 1 จงหาผลบวก
วิธีทํา ค.ร.น. ของ 3 กับ 4 คือ 12
=
12
9
12
4
+
ตอบ
4.2 การลบเศษสวน
การลบเศษสวน ใชหลักการเดียวกันกับการลบจํานวนเต็ม คือ
ตัวอยางที่ 1 จงหาผลลบ
วิธีทํา ค.ร.น. ของ 6 และ 12 คือ 12
=
= 





×
×
+





×
×
112
17
26
25
=
=
12
7
12
10
+
ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ
30
=
12
17
=
12
5
1
ตอบ
แบบฝกหัดที่ 4
31
1. ใหหาผลลัพธตอไปนี้
2. ใหเติมจํานวนลงใน แลวทําใหประโยคเปนจริง
3. ใหหาจํานวนมาเติมลงใน แลวทําใหประโยคเปนจริง
4. ใหหาผลลัพธตอไปนี้
32
4.5 การคูณเศษสวน
33
ผลคูณของเศษสวนสองจํานวน คือ เศษสวนซึ่งมีตัวเศษเทากับผลคูณของตัวเศษสอง
จํานวนและตัวสวนเทากับผลคูณของตัวสวนสองจํานวนนั้น
เมื่อ
b
a
และ
d
c
เปนเศษสวน ซึ่ง b , d 0
ผลคูณของ
b
a
และ
d
c
หาไดจากกฎ
b
a
×
d
c
=
db
ca
×
×
ตัวอยางที่ 1 จงหาผลคูณของจํานวน
วิธีทํา
=
=
ตอบ
ตัวอยางที่ 2 จงหาผลคูณของ
101
25
5
2
2
1
××
วิธีทํา
101
5
1
1
1
1
××
=
10111
511
××
××
=
101
5
ตอบ
101
5
แบบฝกหัดที่ 5
34
จงหาผลคูณตอไปนี้
1)
5
1
1
3
1
2 ×
2)
9
5
5
1
1 ×
3)
9
1
1
11
2
5 ×
4)
10
7
3
2
16 ×
5)
5
2
1
3
2
2
16
5
××
6)
6
1
4
3
3
2
6 ××
7)
18
35
25
24
49
15
××
8)
22
10
25
11
27
10
25
24
×××
4.6 การหารเศษสวน
35
การหารจํานวนที่เปนเศษสวนไมมีสมบัติการสลับที่ และสมบัติการเปลี่ยนหมู
เมื่อ
b
a
และ
d
c
แทนเศษสวนใดๆ และ
พิจารณาผลหารที่เกิดจากการหาร
b
a
ดวย
d
c
ดังนี้
d
c
b
a
÷ =
d
c
b
a
=
c
d
d
c
c
d
b
a
×
×
=
1
c
d
b
a
×
=
c
d
b
a
×
ดังนั้น
d
c
b
a
÷ =
c
d
b
a
×
ตัวอยางที่ 1 จงหาผลหารของ
วิธีทํา
=
ตอบ
แบบฝกหัดที่ 6
36
1. จงหาผลลัพธตอไปนี้
2. จงทําใหเปนผลสําเร็จ
4.7 การนําความรูเรื่องเศษสวนไปใชในการแกโจทยปญหา
37
โจทยปญหาเศษสวน
การทําโจทยปญหาเศษสวน ควรกําหนดจํานวนทั้งหมดเปน 1 หนวย แลวดําเนินการตาม
โจทย เชน นักเรียนหองหนึ่ง เปนชาย
5
3
ของจํานวนนักเรียนในหอง
ดังนั้น หองนี้เปนนักเรียนหญิง 1 -
5
3
=
5
2
ของจํานวนนักเรียนในหอง
ตัวอยางที่ 1 ถังใบหนึ่งจุน้ํา 140 ลิตร มีน้ําอยู
4
3
ถัง หลังจากใชน้ําไปจํานวนหนึ่งจะ
เหลือน้ําอยู
2
1
ถัง จงหาวาใชน้ําไปเทาไหร
วิธีทํา มีน้ําในถัง
4
3
× 140 = 105 ลิตร
หลังจากใชน้ําเหลือน้ําในถัง ×
2
1
140 = 70 ลิตร
ดังนั้นใชน้ําไปจํานวน 70105 − = 35 ลิตร
แบบฝกหัดที่ 7
38
1. ใหหาคําตอบของโจทยปญหาตอไปนี้
1) ตองมีเงิน 320 บาท ซื้อรองเทา
5
2
ของเงินทั้งหมด ซื้อเสื้อ
16
5
ของเงินที่เหลือ จง
หาวาตองเหลือเงินเทาไร
2) หองประชุมหองหนึ่งมีความยาวเปน
4
3
3 ของความกวาง และความกวางเปน
5
2
4 ของ
ความสูง ถาหองสูง
2
1
3 เมตร และมีนักเรียน 462 คน จงหาวา โดยเฉลี่ยนักเรียนคนหนึ่งมีอากาศ
หายใจกี่ลูกบาศกเมตร
3) จางคนปลูกหญาบนสนามรูปสี่เหลี่ยมผืนผากวาง
5
4
6 เมตร ยาว
2
1
10 เมตร ใน
ราคาตารางเมตรละ 45 บาท จะตองจายเงินทั้งหมดเทาไร
4) โทรทัศนเครื่องหนึ่งประกาศลดราคาลง
4
1
ของราคาที่ปดไวเดิม แตผูซื้อเปนเพื่อน
กับผูขายลดใหอีก
5
1
ของราคาที่ประกาศลดแลวในครั้งแรก ซึ่งปรากฏวาผูซื้อจายไป 4,200 บาท
จงหาวาโทรทัศนเครื่องนี้ปดราคาเดิมไวเทาไร
5) ในการเดินทางครั้งหนึ่งเสียคาที่พัก
5
2
ของคาใชจายทั้งหมด คาเดินทาง
4
1
ของ
คาใชจายทั้งหมด คาใชจายอื่น ๆ คิดเปนเงิน 1,470 บาท จงหาวาคาใชจายทั้งหมดเปนเงินเทาไร
39
4.8 การบวก และการลบทศนิยม
การหาผลบวกของทศนิยมใดๆ จะใชหลักเกณฑดังนี้
1. การหาผลบวกระหวางทศนิยมที่เปนบวก ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปน
จํานวนบวก
2. การหาผลบวกระหวางทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปน
จํานวนลบ
3. การหาผลบวกระหวางทศนิยมที่เปนบวกกับทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาลบ
กันแลวตอบเปนจํานวนบวกหรือจํานวนลบตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา
การหาผลลบของทศนิยมใด ๆ ใชขอตกลงเดียวกันกับที่ใชในการหาผลลบของจํานวน
เต็ม คือ
สรุป การบวกและการลบทศนิยม จะตองตั้งใหจุดทศนิยมตรงกันกอน แลวจึงบวก
ลบ จํานวนในแตละหลัก ถาจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน นิยมเติมศูนยขางทายเพื่อให
จํานวนตําแหนงทศนิยมเทากัน
ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ
40
แบบฝกหัดที่ 8
1. จงเติมผลลัพธตอไปนี้
41
4.9 การคูณทศนิยม
การคูณทศนิยม มีหลักเกณฑดังนี้
1. การหาผลคูณระหวางทศนิยมที่เปนบวก ใหนําคาสัมบูรณมาคูณกันแลวตอบเปน
จํานวนบวก
2. การหาผลคูณระหวางทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาคูณกันแลวตอบเปน
จํานวนบวก
3. การหาผลคูณระหวางทศนิยมที่เปนบวกกับทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาคูณ
กันแลวตอบเปนจํานวนลบ
หมายเหตุ ผลคูณทศนิยม จะมีจํานวนหลักทศนิยมเทากับผลบวกของจํานวนหลัก
ทศนิยมของตัวตั้งและจํานวนหลักทศนิยมของตัวคูณ
ตัวอยางที่ 1 จงหาผลคูณของ
1. 1.25 ×2.431
1.25 ×2.431 = 2.431 × 1.25
2.431
12155
125
4862
303875 0
2431 0
∴ 1.25 ×2.431 = 3.03875
2. -5.12 × 0.125
512
2560
125
1024
64000 0
512 0
∴-5.12 × 0.125 = - 0.64000 = -0.64
×
×
42
4.10 การหารทศนิยม
การหารทศนิยม มีหลักเกณฑดังนี้
1. การหาผลหารระหวางทศนิยมที่เปนบวก ใหนําคาสัมบูรณมาหารกันแลวตอบเปน
จํานวนบวก
2. การหาผลหารระหวางทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาหารกันแลวตอบเปน
จํานวนบวก
3. การหาผลหารระหวางทศนิยมที่เปนบวกกับทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาหาร
กันแลวตอบเปนจํานวนลบ ขอสําคัญตองทําใหตัวหารเปนจํานวนเต็ม
ตัวอยางที่ 1 จงหาคาของ
1. 15.015 ÷(-0.15)
วิธีทํา 15.015 ÷(-0.15) =
15.0
015.15
−
=
10015.0
100015.15
×−
×
=
15
5.1501
−
1.100
15
5.150115
00
0
01
0
15
15
∴15.015 ÷(-0.15) = -100.1
2. (-37.65) ÷ (-1.5)
วิธีทํา (-37.65) ÷ (-1.5) =
5.1
65.37
−
−
=
105.1
1065.37
×
×
=
15
5.376
1.125
30
5.37615
76
75
15
15
∴(-37.65) ÷ (-1.5) = 25.1
43
แบบฝกหัดที่ 9
1. จงหาคาของ
2. จงหาคาของ
1) {(-12.4) ×33.6} +{(-12.4 × 66.4)
………………………………………………………………………………………………...
2) {(-3.145) × 2.76} + {(-27.39) ÷18.26}
………………………………………………………………………………………………...
3) (-14.307 – 2.809) + (6.78 ÷1.5)
………………………………………………………………………………………………...
4) {(0.036 ÷0.15) + (-4.07 ×1.1)} ของ (-5.8)
………………………………………………………………………………………………...
5) (-1.58 ÷0.15) – [ 2×(-3.6)]
………………………………………………………………………………………………...
44
4.11 การนําความรูเรื่องทศนิยมไปใชในการแกโจทยปญหา
ตัวอยางที่ 1 เหล็กเสนกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.75 เซนติเมตร ยาว 1 เมตร จะ
หนัก 3.862 กิโลกรัม ถาเหล็กเสนขนาดเดียวกันนี้ยาว 1.25 เมตร จะหนักกี่กิโลกรัม
วิธีทํา เหล็กเสนกลมมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.75 เซนติเมตร
และยาว 100 เซนติเมตร หนัก 3.862 กิโลกรัม
ถายาว 1 เซนติเมตร หนัก 03862.0
100
862.3
= กิโลกรัม
ดังนั้น เหล็กเสนขนาดเดิมแตยาว 125 เซนติเมตร หนัก 12503862.0 ×
= 8275.4 กิโลกรัม
เหล็กเสนขนาดเดิมยาว 25.1 เมตร หนัก 8275.4 กิโลกรัม
ตัวอยางที่ 2 รูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปหนึ่งมีพื้นที่ 11.3364 ตารางเซนติเมตร ถาดานยาว
เทากับ 4.23 เซนติเมตร ดานยาวยาวกวาดานกวางเทาไร
วิธีทํา พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว
11.3364 = กวาง × 4.23
ดังนั้น กวาง =
23.4
3364.11
= 68.2 เซนติเมตร
ดานยาวยาวกวาดานขาง = 68.223.4 −
= 55.1 เซนติเมตร
ดานยาวยาวกวาดานกวาง = 55.1 เซนติเมตร
45
แบบฝกหัดที่ 10
1. ใหนักศึกษาแกปญหาโจทยตอไปนี้
1) เชือกยาว 17.25 เมตร นําอีกเสนหนึ่งยาว 5.2 เมตร มาผูกตอกันทําใหเสียเชือกตรง
รอยตอ 0.15 เมตร นําเชือกที่ตอแลวมาวางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ใหดานกวางยาวดานละ 1.5
เมตร ดานยาวจะยาวดานละกี่เมตร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………
2. น้ําตาลถุงหนึ่งหนัก 9.35 กิโลกรัม จํานวน 16 ถุง ใชทําขนมเฉลี่ยแลววันละ 4.4 กิโลกรัม
จะใชน้ําตาลไดทั้งหมดกี่วัน
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………
3. หองรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 4.8 เมตร ยาว 9.6 เมตร นํากระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 32
ตารางเซนติเมตร มาปูหองจะตองใชกระเบื้องกี่แผน
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………
4. มีทองคําแทงหนึ่งหนัก 12.04 กรัม ซื้อเพิ่มอีก 25.22 กรัม แบงขายไปสองครั้ง หนักครั้งละ
8.02 กรัม ที่เหลือนําไปทําแหวน 5 วง หนักวงละ 3.45 กรัมเทาๆ กัน จะเหลือทองอีกกี่กรัม
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………
46
บทที่ 3
เลขยกกําลัง
สาระสําคัญ
สัญลักษณของการเขียนแทนการคูณจํานวนเดียวกันซ้ํา ๆ หลาย ๆ ครั้ง เขียนแทนดวย n
a
อานวา a ยกกําลัง n และการเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. บอกความหมายและเขียนเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มแทนจํานวนที่
กําหนดใหได
2. บอกและนําเลขยกกําลังมาใชในการเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได
3. อธิบายการคูณและหารของเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มได
ขอบขายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ความหมายและการเขียนเลขยกกําลัง
เรื่องที่ 2 การเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
เรื่องที่ 3 การคูณและการหารเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
47
เรื่องที่ 1 ความหมายและการเขียนเลขยกกําลัง
เลขยกกําลัง หมายถึง การใชสัญลักษณ เขียนแทนจํานวนที่เกิดขึ้นจากการคูณ ซ้ําๆ กัน
หลายๆ ครั้ง เชน 3333 ××× สามารถเขียนแทนไดดวย 4
3 อานวา สามยกกําลังสี่ ซึ่งมีบทนิยาม
ดังนี้
บทนิยาม
n
a
ถา a แทนจํานวนใด ๆ และ n แทนจํานวนเต็มบวก “a ยกกําลัง n” หรือ “a
กําลัง n” เขียนแทนดวย =   
n
aaaa ×××× ......
เรียก n
a วาเลขยกกําลังที่มี a เปนฐานและ n เปนเลขชี้กําลัง เชน
5
4 แทน 4 × 4 × 4 × 4 × 4
5
4 มี 4 เปนฐาน และมี 5 เปนเลขชี้กําลัง
สัญลักษณ 5
4 อานวา “สี่ยกกําลังหา” หรือ “สี่กําลังหา” หรือกําลังหาของสี่
( )6
2− แทน ( )2− × ( )2− × ( )2− × ( )2− × ( )2− × ( )2−
( )6
2− มี ( )2− เปนฐาน และมี 6 เปนเลขชี้กําลัง
ในทํานองเดียวกันสัญลักษณ ( )6
2− อานวา “ลบสองทั้งหมดยกกําลังหก” หรือกําลัง
หกของลบสอง
จงพิจารณาตารางตอไปนี้
เลขยกกําลัง ฐาน เลขชี้กําลัง เขียนในรูปของการคูณ แทนจํานวน
3
3 3 3 3×3×3 27
5
4 4 5 4×4×4×4×4 1,024
( )4
2− -2 4 (-2) ×(-2) ×(-2) ×(-2) 16
2
2
1






