SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
ความนาจะเปน
(40 ชั่วโมง)
ตามประวัติศาสตร การหาความนาจะเปนเริ่มมาจากปญหาการไดเปรียบเสีย
เปรียบในการพนัน การศึกษาเรื่องนี้จะชวยใหผูเรียนสามารถคาดเหตุการณลวงหนาไดอยางมี
หลักเกณฑ ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจไดอยางมาก ซึ่งบทนี้จะกลาวถึงกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยว
กับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม ความนาจะเปน และกฎที่สําคัญบาง
ประการของความนาจะเปน
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. แกโจทยปญหาโดยใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู
2. นําความรูเรื่องทฤษฎีบททวินามไปใชได
3. หาความนาจะเปนของเหตุการณที่กําหนดใหได
ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
ทางดานความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทาง
คณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้น
กิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร
ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ
มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
115
ขอเสนอแนะ
1. ในการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับหาคําตอบของโจทยปญหานั้น ควร
อานโจทยปญหาใหเขาใจวาในปญหานั้นกําหนดเงื่อนไขอะไรบาง การพิจารณาเงื่อนไขของ
ปญหาจะชวยใหสามารถกําหนดขั้นตอนในการแกปญหา ซึ่งจะชวยใหสามารถหาคําตอบได
งายขึ้น ลองพิจารณาตัวอยางตอไปนี้
ปญหาที่ 1 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักโดยที่ตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากันไดทั้งสิ้นกี่จํานวน
วิธีคิด จากโจทยปญหาไดกําหนดเงื่อนไข 3 ขอ คือ
1) ใหใชตัวเลขโดดได 6 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4 และ 5
2) จํานวนที่ตองการ เปนจํานวนที่มีสามหลัก
3) ตัวเลขในแตละหลักของแตละจํานวนที่ตองการ ตองไมซ้ํากัน
จากเงื่อนไขทั้งสามขอนี้ตองนํามาพิจารณาประกอบการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับ
การนับ เพื่อหาวาจะเขียนจํานวนที่ตองการไดกี่จํานวน สําหรับปญหานี้ตองพิจารณาวิธีที่จะ
เขียนตัวเลขในหลักตาง ๆ คือ หลักหนวย หลักสิบ และหลักรอย เนื่องจากการเขียนจํานวน
ที่มีสามหลักนั้น หลักรอยตองไมใชตัวเลข 0 สวนหลักอื่น ๆ นั้นจะใชตัวเลขใดก็ไดใน 6 ตัว
ที่กําหนด การเริ่มแกปญหาจึงควรเริ่มดวยการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอย
เพราะมีขอจํากัดมากกวาหลักอื่น ๆ ดังนั้น วิธีหาคําตอบปญหาจึงอาจเปนดังนี้
วิธีที่ 1 เขียนตัวเลขในหลักรอยไดตาง ๆ กัน 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 4 วิธี
ดังนั้น จากกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ จํานวนที่มีสามหลักที่เขียนโดยใช
ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมีทั้งสิ้น 5 × 5 × 4 = 100
จํานวน
วิธีหาคําตอบขางตนเปนเพียงวิธีหนึ่งเทานั้น อาจหาคําตอบโดยวิธีอื่น ๆ ก็ได
เชน การพิจารณาโดยเริ่มจากการเขียนหลักหนวยกอน แตเนื่องจากจะมีปญหาวา
เหลือ 0 อยูหรือไม จึงแยกกรณีพิจารณาดังตอไปนี้
วิธีที่ 2 ถาเริ่มเขียนตัวเลขในหลักหนวยกอน แยกกรณีพิจารณาไดดังนี้
116
(1) หาจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
ดังนั้น จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย และใชตัวเลข
0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได 5 × 4 = 20 จํานวน
(2) หาจํานวนสามหลักที่มี 0 อยูในหลักสิบ
ในทํานองเดียวกับขอ (1) จะไดวาจํานวนสามหลักในขอนี้มีทั้งหมด 20 จํานวน
(3) หาจํานวนสามหลักที่ไมมี 0 ปรากฏอยูเลย
จะไดทั้งหมด 5 × 4 × 3 = 60 จํานวน
จาก (1), (2) และ (3) จํานวนสามหลักที่ไดจากการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5
เขียนโดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งสิ้น 20 + 20 + 60 = 100 จํานวน
ปญหาที่ 2 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่
และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน
วิธีคิด เงื่อนไขของปญหานี้เหมือนของปญหาที่ 1 แตเพิ่มเงื่อนไขอีกหนึ่งขอ คือ จํานวน
ที่ตองการตองเปนจํานวนคี่ เงื่อนไขนี้มีผลตอจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย
ถาเริ่มหาคําตอบโดยพิจารณาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอยกอนเชนเดียว
กับการพิจารณาการเขียนตัวเลขในหลักหนวยวาทําไดกี่วิธีจะมีปญหา เพราะใน 5 วิธี
ที่เขียนตัวเลขในหลักรอยนั้นมี 3 วิธี ที่ใช 1, 3 และ 5 ไปแลว ทําใหมีผลตอจํานวน
วิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยซึ่งใชตัวเลขที่กําหนดใหไดเพียง 3 ตัว คือ 1, 3 และ 5
เทานั้น ยิ่งถาพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบตอจากการพิจารณาจํานวน
วิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยจะทําใหการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย
มีปญหามากขึ้น
วิธีหาคําตอบของปญหานี้จึงควรพิจารณาวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยเสียกอน
แลวพิจารณาจํานวนวิธีการเขียนตัวเลขในหลักรอย จากนั้นจึงไปพิจารณาจํานวน
วิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบเปนอันดับสุดทาย
วิธีทํา เขียนตัวเลขในหลักหนวยไดตาง ๆ กัน 3 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
117
ดังนั้น ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่
และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 4 × 4 × 3 = 48 จํานวน
ปญหาที่ 3 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและ
ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน
วิธีคิด ปญหาที่ 3 นี้ มีเงื่อนไขเพิ่มจากปญหาที่ 1 อีกหนึ่งขอคือ จํานวนที่ตองการเปน
จํานวนคู ถาพิจารณาไมรอบคอบอาจจะสรุปวาใชวิธีการในทํานองเดียวกับที่ใชใน
การหาคําตอบปญหาที่ 2 คือ พิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย หลักรอย
และหลักสิบ ตามลําดับ แตวิธีดังกลาวมีปญหาเพราะตัวเลขที่อาจใชในหลักหนวยมี
3 ตัว คือ 0, 2 และ 4 การที่ 0 อาจถูกใชหรือไมถูกใชในการเขียนตัวเลขหลักหนวย
มีผลตอการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอย การหาคําตอบจึงอาจทําได
โดยการแยกกรณีพิจารณา เมื่อใช 0 เปนหลักหนวย และเมื่อไมไดใช 0 เปน
หลักหนวย ดังนี้
วิธีทํา แยกกรณีและพิจารณาดังนี้
1. เมื่อใชตัวเลขในหลักหนวยเปน 0
เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนสามที่มีหลักที่หลักหนวยเปน 0 ที่เขียนโดยใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4
และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมี 5 × 4 = 20 จํานวน
2. เมื่อตัวเลขในหลักหนวยไมใช 0
เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูที่หลักหนวยไมเปน 0 และเขียนโดย
ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มี
4 × 4 × 2 = 32 จํานวน
ดังนั้นการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู
โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 20 + 32 = 52 จํานวน
118
หมายเหตุ 1. ถาปญหาที่ 1, 2 และ 3 เปนปญหาที่ถามตอเนื่องกันแลว การหาคําตอบ
ปญหาที่ 3 อาจใชคําตอบปญหาที่ 1 และ 2 ชวย โดยใชคําตอบปญหาที่ 2 ลบออกจากคําตอบ
ปญหาที่ 1 ก็ได
2. ในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธี บางกรณีก็ใชเฉพาะการคูณ
บางกรณีก็ใชการบวก ซึ่งผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจถึงลักษณะของโจทยที่จะตองใช
การคูณหรือการบวก การกระทําใด ๆ ที่ยังไมสิ้นสุดการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํา
นั้น ๆ เราใชการคูณ แตถาการกระทําใด ๆ สามารถแยกไดเปนหลายกรณีและแตละกรณีสิ้นสุด
ลงแลว ในการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํานั้นเราใชการบวกจํานวนวิธีในแตละกรณี
เขาดวยกัน ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขางตนที่ใหหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู เราแยก
เปนจํานวนคูที่ลงทายดวย 0 ซึ่งมี 20 จํานวน ซึ่งการคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้สิ้นสุดลงแลว
และจํานวนคูที่ไมลงทายดวย 0 ซึ่งมี 32 จํานวน การคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้ก็สิ้นสุด
ลงแลวเชนกัน ดังนั้น เมื่อเราตองการทราบวาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูมีกี่จํานวน
เราจึงนําจํานวนวิธีที่หาไดในแตละกรณีมาบวกกัน กลาวคือ มี 20 + 32 = 52 จํานวน และ
จะเห็นวา ในการคํานวณหาจํานวนคูดังกลาวในแตละกรณีนั้น แตละตอนเปนการกระทําที่
ตอเนื่องกัน เราจึงใชวิธีคูณดังไดกลาวแลวในกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ หลักการที่
กลาวมานี้สามารถนําไปใชกับการคํานวณหาจํานวนวิธีทั้งหมดในวิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธี
จัดหมูไดเชนเดียวกัน
3. ในการแกโจทยปญหา ผูเรียนมักจะพบปญหาวา โจทยขอนี้เปนเรื่อง
เกี่ยวกับวิธีเรียงสับเปลี่ยนหรือวิธีจัดหมูที่เปนดังนี้อาจเปนเพราะผูเรียนไมเขาใจวาวิธีเรียง
สับเปลี่ยนและวิธีจัดหมูนั้นมีความหมายตางกันอยางไร ผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจวา
วิธีเรียงสับเปลี่ยนนั้นจะเกี่ยวของกับตําแหนงที่หรืออันดับที่ สวนวิธีจัดหมูนั้นไมเกี่ยวกับ
ตําแหนงที่หรืออันดับ เชน
1) มีจุด 4 จุด บนเสนรอบวงของวงกลมวงหนึ่งจะลากสวนของเสนตรง
ผานจุด 2 จุดไดทั้งหมดกี่เสน
จะเห็นวา สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 2 และ
สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 2 ไปยังจุดที่ 1 เปนสวนของเสนตรงเดียวกัน จึงไมตองคํานึง
ถึงอันดับใดกอนหลัง การทําโจทยประเภทนี้เปนวิธีจัดหมู
ดังนั้น จะมีสวนของเสนตรง 4
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 4!
2!2!