2
1 2
2
1
×
2
1
4
1
y
x x y X×X×X…(y ครั้ง) X×X×X…(y ครั้ง)
ตัวอยาง จงตอบคําถามตอไปนี้
1. 3
8 อานวาอยางไร
2. 3
10 มีจํานวนใดเปนฐาน
3. 5
11 มีจํานวนใดเปนเลขชี้กําลัง
4. 3
5 มีความหมายอยางไร
5. ( )5
5− อานวาอยางไร
วิธีทํา 1. 3
8 อานวา 8 ยกกําลัง 3
2. 3
10 มี 10 เปนฐาน
3. 5
11 มี 5 เปนเลขชี้กําลัง
4. 3
5 มีความหมายเทากับ 5 ×5×5
5. ( )5
5− อานวา (-5) ลบหาทั้งหมดยกกําลังหา
48
แบบฝกหัดที่ 1
1. จงเขียนจํานวนตอไปนี้ในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 พรอมทั้ง
บอกฐานและเลขชี้กําลัง
1.1 25 = ……………………………….=…………………………..
มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง
1.2 64 = ……………………………….=…………………………..
มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง
1.3 169 = ……………………………….=…………………………..
มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง
1.4 729 = ……………………………….=…………………………..
มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง
1.5 -32 = ……………………………….=…………………………..
มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง
1.6 -243 = ……………………………….=…………………………..
มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง
1.7 0.125 = ……………………………….=…………………………..
มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง
2. จงเขียนจํานวนที่แทนดวยสัญลักษณตอไปนี้
2.1 8
2 =…………………………………=………………………………
2.2 ( )4
3− =…………………………………=………………………………
2.3 ( )5
3.0 =…………………………………=………………………………
2.4 ( )6
02.0 =…………………………………=………………………………
2.5
3
3
1






=…………………………………=………………………………
2.6
3
7
2






=…………………………………=………………………………
2.7 ( )4
5− =…………………………………=………………………………
2.8 3
2− =…………………………………=………………………………
2.9
5
10
1






=…………………………………=………………………………
2.10 ( )6
5.0 =…………………………………=………………………………
49
เรื่องที่ 2 การเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
การเขียนจํานวนที่มีคามาก ๆ ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร มีรูปทั่วไปเปน A × n
10
เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม
พิจารณาการเขียนจํานวนที่มีคามาก ๆ ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรตอไปนี้
1. 2,000 = 2 × 1,000
= 2 × 3
10
2. 800,000 = 8 × 100,000
= 8 × 5
10
ตัวอยางที่ 1 จงเขียน 600,000,000 ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
วิธีทํา 600,000,000 = 6 × 100,000,000
= 6 × 8
10
ตอบ 6 × 8
10
ตัวอยางที่ 2 จงเขียน 73,200,000 ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
วิธีทํา 73,200,000 = 732 × 100,000
= 7.32 × 100 × 100,000
= 7.32 × 2
10 × 5
10
= 7.32 × 7
10
ตัวอยางที่ 3 ดาวเสารมีเสนผานศูนยกลางยาวประมาณ 113,000,000 เมตร จงเขียนใหอยูใน
รูปสัญกรณวิทยาศาสตร
วิธีทํา ดาวเสารมีเสนผานศูนยกลางยาวประมาณ 113,000,000 เมตร
113,000,000 = 113 × 1,000,000
= 113 × 100 × 1,000,000
= 1.13 × 2
10 × 6
10
= 1.13 × 8
10
ตอบ 1.13 × 8
10 เมตร
50
แบบฝกหัดที่ 2
1. จงเขียนจํานวนตอไปนี้ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
1. 400,000 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
2. 23,000,000,000 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
3. 639,000,000 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
4. 247,500,000 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
2. ดาวเสารอยูหางจากดวงอาทิตยประมาณ1,430,000,000 กิโลเมตร จงเขียนใหอยูในรูปสัญกรณ
วิทยาศาสตร
1,430,000,000 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
=………………………………………………………………
3. สัญกรณวิทยาศาสตรในแตละขอตอไปนี้แทนจํานวนใด
3.1 2 × 6
10 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
3.2 4.8 × 13
10 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
3.3 4.03 × 9
10 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
3.4 9.125 × 5
10 =………………………………………………………………
=………………………………………………………………
51
3. การคูณและการหารเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกัน และเปนเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
3.1 การคูณเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
พิจารณาการคูณเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกันตอไปนี้
3
2 × 4
2 = ( ) ( )2222222 ××××××
= 2 × 2 × 2 × 2 ×2 × 2 × 2
= 7
2 หรือ 43
2 +
32
33 × = ( ) ( )33333 ××××
= 3 × 3 × 3 × 3 ×3
= 5
3 หรือ 32
3 +
23
3
1
3
1