= 6 เสน
119
2) จากตัวอักษรในคําวา MONDAY ถาตองการนําอักษร 3 ตัว
จากคํานี้มาเรียงเปนคําใหมโดยไมคํานึงถึงความหมายจะจัดไดทั้งหมดกี่คํา
จะเห็นวา ตําแหนงที่ตางกันของอักษรทั้ง 3 ตัวที่จัดนั้นทําใหเกิดคําใหม
เสมอ จึงถือวาตําแหนงที่หรืออันดับที่ทําใหผลที่เกิดขึ้นตางกัน โจทยขอนี้จึงเปนวิธีเรียงสับเปลี่ยน
ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได P6, 3 = 6 × 5 × 4 = 120 คํา
หรืออาจจะคิดไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้
มีอักษรทั้งหมด 6 ตัว เลือกมาทีละ 3 ตัว แลวนํา 3 ตัวนี้มาจัดเรียง
สับเปลี่ยนอีกครั้งหนึ่ง จํานวนวิธีเลือกทั้งหมดมี C6, 3 วิธี ในแตละวิธีของการเลือกนํามา
จัดเรียงสับเปลี่ยนได 3! วิธี
ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได C6, 3 × 3! = 120 คํา
และในกรณีทั่วไปจะพบวา cn,r × r! = Pn, r
4. ในการพิจารณาปญหาเกี่ยวกับจํานวนวิธีในการจัดเรียงตัวอักษรหรือตัวเลข
มักจะมีปญหาวาจะจัดตัวอักษรหรือตัวเลขเหลานั้นซ้ํากันไดหรือไมในกรณีที่โจทยปญหานั้น
ไมบงไวอยางแนชัด ปญหาดังกลาวเปนปญหาที่เกิดจากการตีความหมายซึ่งไมมีขอตกลงหรือ
ขอกําหนดที่แนนอน ผูสอนควรหลีกเลี่ยงไมใหเกิดปญหาเหลานั้นโดยการกําหนดใหชัดเจน
(ดังตัวอยางในหนังสือเรียน) วาจะใชตัวเลขหรือตัวอักษรซ้ําไดหรือไม
ตัวอยางโจทยปญหาที่กําหนดไวชัดเจนที่ควรจะตีความหมายไดตรงกัน
(1) จะเขียนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสี่หลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้
ตัวเลขในแตละหลักใชซ้ํากันได ดังนั้น คําตอบคือ 9 × 10 × 10 × 10 จํานวน)
(2) จะใชบัตร 4 ใบที่เขียนตัวเลข 1, 2, 3, 4 ไวตามลําดับเรียงใหไดจํานวน
ที่มีสามหลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้การจัดเรียงแตละแบบใชบัตรไดบัตรละ 1 ครั้ง
ดังนั้น คําตอบคือ 4!)
(3) จะใชตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 เขียนลงในบัตรโดยเขียนเปนจํานวนที่มี
หกหลัก จะเขียนไดทั้งหมดกี่บัตร (ในกรณีนี้การจัดในแตละแบบใชตัวเลขซ้ํากันได เชน
หมายเลข 666333 เปนตน ดังนั้น คําตอบคือ 66
บัตร
(4) จะมีวิธีจัดเรียงตัวอักษรในคําวา “HEAD” ไดกี่วิธีถาไมสนใจความ
หมายของคําที่เกิดขึ้น (ในกรณีนี้คลายกับกรณีในขอ (2) ซึ่งคลายกับวา ตัวอักษรแตละตัว
เขียนอยูในบัตร นําบัตรมาจัดเรียงอันดับใหม คําตอบคือ 4!)
(5) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในเซต {0, 1, 2, 3, 4} ไดกี่วิธี (ในกรณีนี้คลาย
120
กับกรณีในขอ (4) คําตอบคือ 5!)
(6) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในจํานวน “2435” ไดกี่วิธี ( คําตอบคือ 4!)
(7) จะสรางจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักจากตัวเลข 1, 4, 6, 9 ไดกี่จํานวน
(ในกรณีนี้โดยทั่วไปจะหมายถึงวาใชตัวเลขซ้ําได แตเพื่อปองกันมิใหเกิดปญหา ควรเขียน
ใหชัดเจนลงไปวา ใชตัวเลขซ้ํากันได)
5. ในเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม อาจมีปญหาเกี่ยวกับการหาจํานวนวิธี
เชน การรอยลูกปดเปนวงกลม หรือการรอยพวงมาลัยเปนวงกลม เปนตน
การหาจํานวนวิธีรอยลูกปด 4 ลูก ซึ่งมีสีขาว สีแดง สีฟา และสีมวง
เปนวงกลม มีไดกี่วิธี
ถาการจัดเรียงเปนวงกลมนี้ จะจัดได (4 – 1)! = 6 วิธี ดังรูป
(1) (2) ให ข แทนสีขาว
ส แทนสีแดง
ฟ แทนสีฟา
ม แทนสีมวง
(3) (4)
(5) (6)
แตถาเรารอยลูกปดของแตละวิธีที่จัดเรียงไวเขาดวยกันเปนวงกลม จะเห็นวา
เรารอยไดเพียง 3 วิธี คือ (1), (3) และ (5) เพราะในการรอยแบบ (1) ทําใหเกิดแบบ (2) ดวย
ข
ส
ฟ
ม
ข
ม
ฟ
ส
ข
ฟ
ม
ส
ข
ส
ม
ฟ
ข
ม
ส
ฟ
ข
ฟ
ส
ม
121
กลาวคือ เมื่อพลิกอีกดานหนึ่งของ (1) ขึ้น ก็จะไดการจัดเรียงแบบ (2) นั่นเอง ทํานองเดียว
กัน ถาพลิกอีกดานหนึ่งของ (3) จะไดการจัดเรียงแบบ (4) และพลิกแบบ (5) ก็ไดการจัดเรียง
แบบ(6)
ดังนั้น ในการรอยลูกปด 4 ลูก รอยได 3 วิธี
โดยทั่วไปจํานวนวิธีจัดเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมในลักษณะที่กลาวขางตน
กลาวคือมีการพลิกกลับอีกดานหนึ่งได จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนจะเปนครึ่งหนึ่งของจํานวน
วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมที่กลาวไวในหนังสือเรียน
6. กรณีที่วา ถามีสิ่งของอยู n สิ่ง ในจํานวนนี้มี n1 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุม
ที่ 1 มี n2 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ 2 ... และมี nk สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ k โดยที่
n1 + n2 + ... + nk = n จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของทั้ง n สิ่งเทากับ
1 2 k
n!