×





=












×





×












×





×





3
1
3
1
3
1
3
1
3
1
= 





×





×





×





×





3
1
3
1
3
1
3
1
3
1
=
5
3
1






หรือ 23
3
1
+





การคูณเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกันและมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวกเปนไป
ตามสมบัติของการคูณเลขยกกําลังดังนี้
เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ m และ n แทนจํานวนเต็มบวก nm
aa × = nm
a +
52
แบบฝกหัดที่ 3
1. จงเขียนจํานวนที่แทนดวยสัญลักษณตอไปนี้
1.1 65
22 × =……………………………=…………………………………
1.2 25
32 × =……………………………=…………………………………
1.3 ( )3
32× =……………………………=…………………………………
1.4 ( )2
75.0 =……………………………=…………………………………
1.5 2
2
3
3
1
×




 −
=……………………………=…………………………………
1.6 ( )3
23×− =……………………………=…………………………………
1.7
43
2
5
5
2






×





=……………………………=…………………………………
1.8
56
2
7
7
1






×





=……………………………=…………………………………
1.9 ( )
4
3
2
1
5.0 





=……………………………=…………………………………
1.10 ( ) ( )32
1111 −− =……………………………=…………………………………
2. จงเขียนผลคูณของจํานวนในแตละขอตอไปนี้ในรูปเลขยกกําลัง
2.1 732
222 ×× =……………………………=…………………………………
2.2 ( ) ( ) ( )53
333 −×−×− =……………………………=………………………………
2.3 5 × 625 × 2
5 =……………………………=…………………………………
2.4 121 × 11 × 2
11 =……………………………=…………………………………
2.5 ( ) ( ) ( )734
333 −×−×− =……………………………=………………………………
53
การหารเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกันและฐานไมเทากับศูนยมีเลขชี้กําลังเปน
จํานวนเต็มบวกในรูปของ
3.2 การหารเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
m
a ÷ n
a จะพิจารณาเปน 3 กรณี คือ เมื่อ m > n , m = n และ m <
n ดังนี้
กรณีที่ 1 m
a ÷ n
a เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย m,n แทนจํานวนเต็มบวก
และ m > n พิจารณาการหารเลขยกกําลังตอไปนี้
1. 2
5
2
2
=
22
22222
×
××××
= 222 ××
= 3
2 หรือ 25
2 −
2.
7
5
3
3
=
33333
3333333
××××
××××××
= 2
3 หรือ 57
3 −
3. ( )
( )3
8
5
5
−
−
= ( )( )( )( )( )( )( )( )
( )( )( )555
55555555
−−−
−−−−−−−−
= ( )( )( )( )( )55555 −−−−−
= ( )5
5− หรือ ( ) 38
5
−
−
จากการหารเลขยกกําลังขางตนจะเห็นวา ผลหารเปนเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดิม
และเลขชี้กําลังเทากับเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ลบดวยเลขชี้กําลังของตัวหาร ซึ่งเปนไปตามสมบัติของ
การหารเลขยกกําลังดังนี้
เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย m , n แทนจํานวนเต็มบวก และ m > n
nm
aa ÷ = nm
a −
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001

More Related Content

What's hot

คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003Thidarat Termphon
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002Kasem Boonlaor
 
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001Kasem Boonlaor
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002Thidarat Termphon
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001Thidarat Termphon
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029Kasem Boonlaor
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002Thidarat Termphon
 
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายpongtum
 

What's hot (20)

คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
 
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
 

Similar to คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001

bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลยsm_anukul
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3คุณครูพี่อั๋น
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 

Similar to คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001 (12)

bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
4339
43394339
4339
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
ระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริงระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริง
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 

More from Thidarat Termphon

การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001Thidarat Termphon
 
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001Thidarat Termphon
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007Thidarat Termphon
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001Thidarat Termphon
 

More from Thidarat Termphon (8)

การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001
 

คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001

  • 1. หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร (พค21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2 หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร (พค21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2554 ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 7/2555
  • 3. 3
  • 4. 4 สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา 3 สารบัญ 4 คําแนะนําการใชหนังสือ 5 โครงสรางวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 6 บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ 7 บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม 18 บทที่ 3 เลขยกกําลัง 46 บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ 58 บทที่ 5 การวัด 75 บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว 106 บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ 128 บทที่ 8 ความสัมพันธของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 138 บทที่ 9 สถิติ 151 บทที่ 10 ความนาจะเปน 182 บทที่ 11 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในงานอาชีพ 192
  • 5. 5 คําแนะนําการใชแบบเรียน หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร พค 21001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษา หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชา คณิตศาสตร ผูเรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไป ศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรูความเขาใจของ เนื้อหาในเรื่องนั้นๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาในแตละ เรื่อง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพื่อนๆ ที่รวมเรียนในรายวิชา และระดับเดียวกันได 4. แบบเรียนเลมนี้มี 10 บท บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม บทที่ 3 เลขยกกําลัง บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ บทที่ 5 การวัด บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ บทที่ 8 ความสัมพันธของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ บทที่ 9 สถิติ บทที่ 10 ความนาจะเปน
  • 6. 6 โครงสรางรายวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระสําคัญ ใหผูเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับจํานวนและการดําเนินการ เศษสวน และทศนิยม เลข ยกกําลัง อัตราสวน สัดสวน และรอยละ การวัด ปริมาตรและพื้นที่ผิว คูอันดับและกราฟ ความสัมพันธระหวางรูปทรงเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ สถิติ และความนาจะเปน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. ระบุหรือยกตัวอยางเกี่ยวกับจํานวนและการดําเนินการ เศษสวนและทศนิยม เลขยก กําลังอัตราสวน สัดสวน รอยละ การวัด การหาปริมาตรและพื้นที่ผิว คูอันดับและกราฟ ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติ สามมิติ สถิติ และความนาจะเปน 2. สามารถคิดคํานวณและแกปญหาโจทยที่ใชในชีวิตประจําวัน ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม บทที่ 3 เลขยกกําลัง บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ บทที่ 5 การวัด บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ บทที่ 8 ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ บทที่ 9 สถิติ บทที่ 10 ความนาจะเปน สื่อการเรียนรู 1. ใบงาน 2. หนังสือเรียน
  • 7. 7 บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ สาระสําคัญ เรื่องของจํานวนและการดําเนินการ เปนหลักการเบื้องตนที่เปนพื้นฐานในการนําไปใชใน ชีวิตจริงเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ การบวก การลบ การคูณ และการหาร ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนยได 2. เปรียบเทียบจํานวนเต็มได 3. บวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม และอธิบายผลที่เกิดขึ้นได 4. บอกสมบัติของจํานวนเต็มและนําความรูเกี่ยวกับสมบัติของจํานวนเต็มไปใชได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย เรื่องที่ 2 การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม เรื่องที่ 3 การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม เรื่องที่ 4 สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใช
  • 8. 8 เรื่องที่ 1 จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย จํานวนเต็มประกอบไปดวย จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และจํานวนเต็มศูนย ดัง โครงสรางตอไปนี้ จํานวนเต็มบวก คือ จํานวนนับ เปนจํานวนชนิดแรกที่มนุษยรูจัก มีคามากกวาศูนย จํานวนนับจํานวน แรก คือ 1 จํานวนที่อยูถัดไปจะเพิ่มขึ้นทีละ 1 เสมอ เห็นวาไมสามารถหาจํานวนนับที่มากที่สุด และ สามารถเขียนจํานวนนับ เรียงตามลําดับไดดังนี้ 1, 2, 3,... ไปเรื่อยๆ จํานวนนับเหลานี้อาจเรียกไดวา “จํานวนเต็มบวก” ถานําจํานวน 0 และจํานวนเต็มบวกมาเขียนแสดงดวยเสนจํานวนได ดังนี้ จํานวนเต็มศูนย มีจํานวนเดียว คือ ศูนย(0) สําหรับ 0 ไมเปนจํานวนนับ เพราะจะไมกลาววามีผูเรียนจํานวน 0 คน แตศูนยก็ไมได หมายความวา ไมมีเสมอไป เชน เมื่อกลาวถึงอุณหภูมิ เพราะทําใหเราทราบและเกิดความรูสึกขณะ อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียสได จํานวนเต็มลบ หมายถึงจํานวนที่ตรงขามกับจํานวนเต็มบวก มีคานอยกวาศูนย (0) มีคาลดลง เรื่อยๆ ไมมีที่สิ้นสุด เชน -1, -2, -3, .... พิจารณาจากเสนจํานวน จะเห็นวาจํานวนที่อยูทางซายของ 0 เปนระยะทาง 1 หนวย เขียน แทนดวย -1 อานวา ลบหนึ่ง จากจํานวนที่อยูทางซายของ 0 สองชอง เขียนแทนดวย -2 อานวา ลบสอง ถาอยูทางซาย ของ 0 สามชอง เขียนแทนดวย -3 อานวา ลบสาม จํานวนเต็ม จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มศูนย จํานวนเต็มลบ
  • 9. 9 เรื่องที่ 2 การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม จํานวนเต็ม 2 จํานวน เมื่อนํามาเปรียบเทียบกันจะไดวา จํานวนหนึ่งที่มากกวาจํานวนหนึ่ง หรือจํานวนหนึ่งที่นอยกวาอีกจํานวนหนึ่ง หรือจํานวนทั้ง 2 จํานวนเทากัน เพียงอยางใดอยางหนึ่ง เทานั้น ถา a, b, c เปน จํานวนธรรมชาติใดๆ แลว a – b = c แลว a มากกวา b a – b = - c แลว b มากกวา a หรือ a นอยกวา b a – b = 0 แลว a เทากับ b เครื่องหมายที่ใช > แทนมากกวา < แทนนอยกวา = แทนเทากับ หรือเทากัน การเปรียบเทียบจํานวนเต็มสามารถเปรียบเทียบจากเสนจํานวนไดดังนี้ จากเสนจํานวนจะเห็นวา 4 > 3 > 2 > 1 > 0 > -1 > -2 > -3 ซึ่งจะเห็นไดวา จํานวนที่อยู บนเสนจํานวนดานขวามีคามากกวาจํานวนที่อยูดานซายเสมอ
  • 10. 10 แบบฝกหัดที่ 1 1. จงเลือกจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และจํานวนเต็มจากจํานวนตอไปนี้ - 1, 2 4 , 0, - 3, 1000 500 , 250 500 − จํานวนเต็มบวก ประกอบดวย............................................................................................... จํานวนเต็มลบ ประกอบดวย............................................................................................... จํานวนเต็ม ประกอบดวย.............................................................................................. 2. จงเติมเครื่องหมาย < หรือ > เพื่อใหประโยคตอไปนี้เปนจริง 1) -4 ..................................... 3 2) -4 .................................... -3 3) -2 ..................................... -5 4) 4..................................... -2 5) 4..................................... -8 3. จงเรียงลําดับจํานวนเต็มจากนอยไปหามาก 1) -2, -8, -4, -15, -20, -7 ………………………………………………………………………………………………….. 2) 4, -8, 0, -2, 16, -17 …………………………………………………………………………………………………..
  • 11. 11 2.1 จํานวนตรงขามของจํานวนเต็ม ถา a เปนจํานวนใดๆ จํานวนตรงขามของ a มีเพียงจํานวนเดียว เขียนแทนดวย -a พิจารณาจากเสนจํานวน จํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบจะอยูคนละขางของศูนย (0) และอยูหางจาก 0 เปน ระยะเทากัน เชน -3 กับ 3 เปนจํานวนตรงขามกัน ซึ่งสรุปไดวา สําหรับจํานวนเต็ม a ใดๆ จํานวนตรงขามของ a คือ –a และจํานวนตรงขามของ -a คือ –a เนื่องจากจํานวนตรงขามของ(-a) เขียนแทนดวย – (-a) ดังนั้น – (-a) = a เชน จํานวนตรงขามของ (-3) เขียนแทนดวย –(-3) คือ 3 2.2 คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม สัญลักษณของคาสัมบูรณ ไดแก ขอสังเกต เมื่อ a แทนจํานวนใดๆ พิจารณาจากเสนจํานวนจะเห็นวา คาสัมบูรณของ 2 เทากับ 2 เขียนในรูปสัญลักษณ 22 = คาสัมบูรณของ -2 เทากับ 2 เขียนในรูปสัญลักษณ 22 =− ซึ่งสรุปไดวาคาสัมบูรณของจํานวนใดๆ เทากับระยะทางที่จํานวนนั้นอยูหางจาก 0 บนเสน จํานวน
  • 12. 12 แบบฝกหัดที่ 2 1. จงเติมคําวา “มากกวา” หรือ “นอยกวา” หรือ “เทากับ” 1) คาสัมบูรณของ (-3).................................................คาสัมบูรณของ 3 2) จํานวนตรงขามของ (-4) .........................................จํานวนตรงขามของ 4 3) จํานวนตรงขามของ 5 ..............................................จํานวนตรงขามของ -5 4) คาสัมบูรณของ A....................................คาสัมบูรณของ(-A) เมื่อA เปนจํานวนใดๆ 5) จํานวนตรงขามของ A ...........................จํานวนตรงขามของ (-A) เมื่อA เปนจํานวนใดๆ 2. จงเติมเครื่องหมาย <, > หรือ = ลงในชองวาง 1) – (- 5) ............................................5 2) จํานวนตรงขามของ 8 .........................................8 3) จํานวนตรงขามของ (-8).......................................(-8) 4) 25.........................................25 −− 5) ( )20.........................................20 −− 6) 5..........................................25 −− 7) จํานวนตรงขามของ (-2) .........................................จํานวนตรงขามของ(-7) 8) จํานวนตรงขามของ 32.............................................จํานวนตรงขามของ 77