n !n ! n !L
กฎนี้บางครั้งเรียกวา “กฎการแบงกลุม” (Partitioning Law) เพราะอาจใช
คํานวณจํานวนวิธีที่จะแบงคนหรือสิ่งของ n สิ่ง ออกเปน k กลุม โดยใหกลุมที่ 1 มี n1 สิ่ง
กลุมที่ 2 มี n2 สิ่ง ... กลุมที่ k มี nk สิ่ง และ n1 + n2 + ... + nk = n การใชกฎนี้คํานวณ
หาจํานวนวิธีที่จะแบงสิ่งของดังกลาวขางตนมีขอควรระวังวา จํานวนสิ่งของในแตละกลุม
จะตองไมเทากัน และสิ่งของที่นํามาแบงตองแตกตางกันทั้งหมด
สมมุติวามีของ 4 สิ่ง คือ A, B, C และ D ตองการแบงออกเปนสองกลุม
กลุมหนึ่งมี 3 สิ่ง อีกกลุมหนึ่งมี 1 สิ่ง จะแบงไดดังนี้
A, B, C กับ D
A, B, D กับ C
A, C, D กับ B
B, C, D กับ A
จะเห็นวา แบงไดทั้งหมด 4 วิธี
วิธีการแบงก็คือเลือกของที่จะใหเปนกลุมแรกออกมากอน ของที่เหลือก็จะ
เปนอีกกลุมหนึ่ง
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะแบงของดังกลาว จะเทากับจํานวนวิธีของการเลือก
ของ 3 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ
C4, 3 = 4!
3!1!
= 4 วิธี
122
หรือจะเทากับจํานวนวิธีของการเลือกของ 1 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ
C4, 1 = 4!
1!3!
= 4 วิธี
กลาวโดยทั่วไปไดวา ถามีสิ่งของ p + q สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดตองการ
แบงออกเปนสองกลุม ๆ ละ p และ q สิ่ง โดยที่ p ≠ q จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ
Cp+q, p หรือ Cp+q, q
โดยที่ Cp+q, p = (p q)!
p!q!
+
Cp+q, q = (p q)!
p!q!
+
ถาตองการแบงสิ่งของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดและแบงเปน
3 กลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r ก็ทําไดโดยการแบงของ p + q + r สิ่ง
ออกเปนสองกลุมกอน โดยใหกลุมที่หนึ่งมีของ p สิ่ง อีกกลุมหนึ่งจะมีของ q + r สิ่ง
จํานวนวิธีแบงของ p สิ่ง จาก p + q + r สิ่ง เทากับ Cp+q+r, p
Cp+q+r, p = (p q r)!
p!(q r)!
+ +
+
ในแตละวิธีของการแบงกลุมครั้งนี้จะแบงของ q + r สิ่ง ออกเปนสองกลุม ๆ ละ q และ r สิ่ง
จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ Cq+r, q หรือ Cq+r, r
ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะแบงของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันออก
เปนสามกลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r จะมีทั้งหมด
p q r q r
p q
+ + +⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
= (p q r)! (q r)!
p!(q r)! q!r!
+ + +
×
+
= (p q r)!
p!q!r!
+ +
ในทํานองเดียวกัน ถาตองการแบงของ n สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมด
ออกเปน k กลุม ๆ ละ n1, n2, ..., nk สิ่ง โดยที่ n1 ≠ n2 ≠ ... ≠ nk และ n1 + n2 + ...+ nk = n
จํานวนวิธีแบงทั้งหมดเทากับ
1 2 k
n!
n !n ! n !L
ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คัน โดยที่
รถยนตแตละคันบรรทุกได 5, 7 และ 8 คน ตามลําดับ
วิธีคิด การจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คันนี้ก็คือ การแบงนักเรียน 20 คน
ออกเปนสามกลุม ๆ ละ 5, 7 และ 8 คน เมื่อแบงแลวใหแตละกลุมขึ้นรถยนต
123
ตามขนาดบรรทุกที่กําหนด เชนกลุมที่มีนักเรียน 5 คน ก็ขึ้นรถยนตคันที่บรรทุก
ได 5 คน จึงไมตองมีการสลับกลุมเพื่อขึ้นรถยนต และในรถยนตแตละคัน
นักเรียนไมตองสลับที่กันนั่ง เพราะจะสลับกันอยางไรก็อยูในรถยนตคันเดียวกัน
นั่นเอง
วิธีทํา จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียนใหขึ้นรถยนตได 20!
5!7!8!
= 99,768,240 วิธี
7. การนําเขาสูบทเรียนเรื่องปริภูมิตัวอยาง ควรใหผูเรียนเขียนผลลัพธที่เปน
ไปไดทั้งหมด ซึ่งอาจใชการเขียนแผนภาพตนไมชวย แลวจึงบอกใหผูเรียนทราบวา เซตของ
ผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดคือปริภูมิตัวอยาง
8. ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ที่เปนสับเซตของปริภูมิตัวอยาง
โดยใชบทนิยาม P(E) = n
N
เมื่อ n เปนจํานวนสมาชิกของเหตุการณ และ N เปนจํานวน
สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง S จะใชไดก็ตอเมื่อ S เปนเซตจํากัดและแตละสมาชิกในปริภูมิ
ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กัน เชน
ก. ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 10 ลูก สีขาว 5 ลูก หยิบลูกบอลมา 1 ลูก
สนใจสีของลูกบอลที่หยิบได ปริภูมิตัวอยาง คือ
S = {สีแดง, สีขาว}
ถาสนใจเหตุการณ E ที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดง
E = {สีแดง}
ถาใชสูตรโดยไมพิจารณาเงื่อนไขจะได P(E) = 1
2
ซึ่งผิด เนื่องจากแตละสมาชิกในปริภูมิ
ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เพราะในถุงมีลูกบอลสีแดงมากกวาสีขาว
ดังนั้น โอกาสที่จะไดลูกบอลสีแดงจึงมีมากกวาโอกาสที่หยิบไดลูกบอลสีขาว แตถาเขียน S
และ E ใหมดังนี้
S = {x⏐x เปนลูกบอลในถุง}
E = {x⏐x เปนลูกบอลสีแดงในถุง}
จะใชสูตร P(E) = n
N
ได เพราะสมาชิกแตละตัวใน S มีโอกาสที่จะถูกหยิบไดเทา ๆ กัน
ดังนั้น จะได P(E) = 10
15
124
ถา E เปนเหตุการณที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 จากการทอดลูกเตา 2 ลูก 1 ครั้ง
จะหา P(E) โดยใชปริภูมิตัวอยาง S = {2, 3, 4, ..., 12} ไมได เนื่องจากแตละ
สมาชิกในปริภูมิตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เชน การที่จะไดผลรวมเปน 2 มี
โอกาสเกิดขึ้นไดวิธีเดียวคือ ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 1 ดวย แตการที่จะไดผลรวมเปน
3 มีได 2 วิธี คือ
ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 2
ลูกแรกขึ้น 2 และลูกหลังขึ้น 1
จะเห็นวา การที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นไดมากกวาที่จะ
ไดผลรวมของแตมเปน 2 ดังนั้น ในการหาความนาจะเปนโดยใชสูตร P(E) = n
N
ปริภูมิตัวอยาง S จะตองประกอบดวยสมาชิกที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กันคือ
S = {(1, 1), (1, 2), ...., (1, 6), ...
(6, 1), (6, 2), ..., (6, 6)}
E = {(1, 2), (2, 1)}
9. ผูสอนควรใหผูเรียนใชกฎที่สําคัญบางประการของความนาจะเปน และชี้ใหเห็น
วาปญหาบางปญหาอาจทําไดทั้ง 2 วิธี แตบางครั้งการใชกฎทําใหหาคําตอบไดรวดเร็วกวา เชน
การทอดลูกเตา 3 ลูก ใหหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมบนหนาลูกเตามากกวา 3
ให E1 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมเปน 3
E2 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมมากกวา 3
( ){ }1E = 1,1,1
ในการทอดลูกเตา 3 ลูก 1 ครั้ง จํานวนวิธีที่จะเกิดผลลัพธมีได
6 × 6 × 6 = 63
วิธี
P(E1) = 3
1
6
แต E2 เปนคอมพลีเมนตของเหตุการณ E1
ดังนั้น P(E2) = 3
1
1
6
−
10. ในการใชสูตร
P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
125
ผูสอนควรชี้ใหเห็นวา สูตรนี้ใชไดเมื่อ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด
รวมกันเทานั้น ผูสอนควรใหผูเรียนยกตัวอยางเหตุการณ E1, E2 แลวหาวา E1 ∩ E2 เปน
เซตวางหรือไม ถา E1 ∩ E2 = ∅ แสดงวา เหตุการณ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด
รวมกัน บางครั้งเปนการยากที่จะแจกแจงเซต E1, E2 ซึ่งทําใหพิจารณาจาก E1 ∩ E2 ไมได
การพิจารณาวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่เกิดรวมกันหรือไม จึงตองพิจารณาสมบัติของ
สมาชิกใน E1 วาเปนสมาชิกใน E2 ไดหรือไม ถาไดแสดงวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่
เกิดรวมกันจึงตองใชสูตร
P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) – P(E1 ∩ E2)
ผูสอนอาจยกตัวอยางของการพิจารณาวาเหตุการณ 2 เหตุการณเปนเหตุการณ
ที่ไมเกิดรวมกัน เชน
ดึงไพ 2 ใบ จากไพสํารับหนึ่งซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนที่หยิบไดไพ
โพดํา 2 ใบ หรือโพแดงอยางนอย 1 ใบ
ให E1 เปนเหตุการณซึ่งไดโพดํา 2 ใบ
E2 เปนเหตุการณซึ่งไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ
จะหา P(E1 ∪ E2)
เนื่องจากสมาชิกของเหตุการณใน E1 ไมมีสมบัติที่จะเปนสมาชิกในเหตุการณ
E2 เพราะในการหยิบไพ 2 ใบ เมื่อหยิบไดโพดํา 2 ใบ แลวจะหยิบไพโพแดงอยางนอยอีก
1 ใบ ยอมเปนไปไมได ดังนั้น E1 และ E2 จึงเปนเหตุการณที่ไมเกิดรวมกัน
จะได P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ จากไพ 52 ใบ มี 52
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
วิธี
วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ และเปนโพดําทั้งคูมี 13
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
วิธี
ดังนั้น P(E1) =
13
2
52
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ใหไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ จํานวนวิธีที่จะหยิบ
ไพโพแดง 1 ใบ และไพอื่น ๆ 1 ใบ รวมกับจํานวนวิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ไดโพแดงทั้ง 2 ใบ
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ 13
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
39
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+ 13
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
126
จะได P(E2) =
13 39 13
1 1 2
52
2
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ดังนั้น P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
=
13 13 39 13
2 1 1 2
52 52
2 2
⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠+
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
กิจกรรมเสนอแนะ
กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
1. ในการสอนเรื่องนี้ ผูสอนอาจใหตัวอยางโจทยปญหาที่ใชกฎเกณฑเบื้องตน
เกี่ยวกับการนับ โดยใหผูเรียนแสดงวิธีทําหลาย ๆ วิธีเชน
1.1 โดยอาศัยแผนภาพตนไม
1.2 โดยอาศัยผลคูณคารทีเซียน
1.3 โดยอาศัยกฎการบวก และกฎการคูณของกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
2. ผูสอนยกตัวอยางโจทยที่มีเงื่อนไขบางอยางในตัว เชน ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4
และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูไดทั้งหมดกี่จํานวน ถา
1) ตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได
2) ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน
กอนที่ผูสอนจะใหผูเรียนหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งเขียนไดโดยใช
ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 และตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได ผูสอนอาจใชคําถามเพื่อชวยให
ผูเรียนหาคําตอบไดงายขึ้น ดังนี้
2.1 ผูสอนใหผูเรียนอธิบายความหมายของจํานวนที่มีสามหลักซึ่งผูเรียนอาจ
อธิบายไดวา หมายถึงจํานวนที่ประกอบดวยเลขโดด 3 ตัว โดยที่ตัวเลขในหลักรอยตองไม
เปน 0
2.2 ผูสอนถามผูเรียนวาคําวาตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได หมายความวาอยางไร