  • 13. 13 เรื่องที่ 3 การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม 3.1 การบวกจํานวนเต็ม หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปนจํานวนเต็มบวก เชน 2 + 3 = 5 1). การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก พิจารณาจากเสนจํานวน เริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวา 2 ชอง และนับเพิ่มไปทางขวาอีก 3 ชอง จะสิ้นสุดที่ 5 จะได 5 เปนผลบวกของ 2 กับ 3 หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปนจํานวนเต็มลบ เชน (-2) + (-3) = (-5) 2). การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ พิจารณาจากเสนจํานวน เริ่มตนที่ 0 นับไปทางซาย 2 ชอง และนับเพิ่มไปทางซายอีก 3 ชอง จะสิ้นสุดที่ -5 จะได -5 เปนผลบวกของ -2 กับ -3 3.1 กรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา 3). การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก เชน 12 + (-8) = 4 พิจารณาจากเสนจํานวน เริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวา 12 ชอง เมื่อบวกดวย -8 ใหนับลดไปทางซายอีก 8 ชอง จะสิ้นสุดที่ 4 จะได 4 เปนผลบวกของ 12 กับ -8
  • 14. 14 3.2 กรณีที่ จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ เชน 3 +(-10) = -7 พิจารณาจากเสนจํานวน เริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวา 3 ชอง เมื่อบวกดวย – 10 ใหนับลดไปทางซายอีก 10 ชอง จะสิ้นสุดที่ -7 จะได -7 เปนผลบวกของ 3 กับ -10 4.1 กรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา 4). การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก เชน (-3) + 5 = 2 พิจารณาจากเสนจํานวน เริ่มตนที่ 0 นับไปทางซาย 3 ชอง เมื่อบวกดวย 5 ใหนับเพิ่มไปทางขวาอีก 5 ชอง จะสิ้นสุดที่ 2 จะได 2 เปนผลบวกของ -3 กับ 3 4.2 กรณีจํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา หาผลบวกดวยการนําคาสัมบูรณมาลบกันแลวผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ เชน (-5) + 3 = -2 พิจารณาจากเสนจํานวน เริ่มตนที่ 0 นับไปทางซาย 5 ชอง เมื่อบวกดวย 3 ใหนับเพิ่มไปทางขวาอีก 3 ชอง จะสิ้นสุดที่ -2 จะได -2 เปนผลบวกของ -5 กับ 3
  • 16. 16 2. จากผลการบวกโดยใชเสนจํานวน จงเติมคําตอบตอไปนี้ใหสมบูรณ ประโยคแสดงผลบวกของ a+b คาสัมบูรณของ a คาสัมบูรณของ b คาสัมบูรณของ(a+b) ผลบวกของ a กับ b เทากันหรือไมกับ ba + 1. 3+2 = 5 3 2 5 เทากัน 2. (-3)+(-2) = -5 3. 2+1 = 3 4. (-2)+(-1) = -3 5. 5+ (-1) = 4 6. (-1) +5 = 4 7. (-5) +3 = -2 8. 3 + (-5) = -2 สรุป หลักการบวกจํานวนเต็ม 1. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกัน แลว ตอบเปนจํานวนเต็มบวก 2. การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปน จํานวนเต็มลบ 3. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ ที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณ มากกวาใหนําคาสัมบูรณมาลบกัน แลวตอบเปนจํานวนเต็มบวก 4. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ ที่จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา ใหนําคาสัมบูรณมาลบกัน แลวคําตอบเปนจํานวนเต็มลบ 5. การบวกระหวางจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบที่มีคาสัมบูรณเทากัน ผลบวกเปน 0 3.2 การลบจํานวนเต็ม ทบทวนจํานวนตรงขามของจํานวนเต็มดังตอไปนี้ จํานวนตรงขามของ 3 คือ -3 จํานวนตรงขามของ – 3 คือ 3 และ 3+(-3) = 0 จํานวนตรงขามของ -3 เขียนแทนดวย –(-3) ดังนี้ –(-3) = 3
  • 17. 17 พิจารณาการลบจํานวนเต็มสองจํานวนที่กําหนดใหดังนี้ 1. 3 – 2 2. 3 – 5 โดยพิจารณาทั้งสองแบบ 1. แสดงการหาผลลบของสองจํานวนที่กําหนดให โดยใชเสนจํานวน 1). 3 – 2 = 1 2). 3 – 5 = -2 2. แสดงการหาผลลบโดย กําหนดให – b แทนจํานวนตรงขามของ b แลวพิจารณาคาของ a + (-b) ประโยคแสดงผลลัพธของ a – b a b (-b) ประโยคแสดงผลลัพธของ a + (-b) 1). 3 – 2 = 1 3 2 (-2) 3 + (-2) = 1 2). 3 – 5 = -2 3 5 (-5) 3 + (-5) = -2 จากการลบจํานวนเต็มสองจํานวนทั้ง 2 แบบจะเห็นไดวา กําหนด (-b) เปนจํานวนตรงขามของ b ผลลัพธของ a-b และผลลัพธของ a+(-b) มีคาเทากัน ดังนั้น การลบจํานวนเต็ม เราอาศัยการบวกตามขอตกลงดังตอไปนี้ ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ นั่นคือ เมื่อ a และ b แทนจํานวนใดๆ a –b = a + จํานวนตรงขามของ b หรือ a – b = a + (-b)
  • 18. 18 1. จงทําใหเปนผลสําเร็จ แบบฝกหัดที่ 4 1. (-12) – 7 ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 2. 7 – (-12) ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 3. (-8) – (-5) ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 4. (-5) – (-8) ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 5. [8 – (-2)] – 6 ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 6. 8 – [(-2) – 6] ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 2. จงหาคาของ a – b และ b – a เมื่อกําหนด a และ b ดังตอไปนี้ 1. a = 5, b = (-3) ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 2. a = (-14), b = (-6) ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 3. a = (-4), b = (-4) ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 19. 19 3.3 การคูณจํานวนเต็ม 1) การคูณจํานวนเต็มบวกดวนจํานวนเต็มบวก เชน 3 × 5 = 5 + 5 + 5 = 15 7 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 28 การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวกนั้น ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มบวกที่มีคา สัมบูรณเทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น 2) การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ เชน 3 × (-8) = (-8) + (-8) + (-8) = -24 2 × (-7) = (-7) + (-7) = -14 การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มลบที่มีคาสัมบูรณ เทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น 3) การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก เชน (-7) × 4 = 4 × (-7) (สมบัติการสลับที่การคูณ) = (-7) + (-7)+ (-7) + (-7) = -28 การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มลบที่มีคาสัมบูรณ เทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น 4) การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ เชน (-3) × (-5) = 15 ( -11) × (-20) = 220 การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ ไดคําตอบเปนจํานวนเต็มบวกที่มีคาสัมบูรณ เทากับผลคูณของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
  • 20. 20 จงหาผลลัพธ แบบฝกหัดที่ 5 1). [(-3) × (-5)] × (-2) …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ………………………………………… 2). (-3) × [(-5) × (-2)] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 3). [4 × (-3)] × (-1) …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 4). 4 × [(-3) × (-1)] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 5). [(-5) × (-6)] + [(-5) × (-6)] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 6). (-5) × [6 + (-6)] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 7). [(-7) × (-5)] + [(-7) × 2] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 8). (-7) × [(-5) + 2] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 9). [5 × (-7)] + [5 × 3] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 10). 5 × [(-7) + 3] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………
  • 21. 21 3.4 การหารจํานวนเต็ม การหารจํานวนเต็ม เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใดๆ ที่ b ไมเทากับ 0 จะหาผลหารได โดยอาศัยการคูณ ดังนี้ ตัวตั้ง ÷ ตัวหาร = ผลลัพธ มีความหมายเดียวกับ ผลลัพธ × ตัวหาร = ตัวตั้ง ถา cba =÷ แลว cba ×= การหาผลหาร 5 25− จะตองหาจํานวนที่คูณกับ 5 แลวได -25 ดังนั้น 5 5 25 −= − การหาผลหาร 5 25 − จะตองหาจํานวนที่คูณกับ -5 แลวได 25 ดังนั้น 5 5 25 −= − จากการหาผลหารขางตนจะไดวา ถาทั้งตัวตั้งหรือตัวหาร ตัวใดตัวหนึ่งเปนจํานวนเต็มลบโดยที่อีกตัวหนึ่งเปนจํานวนเต็มบวก คําตอบเปนจํานวนเต็มลบ ที่มีคาสัมบูรณเทากับผลหารของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น การหาผลหาร 5 25 − − จะตองหาจํานวนที่คูณกับ -5 แลวได -25 ดังนั้น 5 5 25 = − − การหาผลหาร 5 25 จะตองหาจํานวนที่คูณกับ 5 แลวได 25 ดังนั้น 5 5 25 = จากการหาผลหารขางตนจะไดวา ถาทั้งตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มบวกทั้งคูหรือจํานวนเต็มลบทั้งคู คําตอบเปนจํานวน เต็มบวก ที่มีคาสัมบูรณเทากับผลหารของคาสัมบูรณของสองจํานวนนั้น