พรอมทั้งใหผูเรียนยกตัวอยาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวาตัวเลขในหลักหนวยหลักสิบหรือหลักรอย
อาจเหมือนกันได เชน 221, 303, 444 เปนตน
127
2.3 ผูสอนถามผูเรียนวาจํานวนคูหมายความวาอยางไร พรอมทั้งใหยกตัวอยาง
จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ผูเรียนควรตอบไดวา หมายถึงจํานวนที่ 2 หารลงตัว
2.4 ผูสอนถามวา สําหรับปญหาขางตนผูเรียนคิดวาตัวเลขในหลักหนวยควรเปน
ตัวเลขอะไรไดบาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา 0, 2 และ 4 พรอมทั้งยกตัวอยางจํานวนคูที่มี
สามหลัก เชน 344, 430, 552
ผูสอนถามผูเรียนตอไปวา จากตําแหนงของตัวเลขในสามหลักนี้ จะเขียน
ตัวเลขในหลักหนวยไดกี่วิธี นักเรียนควรตอบไดวามี 3 วิธี (คือ 0, 2 หรือ 4) ผูสอนถาม
ตอไปวาในแตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยจะเขียนตัวเลขในหลักสิบไดกี่วิธี ผูเรียนควร
ตอบไดวา 6 วิธี (คือตัวเลขทุกตัว) ผูสอนถามตอวา ในทํานองเดียวกันจะเขียนตัวเลขใน
หลักรอยไดกี่วิธี ผูเรียนควรตอบไดวา 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4 หรือ 5)
ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขดังกลาว โดยเริ่มจากวิธีเขียนตัวเลขใน
หลักรอยหรือหลักสิบกอน ซึ่งผูเรียนจะเห็นวาไดคําตอบเทากัน
ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปวา เนื่องจากตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได
ดังนั้น การหาหลักใดกอนหลังก็ได
การหาจํานวนคูที่มีสามหลักที่แตละหลักซ้ํากันได จึงควรเปนดังนี้
เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 3 วิธี (คือ 0, 2, 4)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยเขียนตัวเลขในหลักสิบได 6 วิธี (คือ 0, 1,
2, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี
(คือ 1, 2, 3, 4, 5)
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได จึงมี
ทั้งหมด 5 × 6 × 3= 90 จํานวน
ผูสอนถามผูเรียนวาการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู
ควรเริ่มที่หลักใด เพราะเหตุใด
ผูสอนและผูเรียนลองทําโจทย โดยเริ่มจากหลักหนวยกอนซึ่งจะพบปญหาวา
ถาหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ที่ไมใช 0 แลวจะทําใหเกิดความยุงยากเมื่อหาจํานวนที่เขียนตัวเลข
ในหลักรอย เพราะการที่หลักหนวยเปน 0 หรือหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ทําใหจํานวนวิธี
เขียนตัวเลขในหลักรอยไมเทากัน การพิจารณาจึงตองแยกออกเปน 2 กรณี คือ กรณีที่ 1
เมื่อหลักหนวยเปน 0 แลวหาจํานวนวิธีหลักอื่น ๆ ที่เหลือ โดยจะหาหลักใดกอนก็ได
กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ตองหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยกอน (เพื่อ
128
ไมให 0 อยูในหลักนี้) แลวจึงหาวิธีเขียนหลักสิบ
ดังนั้น ในการหาจํานวนดังกลาวควรทําดังนี้
กรณีที่ 1 เมื่อหลักหนวยเปน 0
ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 1 วิธี
แตละวิธีที่ตัวเลขในหลักหนวยเปน 0 เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี
(คือ 1, 2, 3, 4, 5)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ซึ่งหลักหนวยเปน 0 และตัวเลข
ในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 5 × 1 = 20 จํานวน
กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4
ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย จะเขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
(คือ 1, 2, 3, 5 หรือ 1, 3, 4, 5)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบ
ได 4 วิธี (คือตัวเลขที่เหลือ)
นั่นคือ จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 และ
ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 4 × 2 = 32 จํานวน
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน
มีทั้งหมด 20 + 32 = 52 จํานวน
แฟกทอเรียล n
1. ผูสอนใหความหมายของสัญลักษณ n! วา หมายถึง ผลคูณของจํานวนเต็มบวก
ตั้งแต 1 ถึง n จากนั้นผูสอนใหผูเรียนฝกหาจํานวนตาง ๆ ที่อยูในรูปแฟกทอเรียล เชน
9! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... 8 ⋅ 9
(n + 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... n(n + 1)
(n – 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... (n – 2)(n – 1)
2. ผูสอนฝกใหผูเรียนเขียนจํานวนที่อยูในรูปแฟกทอเรียลใหอยูในรูปที่ไมมี
แฟกทอเรียลปรากฏอยู เชน กําหนดจํานวน 7!3!
5!
, (n 1)!
n!
−
ใหผูเรียนเขียนจํานวนเหลานี้
129
ในรูปที่ไมมีแฟกทอเรียลปรากฎอยู
3. ผูสอนใหผูเรียนฝกแกสมการที่มีรูปแฟกทอเรียลปรากฏอยู พรอมทั้งอาจชี้ให
เห็นดวยวา ผูเรียนอาจทําไดโดยใชอีกวิธีหนึ่งดังนี้
ถา (n 3)!
(n 1)!
+
+
= 30 จงหา n
(n 3)(n 2)(n 1)!
(n 1)!