  • 22. 22 แบบฝกหัดที่ 6 1. จงเติมคําตอบใหสมบูรณเพื่อแสดงหลักของความสัมพันธระหวางการหารและการคูณ ตอไปนี้ ประโยคที่แสดงความสัมพันธ cba ×= ประโยคที่แสดงความสัมพันธ cba =÷ หรือ bca =÷ 10 = 5 x 2 10 ÷ 5 = 2 หรือ 10 ÷ 2 = 5 35 = 7 x 5 33 = 3 x 11 (-14) = 7 x (-2) (-14) ÷7 = (-2) หรือ (-14) ÷ (-2) = 7 (-21) = 7 x (-3) (-15) = 3 x (-5) 10 = (-5) x (-2) จงหาผลหาร 1. 17 ÷ 17 …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 2. 23 ÷ (-23) …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 3. 15 ÷ (-3) …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 4. (-72) ÷ 9 …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 5. [(-51) ÷ (-17)] ÷ [15 ÷(-5)] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 6. [(-72) ÷ 9] ÷ [ 16 ÷ (-2)] …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………
  • 23. 17 เรื่องที่ 4 สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใช 4.1 สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจํานวนเต็ม 1). สมบัติการสลับที่ ถา a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ a + b = b + a (สมบัติการสลับที่การบวก) a × b = b × a (สมบัติการสลับที่การคูณ) 2) สมบัติการเปลี่ยนหมู ถา a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ (a + b) + c = a + (b + c) (สมบัติการเปลี่ยนหมูการบวก) (a × b) × c = a × (b × c) (สมบัติการเปลี่ยนหมูการคูณ) 3) สมบัติการแจกแจง ถา a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ a + (b × c) = ab + ac และ (b + c) × a = ba + ca 4.2 สมบัติของหนึ่งและศูนย 1). สมบัติของหนึ่ง 1). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a × 1 = 1 × a = a 2). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a a = 1 2).สมบัติของศูนย 1). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a + 0 = 0 + a = a 2). ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว a × 0 = 0 × a = 0 3). ถา a แทนจํานวนใดๆ ที่ไมใช 0 แลว 0 0 = a (เราไมใช 0 เปนตัวหาร ถา a แทนจํานวนใดๆ แลว 0 a ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร) 4). ถา a และ b แทนจํานวนใดๆ และ a × b = 0 แลว จะได a = 0 หรือ b = 0 บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม
  • 24. 18 สาระสําคัญ การอาน เขียนเศษสวน และทศนิยมโดยใชสมบัติ การบวก การลบ การคูณ การหาร การเปรียบเทียบ และการแกโจทยปญหาตามสภาพการณจริงได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. บอกความหมายของเศษสวนและทศนิยมได 2. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวนได 3. เปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยมได 4. สามารถบวก ลบ คูณ หาร เศษสวนและทศนิยมได และอธิบายผลที่เกิดขึ้นได 5. นําความรูเกี่ยวกับเศษสวนและทศนิยมไปใชแกโจทยปญหา ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมายของเศษสวนและทศนิยม เรื่องที่ 2 การเขียนเศษสวนดวยทศนิยม และการเขียนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน เรื่องที่ 3 การเปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยม เรื่องที่ 4 การบวก ลบ คูณ หาร เศษสวนและทศนิยม เรื่องที่ 1 ความหมายของเศษสวน และทศนิยม 1.1 เศษสวน หมายถึง สวนตางๆ ของจํานวนเต็มที่ถูกแบงออกเปนสวนละเทาๆ กัน การ นําเสนอเศษสวนสามารถนําเสนอไดทั้งแบบรูปภาพ หรือแบบเสนจํานวน เชน
  • 25. 19 รูปวงกลม 1 วง แบงออกเปน 4 สวนเทา ๆ กัน สวนที่แรเงาเปน 1 สวนใน 4 สวน เขียนแทนดวย 4 1 อานวา “เศษหนึ่งสวนสี่” หรือ 1 หนวยบนเสนจํานวนแบงออกเปน 5 สวนเทา ๆ กัน จุด A อยูหางจาก 0 ไปทางขวามือเปนระยะ 3 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น A แทนดวย 5 3 จุด B อยูหางจาก 0 ไปทางขวามือเปนระยะ 7 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น B แทนดวย 5 7 หรือ 5 2 1 จุด C อยูหางจาก 0 ไปทางขวามือเปนระยะ 13 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น C แทนดวย 5 13 หรือ 5 3 2 จุด D อยูหางจาก 0 ไปทางซายมือเปนระยะ 8 สวน ใน 5 สวน ดังนั้น D แทนดวย 5 8− หรือ 5 3 1− เศษสวน " บทนิยาม เศษสวนเปนจํานวนที่เขียนอยูในรูป เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม โดยที่ b ไมเทากับศูนย เรียก a วา "ตัวเศษ" เรียก b วา "ตัวสวน” อานวา เศษหนึ่งสวนหา อานวา เศษหนึ่งสวนสอง อานวา ลบเศษสามสวนสอง อานวา ลบเศษสี่สวนสาม
  • 26. 20 ตัวอยางที่ 1 จงเติมเศษสวนลงใน ใหถูกตอง 1.2. ทศนิยม ทศนิยม คือ จํานวนที่อยูในรูปทศนิยมประกอบดวยสองสวนคือ สวนที่เปนจํานวนเต็ม และสวนที่เปนทศนิยม และมีจุด (.) คั่นระหวางจํานวนเต็มกับสวนที่เปนทศนิยม ทศนิยมแบงไดเปน 2 ชนิด คือ 1. ทศนิยมแบบไมซ้ํา เชน 1.5 , 2.35, 3.14, ... 2 ทศนิยมซ้ํา แบงเปน 2.1 ทศนิยมซ้ําศูนย เชน 1.5000 … เขียนแทนดวย 1.5 0.0030000 … เขียนแทนดวย 0.003 ถาตัวซ้ําเปน 0 ไมนิยมเขียน 2.2 ทศนิยมที่ตัวซ้ําไมเปนศูนย เชน 0.3333… เขียนแทนดวย 0.3 อานวา ศูนยจุดสามสามซ้ํา
  • 27. 21 1.414141 … เขียนแทนดวย 1.41 อานวา หนึ่งจุดสี่หนึ่งสี่หนึ่งซ้ํา 0.213213213 … เขียนแทนดวย 0.213 อานวา ศูนยจุดสองหนึ่งสาม สองหนึ่งสามซ้ํา 2.10371037 … เขียนแทนดวย 2.1037 อานวา สองจุดหนึ่งศูนยสามเจ็ด หนึ่งศูนยสามเจ็ดซ้ํา แบบฝกหัดที่ 1 1. จงเติมเศษสวนลงใน ใหถูกตอง 2. จงเขียนเสนจํานวนแลวหาจุดที่แทนจํานวนตอไปนี้ 1) 8 4 , 2 1 1 , 8 20 2) 2 1 1 , 6 3 4 , 6 29 จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปของทศนิยม 1. 10 6 = ………………………… 2. ................................. 100 12 = 3. ................................ 1000 357 = 4. .............. 1000 3 100 2 10 1 =++ เรื่องที่ 2 การเขียนเศษสวนดวยทศนิยม และการเขียนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน 2.1 การเขียนเศษสวนดวยทศนิยม 1) 2)
  • 28. 22 เศษสวนและทศนิยมอาจเปลี่ยนรูปกันได หมายความวา เศษสวนสามารถเขียนใน รูปของทศนิยมได และทศนิยมสามารถเขียนในรูปของเศษสวนไดเชนเดียวกัน เชน 1. ทําสวนใหเปน 10 , 100 , 1,000,....... เชน 0.2 = 10 2 0.25 =       ×+      × 100 1 5 10 1 2 = 100 5 10 2 + = 100 25 เพื่อใหเกิดความรวดเร็วในการเปลี่ยนทศนิยมเปนเศษสวน อาจทําไดโดยการเลื่อน จุดทศนิยมและตัวหารเปนจํานวน 10, 100 หรือ 1,000 ขึ้นอยูกับจํานวนทศนิยม เชน ถาทศนิยม 1 ตําแหนง ตัวที่เปนสวนก็จะเปน 10 ถา 2 ตําแหนง ตัวที่เปนสวนก็จะเปน 100 หรือสรุปไดวา จํานวน 0 ที่ถัดเลข 1 จะเทากับจํานวนตําแหนงของทศนิยม หมายเหตุ เศษสวนที่เปนลบเมื่อเขียนใหอยูในรูปทศนิยมจะไดทศนิยมที่เปนลบ เชน 10 7− = 7.0− , 000,1 39− = 039.0− 2.2 การเขียนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน ทศนิยมซ้ํา คือ จํานวนเต็มของทศนิยมที่ซ้ําๆ กัน เชน 0.777.... เขียนแทนดวย 7.0  เมื่อจะเขียนใหเปนเศษสวน สามารถทําไดดังนี้ ตัวอยางที่ 1 จงเปลี่ยน 7.0  ใหเปนเศษสวน วิธีทํา 7.0  = 0.77777..... = X ให X = 0.77777… -------------- (1) (1) × 10 ------> 10X = 7.7777… -------------- (2) (2) –(1) ------> 10X – X = 7.7777… - 0.777… 9X = 7 X = 9 7 ∴ 7.0  = 9 7 ตัวอยางที่ 2 จงเปลี่ยน 312.1  เปนเศษสวน จาก 312.1  = 1.2131313…
  • 29. 23 ให x = 1.2131313… -------------- (1) (1) × 10 10x = 12.131313….. ---------------(2) (1) × 1,000 1,000x = 1213.131313… ---------------(3) (3) – (2) 1,000x – 10x = 1213 – 12 990x = 1213 – 12 x = 990 121213 − x = 990 1201 ดังนั้น 312.1  = 990 1201 จากตัวอยาง สรุปไดวา การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวนโดยวิธีลัด ทําไดดังนี้ 1. 7134.0  = 9900 373417 − = 9900 3383 เศษ เขียนจํานวนทั้งหมดลบดวยจํานวนที่ไมซ้ํา สวน แทนดวย 9 เทากับจํานวนที่ซ้ําและ แทนดวย 0 เทากับจํานวนไมซ้ํา 2. 513.1  = 990 131315 − = 990 1302 = 495 651 3. 3410.3  = 9900 31031043 − = 9900 30733 แบบฝกหัดที่ 2
  • 30. 24 1. จงเปลี่ยนเศษสวนตอไปนี้ใหเปนทศนิยม โดยการทําสวนใหเปน 10 , 100 ,1,000, ....... 1) 4 9 2) 4 3 1 ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ 3) 40 39 4) 25 7 ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ 5) 8 1 6) 125 8 ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ 2. จงเปลี่ยนเศษสวนตอไปนี้เปนทศนิยม โดยการหารเศษสวน 1) 11 9 2) 7 1 3 ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ 3) 16 7 4) 4 5 ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ 5) 6 5 6) 5 3 8 ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ เรื่องที่ 3 การเปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยม 3.1 การเปรียบเทียบเศษสวน
  • 31. 25 เศษสวนที่เทากัน การหาเศษสวนที่เทากัน ใชจํานวนที่ไมเทากับศูนยมาคูณหรือหารทั้งตัวเศษและ ตัวสวน เชน 4 3 = 24 23 × × = 8 6 4 3 = 8 6 = 12 9 เปนเศษสวนที่เทากัน 4 3 = 34 33 × × = 12 9 18 12 = 218 212 ÷ ÷ = 9 6 3 2 9 6 18 12 == เปนเศษสวนที่เทากัน 18 12 = 618 612 ÷ ÷ = 3 2 เศษสวนที่ไมเทากัน การเปรียบเทียบเศษสวนที่ไมเทากันตองทําสวนใหเทากัน โดยนํา ค.ร.น. ของตัว สวนของเศษสวนที่ตองการเปรียบเทียบกัน คูณทั้งตัวเศษและตัวสวน เมื่อตัวสวนเทากันแลวใหนํา ตัวเศษมาเปรียบเทียบกัน เชน 5 4 มากกวาหรือนอยกวา 10 7 ค.ร.น. ของ 5 และ 10 คือ 10 5 4 = 25 24 × × = 10 8 จะเห็นวา 8 > 7 ดังนั้น 10 7 10 8 > หรือ 10 7 5 4 > ยังมีวิธีเปรียบเทียบโดยใชผลคูณไขว ถาผลคูณขางใดมีคามากกวา เศษสวนขางนั้น จะมีคามากกวา เชน 5 4 10 7 เปรียบเทียบ 104× กับ 75× จะเห็นวา 3540 > ดังนั้น 10 7 5 4 > ตัวอยางที่ 1 จงเปรียบเทียบ 12 7 และ 18 11