+ + +
+
= 30
(n + 3)(n + 2) = 30 ---------- (1)
เนื่องจากจํานวนทางซายของเครื่องหมาย “เทากับ” ในสมการ (1) เปนผลคูณ
ของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวนที่ตางกันอยู 1 ดังนั้น เราจึงพยายามเขียนจํานวนที่อยูทางขวา
ของเครื่องหมาย “เทากับ” ใหอยูในรูปผลคูณของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวน ที่ตางกันอยู 1
เหมือนทางซาย
นั่นคือ จะเขียนสมการ (1) ใหมเปน (n + 3)(n + 2) = 6 × 5
จะได n + 3 = 6 และ n + 2 = 5
ดังนั้น n = 3
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู
มีธงสีตาง ๆ อยู 5 สี ธงละหนึ่งสี จงหาจํานวนวิธีที่จะสงสัญญาณธงโดย
อาศัยการสลับที่ธง 3 ธง เรียงตามแนวดิ่ง
1. ในการสอนตามโจทยตัวอยางขางตน ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณเปนธงกระดาษสี
ตาง ๆ 5 สี เพื่อใชประกอบคําอธิบายความหมายของสัญลักษณธงตามโจทย เมื่อผูเรียนเขาใจ
วิธีทําแลวอาจใหทํากิจกรรมตอเนื่องจากตัวอยางตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้
1.1 แบงกลุมผูเรียนออกเปน 5 กลุม เรียกชื่อกลุมวา กลุมที่ 1, 2, 3, 4 และ 5
ตามลําดับ แลวใหแตละกลุมตอบคําถามตอไปนี้
ก. ถาให ส1, ส2, ส3, ส4 และ ส5 แทนสีของธงแตละผืน แลวจะมีวิธีให
สัญญาณธงกี่วิธี ถากําหนดวาตองใชสีที่กํากับดวยตัวเลขเดียวกันกับชื่อของกลุมในตําแหนงที่
หนึ่งของสัญญาณ
ข. ถาตองการใหแสดงสัญญาณธงที่เปนไปไดทั้งหมด จากโจทยตัวอยาง
ขางตน ซึ่งมี 60 วิธี โดยการตัดกระดาษสี 5 สี เปนรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ขนาดเทา ๆ กัน ติดลง
130
บนกระดาษขาว จะตองตัดกระดาษแตละสีเปนจํานวนเทาไร
ค. ถาจะแบงกระดาษสีในขอ ข ใหแตละกลุมที่แบงไวเพื่อใชแสดงสัญญาณ
ธงของแตละกลุมตามคําถามขอ ก จะตองแบงกระดาษสีใหแตละกลุมอยางไร
ง. ถาใหใชกระดาษสีตามที่แบงในขอ ค ติดลงบนกระดาษขาว เพื่อแสดง
สัญญาณธงทั้งหมดที่กลุมคํานวณไดในคําถามขอ ก วิธีหนึ่งที่ทําไดคือติดกระดาษสีลงไป
โดยแผนแรกเปนสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุม แผนที่สองและสามเลือกใช
กระดาษสีไมซ้ํากัน เนื่องจากจํานวนกระดาษสีที่แบงตามขอ ค พอดีกับจํานวนวิธีอยูแลวจะ
สามารถติดกระดาษสีแสดงสัญญาณไดครบพอดี แตถาจะติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎ
เกณฑเบื้องตนของการนับควรจะทําอยางไร
ใหแตละกลุมรายงานผลการพิจารณาหาคําตอบปญหา ก ถึง ง เมื่อเห็น
วาคําตอบถูกตองดีแลว และตองการใหผูเรียนฝกปฏิบัติ ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณที่ตองใช
เพื่อใหผูเรียนปฏิบัติจริงตามคําตอบขอ ง ก็ได ในกรณีที่จําเปนอาจใหใชวิธีระบายสีแทนการ
ติดกระดาษลงบนกระดาษขาวก็ได
1.2 การเสนอปญหาอภิปรายรวมในหอง
ก. ถาผูสอนตองการใหผูเรียนแบงกลุมกันติดกระดาษสี เพื่อแสดงสัญญาณธง
ที่เปนไปไดทั้งหมดในโจทยตัวอยางขางตน ซึ่งมีทั้งหมด 60 วิธี โดยใหเริ่มตั้งแตการตัดกระดาษ
สีจากแผนใหญเปนชิ้นเล็ก ๆ วิธีที่งายที่สุดคือ แจกกระดาษสีใหแตละกลุม ๆ ละ 3 แผนใหญ
แผนละสี กระดาษสีของแตละกลุมจะเหมือนกันทั้งหมดไมได จากกระดาษสีที่มีสีเปน ส1, ส2,
ส3, ส4 และ ส5 ผูสอนถามผูเรียนวาจะจัดแบงกลุมไดทั้งหมดกี่กลุม และแตละกลุมไดกระดาษ
สีใดบาง
ข. ถาแบงกลุมตามขอ ก แตละกลุมจะติดกระดาษสีแสดงสัญญาณธงได
กี่สัญญาณ
หลังการอภิปรายในขอ 1.2 ผูสอนอาจนําอภิปรายเพื่อสรุปวาการเรียงสับเปลี่ยน
และการจัดหมูมีความสัมพันธกันอยางไร โดยบอกวาในปญหาขอ ก นั้น เปนการจัดหมูของ
3 สิ่ง จาก 5 สิ่ง ซึ่งจํานวนวิธีเขียนดวยสัญลักษณเปน C5, 3 สวนปญหาในขอ ข นั้นเปนการ
นําสิ่งที่จัดหมูแลวมาจัดเรียงลําดับซึ่งแตละหมูจะจัดได 3! วิธี ทําใหไดวา
3! C5, 3 = P5, 3
และในกรณีทั่วไปจะไดวา
r! Cn, r = Pn, r
131
หรือ Cn, r = n,rP
r!