  • 32. 26 วิธีที่ 1 หา ค.ร.น. ของ 12 และ 18 ได 36 ทําสวนของเศษสวนทั้งสองใหเปน 36 312 37 × × = 36 21 218 211 × × = 36 22 จะได 36 22 > 36 21 ดังนั้น 18 11 > 12 7 วิธีที่ 2 12 7 18 11 ผลจากการคูณไขว จะได 7 × 18 และ 12 × 11 จะเห็นวา 126 < 132 ดังนั้น 12 7 < 18 11 2.1 เปรียบเทียบทศนิยม การเปรียบเทียบทศนิยมที่เปนบวก ใหพิจารณาเลขโดดจากซายไปขวา ถาเลขโดด ตัวใดมีคามากกวาทศนิยม จํานวนนั้นจะมีคามากกวา เชน 38.586 กับ 38.498 ทศนิยมใน ตําแหนงที่ 1 ของทั้ง 2 จํานวนมีเลขโดดคือ 5 และ 4 ตามลําดับ จะเห็นไดวา 5 มากกวา 4 ดังนั้น 38.586 มากกวา 38.498 การเปรียบเทียบทศนิยมที่เปนลบ เชน -0.7 กับ -0.8 คาสัมบูรณของ -0.7 เทากับ 0.7 คาสัมบูรณของ -0.8 เทากับ 0.8 จํานวนที่มีคาสัมบูรณนอยกวาจะเปนจํานวนที่มีคามากกวา ดังนั้น - 0.7 มากกวา - 0.8 แบบฝกหัดที่ 3 1. ใหเติมตัวเศษหรือตัวสวนของเศษสวนลงใน เพื่อใหไดเศษสวนที่เทากัน
  • 33. 27 2. ใหเติมเครื่องหมาย > , < หรือ = ลงใน ใหถูกตอง 3. ใหนักศึกษาเติมเครื่องหมาย > , < หรือ = ระหวางจํานวนสองจํานวน 1) -0.500 ..............0.501 2) 103.012 ...................... – 0.501 3) 5.28 .................... 5.82 4) – 5.28 .......................... -5.28
  • 34. 28 5) 8.354 ................. 8.534 6) -8.544 ........................... -8.534 7) -13.06 ................. 13.06 8) 103.012 ....................... -103.012 9) -5.125 .................. -5.1250 10) -7.10 ......................... -7.01 4. ใหนักศึกษาเรียงลําดับจํานวนตอไปนี้จากคานอยไปคามาก 1) -1.724, -1.738, 0.832, -2.000 2) -30.710, -31.170, -31.107, 30.017 3) 83.000, -38.000, -83.001, -138.500 4) -34.50, -37.40, -41.54, -39.62, -42.50 เรื่องที่ 4 การบวก ลบ คูณ หารเศษสวนและทศนิยม 4.1 การบวกเศษสวน วิธีการหาผลบวกของเศษสวน สามารถทําไดดังนี้
  • 35. 29 1) หา ค.ร.น.ของตัวสวน 2) ทําเศษสวนแตละจํานวนใหมีตัวสวนเทากับ ค.ร.น.ที่หาไดจากขอ 1 3) บวกตัวเศษเขาดวยกันโดยที่ตัวสวนยังคงเทาเดิม ตัวอยางที่ 1 จงหาผลบวก วิธีทํา ค.ร.น. ของ 3 กับ 4 คือ 12 = 12 9 12 4 + ตอบ 4.2 การลบเศษสวน การลบเศษสวน ใชหลักการเดียวกันกับการลบจํานวนเต็ม คือ ตัวอยางที่ 1 จงหาผลลบ วิธีทํา ค.ร.น. ของ 6 และ 12 คือ 12 = =       × × +      × × 112 17 26 25 = = 12 7 12 10 + ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ
  • 37. 31 1. ใหหาผลลัพธตอไปนี้ 2. ใหเติมจํานวนลงใน แลวทําใหประโยคเปนจริง 3. ใหหาจํานวนมาเติมลงใน แลวทําใหประโยคเปนจริง 4. ใหหาผลลัพธตอไปนี้
  • 39. 33 ผลคูณของเศษสวนสองจํานวน คือ เศษสวนซึ่งมีตัวเศษเทากับผลคูณของตัวเศษสอง จํานวนและตัวสวนเทากับผลคูณของตัวสวนสองจํานวนนั้น เมื่อ b a และ d c เปนเศษสวน ซึ่ง b , d 0 ผลคูณของ b a และ d c หาไดจากกฎ b a × d c = db ca × × ตัวอยางที่ 1 จงหาผลคูณของจํานวน วิธีทํา = = ตอบ ตัวอยางที่ 2 จงหาผลคูณของ 101 25 5 2 2 1 ×× วิธีทํา 101 5 1 1 1 1 ×× = 10111 511 ×× ×× = 101 5 ตอบ 101 5 แบบฝกหัดที่ 5
  • 40. 34 จงหาผลคูณตอไปนี้ 1) 5 1 1 3 1 2 × 2) 9 5 5 1 1 × 3) 9 1 1 11 2 5 × 4) 10 7 3 2 16 × 5) 5 2 1 3 2 2 16 5 ×× 6) 6 1 4 3 3 2 6 ×× 7) 18 35 25 24 49 15 ×× 8) 22 10 25 11 27 10 25 24 ××× 4.6 การหารเศษสวน
  • 42. 36 1. จงหาผลลัพธตอไปนี้ 2. จงทําใหเปนผลสําเร็จ 4.7 การนําความรูเรื่องเศษสวนไปใชในการแกโจทยปญหา
  • 43. 37 โจทยปญหาเศษสวน การทําโจทยปญหาเศษสวน ควรกําหนดจํานวนทั้งหมดเปน 1 หนวย แลวดําเนินการตาม โจทย เชน นักเรียนหองหนึ่ง เปนชาย 5 3 ของจํานวนนักเรียนในหอง ดังนั้น หองนี้เปนนักเรียนหญิง 1 - 5 3 = 5 2 ของจํานวนนักเรียนในหอง ตัวอยางที่ 1 ถังใบหนึ่งจุน้ํา 140 ลิตร มีน้ําอยู 4 3 ถัง หลังจากใชน้ําไปจํานวนหนึ่งจะ เหลือน้ําอยู 2 1 ถัง จงหาวาใชน้ําไปเทาไหร วิธีทํา มีน้ําในถัง 4 3 × 140 = 105 ลิตร หลังจากใชน้ําเหลือน้ําในถัง × 2 1 140 = 70 ลิตร ดังนั้นใชน้ําไปจํานวน 70105 − = 35 ลิตร แบบฝกหัดที่ 7
  • 44. 38 1. ใหหาคําตอบของโจทยปญหาตอไปนี้ 1) ตองมีเงิน 320 บาท ซื้อรองเทา 5 2 ของเงินทั้งหมด ซื้อเสื้อ 16 5 ของเงินที่เหลือ จง หาวาตองเหลือเงินเทาไร 2) หองประชุมหองหนึ่งมีความยาวเปน 4 3 3 ของความกวาง และความกวางเปน 5 2 4 ของ ความสูง ถาหองสูง 2 1 3 เมตร และมีนักเรียน 462 คน จงหาวา โดยเฉลี่ยนักเรียนคนหนึ่งมีอากาศ หายใจกี่ลูกบาศกเมตร 3) จางคนปลูกหญาบนสนามรูปสี่เหลี่ยมผืนผากวาง 5 4 6 เมตร ยาว 2 1 10 เมตร ใน ราคาตารางเมตรละ 45 บาท จะตองจายเงินทั้งหมดเทาไร 4) โทรทัศนเครื่องหนึ่งประกาศลดราคาลง 4 1 ของราคาที่ปดไวเดิม แตผูซื้อเปนเพื่อน กับผูขายลดใหอีก 5 1 ของราคาที่ประกาศลดแลวในครั้งแรก ซึ่งปรากฏวาผูซื้อจายไป 4,200 บาท จงหาวาโทรทัศนเครื่องนี้ปดราคาเดิมไวเทาไร 5) ในการเดินทางครั้งหนึ่งเสียคาที่พัก 5 2 ของคาใชจายทั้งหมด คาเดินทาง 4 1 ของ คาใชจายทั้งหมด คาใชจายอื่น ๆ คิดเปนเงิน 1,470 บาท จงหาวาคาใชจายทั้งหมดเปนเงินเทาไร
  • 45. 39 4.8 การบวก และการลบทศนิยม การหาผลบวกของทศนิยมใดๆ จะใชหลักเกณฑดังนี้ 1. การหาผลบวกระหวางทศนิยมที่เปนบวก ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปน จํานวนบวก 2. การหาผลบวกระหวางทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันแลวตอบเปน จํานวนลบ 3. การหาผลบวกระหวางทศนิยมที่เปนบวกกับทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาลบ กันแลวตอบเปนจํานวนบวกหรือจํานวนลบตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา การหาผลลบของทศนิยมใด ๆ ใชขอตกลงเดียวกันกับที่ใชในการหาผลลบของจํานวน เต็ม คือ สรุป การบวกและการลบทศนิยม จะตองตั้งใหจุดทศนิยมตรงกันกอน แลวจึงบวก ลบ จํานวนในแตละหลัก ถาจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน นิยมเติมศูนยขางทายเพื่อให จํานวนตําแหนงทศนิยมเทากัน ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ
  • 47. 41 4.9 การคูณทศนิยม การคูณทศนิยม มีหลักเกณฑดังนี้ 1. การหาผลคูณระหวางทศนิยมที่เปนบวก ใหนําคาสัมบูรณมาคูณกันแลวตอบเปน จํานวนบวก 2. การหาผลคูณระหวางทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาคูณกันแลวตอบเปน จํานวนบวก 3. การหาผลคูณระหวางทศนิยมที่เปนบวกกับทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาคูณ กันแลวตอบเปนจํานวนลบ หมายเหตุ ผลคูณทศนิยม จะมีจํานวนหลักทศนิยมเทากับผลบวกของจํานวนหลัก ทศนิยมของตัวตั้งและจํานวนหลักทศนิยมของตัวคูณ ตัวอยางที่ 1 จงหาผลคูณของ 1. 1.25 ×2.431 1.25 ×2.431 = 2.431 × 1.25 2.431 12155 125 4862 303875 0 2431 0 ∴ 1.25 ×2.431 = 3.03875 2. -5.12 × 0.125 512 2560 125 1024 64000 0 512 0 ∴-5.12 × 0.125 = - 0.64000 = -0.64 × ×
  • 48. 42 4.10 การหารทศนิยม การหารทศนิยม มีหลักเกณฑดังนี้ 1. การหาผลหารระหวางทศนิยมที่เปนบวก ใหนําคาสัมบูรณมาหารกันแลวตอบเปน จํานวนบวก 2. การหาผลหารระหวางทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาหารกันแลวตอบเปน จํานวนบวก 3. การหาผลหารระหวางทศนิยมที่เปนบวกกับทศนิยมที่เปนลบ ใหนําคาสัมบูรณมาหาร กันแลวตอบเปนจํานวนลบ ขอสําคัญตองทําใหตัวหารเปนจํานวนเต็ม ตัวอยางที่ 1 จงหาคาของ 1. 15.015 ÷(-0.15) วิธีทํา 15.015 ÷(-0.15) = 15.0 015.15 − = 10015.0 100015.15 ×− × = 15 5.1501 − 1.100 15 5.150115 00 0 01 0 15 15 ∴15.015 ÷(-0.15) = -100.1 2. (-37.65) ÷ (-1.5) วิธีทํา (-37.65) ÷ (-1.5) = 5.1 65.37 − − = 105.1 1065.37 × × = 15 5.376 1.125 30 5.37615 76 75 15 15 ∴(-37.65) ÷ (-1.5) = 25.1
  • 49. 43 แบบฝกหัดที่ 9 1. จงหาคาของ 2. จงหาคาของ 1) {(-12.4) ×33.6} +{(-12.4 × 66.4) ………………………………………………………………………………………………... 2) {(-3.145) × 2.76} + {(-27.39) ÷18.26} ………………………………………………………………………………………………... 3) (-14.307 – 2.809) + (6.78 ÷1.5) ………………………………………………………………………………………………... 4) {(0.036 ÷0.15) + (-4.07 ×1.1)} ของ (-5.8) ………………………………………………………………………………………………... 5) (-1.58 ÷0.15) – [ 2×(-3.6)] ………………………………………………………………………………………………...
  • 50. 44 4.11 การนําความรูเรื่องทศนิยมไปใชในการแกโจทยปญหา ตัวอยางที่ 1 เหล็กเสนกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.75 เซนติเมตร ยาว 1 เมตร จะ หนัก 3.862 กิโลกรัม ถาเหล็กเสนขนาดเดียวกันนี้ยาว 1.25 เมตร จะหนักกี่กิโลกรัม วิธีทํา เหล็กเสนกลมมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.75 เซนติเมตร และยาว 100 เซนติเมตร หนัก 3.862 กิโลกรัม ถายาว 1 เซนติเมตร หนัก 03862.0 100 862.3 = กิโลกรัม ดังนั้น เหล็กเสนขนาดเดิมแตยาว 125 เซนติเมตร หนัก 12503862.0 × = 8275.4 กิโลกรัม เหล็กเสนขนาดเดิมยาว 25.1 เมตร หนัก 8275.4 กิโลกรัม ตัวอยางที่ 2 รูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปหนึ่งมีพื้นที่ 11.3364 ตารางเซนติเมตร ถาดานยาว เทากับ 4.23 เซนติเมตร ดานยาวยาวกวาดานกวางเทาไร วิธีทํา พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว 11.3364 = กวาง × 4.23 ดังนั้น กวาง = 23.4 3364.11 = 68.2 เซนติเมตร ดานยาวยาวกวาดานขาง = 68.223.4 − = 55.1 เซนติเมตร ดานยาวยาวกวาดานกวาง = 55.1 เซนติเมตร
  • 51. 45 แบบฝกหัดที่ 10 1. ใหนักศึกษาแกปญหาโจทยตอไปนี้ 1) เชือกยาว 17.25 เมตร นําอีกเสนหนึ่งยาว 5.2 เมตร มาผูกตอกันทําใหเสียเชือกตรง รอยตอ 0.15 เมตร นําเชือกที่ตอแลวมาวางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ใหดานกวางยาวดานละ 1.5 เมตร ดานยาวจะยาวดานละกี่เมตร ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………… 2. น้ําตาลถุงหนึ่งหนัก 9.35 กิโลกรัม จํานวน 16 ถุง ใชทําขนมเฉลี่ยแลววันละ 4.4 กิโลกรัม จะใชน้ําตาลไดทั้งหมดกี่วัน ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………… 3. หองรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 4.8 เมตร ยาว 9.6 เมตร นํากระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 32 ตารางเซนติเมตร มาปูหองจะตองใชกระเบื้องกี่แผน ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………… 4. มีทองคําแทงหนึ่งหนัก 12.04 กรัม ซื้อเพิ่มอีก 25.22 กรัม แบงขายไปสองครั้ง หนักครั้งละ 8.02 กรัม ที่เหลือนําไปทําแหวน 5 วง หนักวงละ 3.45 กรัมเทาๆ กัน จะเหลือทองอีกกี่กรัม ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………
  • 52. 46 บทที่ 3 เลขยกกําลัง สาระสําคัญ สัญลักษณของการเขียนแทนการคูณจํานวนเดียวกันซ้ํา ๆ หลาย ๆ ครั้ง เขียนแทนดวย n a อานวา a ยกกําลัง n และการเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. บอกความหมายและเขียนเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มแทนจํานวนที่ กําหนดใหได 2. บอกและนําเลขยกกําลังมาใชในการเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได 3. อธิบายการคูณและหารของเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมายและการเขียนเลขยกกําลัง เรื่องที่ 2 การเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร เรื่องที่ 3 การคูณและการหารเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
  • 53. 47 เรื่องที่ 1 ความหมายและการเขียนเลขยกกําลัง เลขยกกําลัง หมายถึง การใชสัญลักษณ เขียนแทนจํานวนที่เกิดขึ้นจากการคูณ ซ้ําๆ กัน หลายๆ ครั้ง เชน 3333 ××× สามารถเขียนแทนไดดวย 4 3 อานวา สามยกกําลังสี่ ซึ่งมีบทนิยาม ดังนี้ บทนิยาม n a ถา a แทนจํานวนใด ๆ และ n แทนจํานวนเต็มบวก “a ยกกําลัง n” หรือ “a กําลัง n” เขียนแทนดวย =    n aaaa ×××× ...... เรียก n a วาเลขยกกําลังที่มี a เปนฐานและ n เปนเลขชี้กําลัง เชน 5 4 แทน 4 × 4 × 4 × 4 × 4 5 4 มี 4 เปนฐาน และมี 5 เปนเลขชี้กําลัง สัญลักษณ 5 4 อานวา “สี่ยกกําลังหา” หรือ “สี่กําลังหา” หรือกําลังหาของสี่ ( )6 2− แทน ( )2− × ( )2− × ( )2− × ( )2− × ( )2− × ( )2− ( )6 2− มี ( )2− เปนฐาน และมี 6 เปนเลขชี้กําลัง ในทํานองเดียวกันสัญลักษณ ( )6 2− อานวา “ลบสองทั้งหมดยกกําลังหก” หรือกําลัง หกของลบสอง จงพิจารณาตารางตอไปนี้ เลขยกกําลัง ฐาน เลขชี้กําลัง เขียนในรูปของการคูณ แทนจํานวน 3 3 3 3 3×3×3 27 5 4 4 5 4×4×4×4×4 1,024 ( )4 2− -2 4 (-2) ×(-2) ×(-2) ×(-2) 16 2 2 1       2 1 2 2 1 × 2 1 4 1 y x x y X×X×X…(y ครั้ง) X×X×X…(y ครั้ง) ตัวอยาง จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. 3 8 อานวาอยางไร 2. 3 10 มีจํานวนใดเปนฐาน 3. 5 11 มีจํานวนใดเปนเลขชี้กําลัง 4. 3 5 มีความหมายอยางไร 5. ( )5 5− อานวาอยางไร วิธีทํา 1. 3 8 อานวา 8 ยกกําลัง 3 2. 3 10 มี 10 เปนฐาน 3. 5 11 มี 5 เปนเลขชี้กําลัง 4. 3 5 มีความหมายเทากับ 5 ×5×5 5. ( )5 5− อานวา (-5) ลบหาทั้งหมดยกกําลังหา
  • 54. 48 แบบฝกหัดที่ 1 1. จงเขียนจํานวนตอไปนี้ในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 พรอมทั้ง บอกฐานและเลขชี้กําลัง 1.1 25 = ……………………………….=………………………….. มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง 1.2 64 = ……………………………….=………………………….. มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง 1.3 169 = ……………………………….=………………………….. มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง 1.4 729 = ……………………………….=………………………….. มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง 1.5 -32 = ……………………………….=………………………….. มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง 1.6 -243 = ……………………………….=………………………….. มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง 1.7 0.125 = ……………………………….=………………………….. มี = ………………………….เปนฐานและ.................................เปนเลขชี้กําลัง 2. จงเขียนจํานวนที่แทนดวยสัญลักษณตอไปนี้ 2.1 8 2 =…………………………………=……………………………… 2.2 ( )4 3− =…………………………………=……………………………… 2.3 ( )5 3.0 =…………………………………=……………………………… 2.4 ( )6 02.0 =…………………………………=……………………………… 2.5 3 3 1       =…………………………………=……………………………… 2.6 3 7 2       =…………………………………=……………………………… 2.7 ( )4 5− =…………………………………=……………………………… 2.8 3 2− =…………………………………=……………………………… 2.9 5 10 1       =…………………………………=……………………………… 2.10 ( )6 5.0 =…………………………………=………………………………
  • 55. 49 เรื่องที่ 2 การเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร การเขียนจํานวนที่มีคามาก ๆ ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร มีรูปทั่วไปเปน A × n 10 เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม พิจารณาการเขียนจํานวนที่มีคามาก ๆ ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรตอไปนี้ 1. 2,000 = 2 × 1,000 = 2 × 3 10 2. 800,000 = 8 × 100,000 = 8 × 5 10 ตัวอยางที่ 1 จงเขียน 600,000,000 ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร วิธีทํา 600,000,000 = 6 × 100,000,000 = 6 × 8 10 ตอบ 6 × 8 10 ตัวอยางที่ 2 จงเขียน 73,200,000 ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร วิธีทํา 73,200,000 = 732 × 100,000 = 7.32 × 100 × 100,000 = 7.32 × 2 10 × 5 10 = 7.32 × 7 10 ตัวอยางที่ 3 ดาวเสารมีเสนผานศูนยกลางยาวประมาณ 113,000,000 เมตร จงเขียนใหอยูใน รูปสัญกรณวิทยาศาสตร วิธีทํา ดาวเสารมีเสนผานศูนยกลางยาวประมาณ 113,000,000 เมตร 113,000,000 = 113 × 1,000,000 = 113 × 100 × 1,000,000 = 1.13 × 2 10 × 6 10 = 1.13 × 8 10 ตอบ 1.13 × 8 10 เมตร
  • 56. 50 แบบฝกหัดที่ 2 1. จงเขียนจํานวนตอไปนี้ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร 1. 400,000 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 2. 23,000,000,000 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 3. 639,000,000 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 4. 247,500,000 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 2. ดาวเสารอยูหางจากดวงอาทิตยประมาณ1,430,000,000 กิโลเมตร จงเขียนใหอยูในรูปสัญกรณ วิทยาศาสตร 1,430,000,000 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 3. สัญกรณวิทยาศาสตรในแตละขอตอไปนี้แทนจํานวนใด 3.1 2 × 6 10 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 3.2 4.8 × 13 10 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 3.3 4.03 × 9 10 =……………………………………………………………… =……………………………………………………………… 3.4 9.125 × 5 10 =……………………………………………………………… =………………………………………………………………
  • 57. 51 3. การคูณและการหารเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกัน และเปนเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม 3.1 การคูณเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม พิจารณาการคูณเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกันตอไปนี้ 3 2 × 4 2 = ( ) ( )2222222 ×××××× = 2 × 2 × 2 × 2 ×2 × 2 × 2 = 7 2 หรือ 43 2 + 32 33 × = ( ) ( )33333 ×××× = 3 × 3 × 3 × 3 ×3 = 5 3 หรือ 32 3 + 23 3 1 3 1       ×      =             ×      ×             ×      ×      3 1 3 1 3 1 3 1 3 1 =       ×      ×      ×      ×      3 1 3 1 3 1 3 1 3 1 = 5 3 1       หรือ 23 3 1 +      การคูณเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกันและมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวกเปนไป ตามสมบัติของการคูณเลขยกกําลังดังนี้ เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ m และ n แทนจํานวนเต็มบวก nm aa × = nm a +
  • 58. 52 แบบฝกหัดที่ 3 1. จงเขียนจํานวนที่แทนดวยสัญลักษณตอไปนี้ 1.1 65 22 × =……………………………=………………………………… 1.2 25 32 × =……………………………=………………………………… 1.3 ( )3 32× =……………………………=………………………………… 1.4 ( )2 75.0 =……………………………=………………………………… 1.5 2 2 3 3 1 ×      − =……………………………=………………………………… 1.6 ( )3 23×− =……………………………=………………………………… 1.7 43 2 5 5 2       ×      =……………………………=………………………………… 1.8 56 2 7 7 1       ×      =……………………………=………………………………… 1.9 ( ) 4 3 2 1 5.0       =……………………………=………………………………… 1.10 ( ) ( )32 1111 −− =……………………………=………………………………… 2. จงเขียนผลคูณของจํานวนในแตละขอตอไปนี้ในรูปเลขยกกําลัง 2.1 732 222 ×× =……………………………=………………………………… 2.2 ( ) ( ) ( )53 333 −×−×− =……………………………=……………………………… 2.3 5 × 625 × 2 5 =……………………………=………………………………… 2.4 121 × 11 × 2 11 =……………………………=………………………………… 2.5 ( ) ( ) ( )734 333 −×−×− =……………………………=………………………………
  • 59. 53 การหารเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกันและฐานไมเทากับศูนยมีเลขชี้กําลังเปน จํานวนเต็มบวกในรูปของ 3.2 การหารเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม m a ÷ n a จะพิจารณาเปน 3 กรณี คือ เมื่อ m > n , m = n และ m < n ดังนี้ กรณีที่ 1 m a ÷ n a เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย m,n แทนจํานวนเต็มบวก และ m > n พิจารณาการหารเลขยกกําลังตอไปนี้ 1. 2 5 2 2 = 22 22222 × ×××× = 222 ×× = 3 2 หรือ 25 2 − 2. 7 5 3 3 = 33333 3333333 ×××× ×××××× = 2 3 หรือ 57 3 − 3. ( ) ( )3 8 5 5 − − = ( )( )( )( )( )( )( )( ) ( )( )( )555 55555555 −−− −−−−−−−− = ( )( )( )( )( )55555 −−−−− = ( )5 5− หรือ ( ) 38 5 − − จากการหารเลขยกกําลังขางตนจะเห็นวา ผลหารเปนเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดิม และเลขชี้กําลังเทากับเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ลบดวยเลขชี้กําลังของตัวหาร ซึ่งเปนไปตามสมบัติของ การหารเลขยกกําลังดังนี้ เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย m , n แทนจํานวนเต็มบวก และ m > n nm aa ÷ = nm a −