วิธีดังกลาวเปนการเชื่อมโยงการสอนเรื่องเดิมไปสูการสอนเรื่องใหมซึ่งเปนวิธี
การเริ่มตนสอนเนื้อหาใหมวิธีหนึ่ง
หมายเหตุ 1. แนวตอบคําถามในกิจกรรม 1.1 และ 1.2 มีดังนี้
1.1 ก. แตละกลุมควรไดคําตอบเทากับ 1 × 4 × 3 = 12 วิธี
ข. เนื่องจากตองแสดงสัญญาณทั้งสิ้น 60 สัญญาณ แตละสัญญาณใช
กระดาษ 3 ชิ้นเล็ก จึงเปนกระดาษชิ้นเล็กทั้งหมด 180 ชิ้น
ดังนั้น แตละสีจึงตองตัดไว 36 ชิ้น
ค. แตละกลุมจะไดรับแบงกระดาษสีดังนี้
สีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมจะไดรับ 12 ชิ้น สวนสี
อื่นที่เหลือไดรับสีละ 6 ชิ้น
ง. ใชแผนภาพตนไมชวย เชน แผนภาพตนไมของกลุมที่ 1 และ 2
จะเปนไดดังนี้
ตําแหนงที่ 1 2 3
ส3 ส1 ส2 ส3
ส2 ส4 ส1 ส2 ส4
ส5 ส1 ส2 ส5
ส4 ส1 ส3 ส4
ส3 ส5 ส1 ส3 ส5
ส2 ส1 ส3 ส2
ส1
ส5 ส1 ส4 ส5
ส4 ส2 ส1 ส4 ส2
ส3 ส1 ส4 ส3
ส2 ส1 ส5 ส2
ส5 ส3 ส1 ส5 ส3
ส4 ส1 ส5 ส4
132
ตําแหนงที่ 1 2 3
ส4 ส2 ส3 ส4
ส3 ส5 ส2 ส3 ส5
ส1 ส2 ส3 ส1
ส5 ส2 ส4 ส5
ส4 ส1 ส2 ส4 ส1
ส3 ส2 ส4 ส3
ส2
ส1 ส2 ส5 ส1
ส5 ส3 ส2 ส5 ส3
ส4 ส2 ส5 ส4
ส3 ส2 ส1 ส3
ส1 ส4 ส2 ส1 ส4
ส5 ส2 ส1 ส5
จากแผนภาพตนไมจะไดวิธีติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎเกณฑเบื้องตนของ
การนับโดยเริ่มติดกระดาษสีดังนี้
1. ติดกระดาษสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมในตําแหนงที่หนึ่งของ
สัญญาณทั้ง 12 สัญญาณ
2. ติดกระดาษสีอีกสี่สีที่เหลือในตําแหนงที่สองของสัญญาณโดยติดสีละ 3
สัญญาณ (ดูแผนภาพตนไมประกอบ)
3. ติดกระดาษสีอีกสามสีที่เหลือในตําแหนงที่สามของสัญญาณโดยเลือกสีที่ไม
ซ้ํากับสองสีแรก
1.2 ก. 10 กลุม เชน กลุมที่ 1 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส3
กลุมที่ 2 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส4
กลุมที่ 3 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส5
กลุมที่ 4 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส4
133
กลุมที่ 5 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส5
กลุมที่ 6 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส3 ส4 ส5
กลุมที่ 7 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส4
กลุมที่ 8 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส5
กลุมที่ 9 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส4 ส5
กลุมที่ 10 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส4 ส5
จากคําตอบขอนี้จะไดวา ถาตองการเตรียมกระดาษสีแผนใหญใหทํากิจกรรมตอง
เตรียมไวสีละ 6 แผน
ข. 6 สัญญาณ
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. ญาดาทอดลูกเตาสองลูก 1 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองดังนี้
(1) แตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน
(2) ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู
2. ภากรสุมหยิบไพ 1 ใบ จากไพสํารับหนึ่ง ซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนของเหตุการณ
ที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King
3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีบัตรที่ใหรางวัลอยู 6 ใบ ถาสุมหยิบบัตรขึ้นมา 6 ใบ
จงหาความนาจะเปนที่จะไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมด
4. เอกสะสมเหรียญสิบบาทไวในกระปุกออมสินดังนี้ เปนเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539
จํานวน 10 อัน และเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2545 จํานวน 20 อัน ถาสุมหยิบเหรียญสิบบาท
ขึ้นมา 2 เหรียญ จงหาความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539
ทั้งสองเหรียญ
5. ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 8 ลูก ลูกแกวสีฟา 3 ลูก ลูกแกวสีเขียว 6 ลูก และลูกแกว
สีเหลือง 3 ลูก ถาอภิรดีสุมหยิบลูกแกวครั้งละ 1 ลูก โดยไมใสคืนจํานวนสองครั้ง
จงหาความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
134
6. สมาคมแหงหนึ่ง ตองการจะหาเงินชวยสถานสงเคราะหผูปวยโรคหัวใจ จึงออกสลาก
การกุศลจํานวน 500 ใบ เพื่อขายใหกับสมาชิกของสมาคมโดยขายในราคาใบละ 100 บาท
และมีรางวัลพิเศษใหกับสมาชิกที่ซื้อสลาก 1 รางวัล เปนจักรยาน 1 คัน ถานวพลซื้อสลาก
การกุศลครั้งนี้ 10 ใบ จงหาความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลเปนรถจักรยาน 1 คัน
7. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เปนนักเรียนชาย 19 คน และ
นักเรียนหญิง 21 คน ถาตองการเลือกตัวแทนของนักเรียนในหองนี้โดยการสุมครั้งละ
1 คน จงหาความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน
8. ตารางตอไปนี้แสดงจํานวนนักเรียนที่เดินทางมาโรงเรียนโดยการขี่จักรยานและนั่งรถ
ประจําทางมา และมีบางขอมูลขาดหายไป
พาหนะ
จํานวนนักเรียน
จักรยาน รถประจําทาง
นักเรียนชาย
นักเรียนหญิง
.......
38
32
46
รวม 122 .........
จงหาความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียนมา 1 คน และเปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่ง
รถประจําทางมาโรงเรียน
9. จงหาความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ และตกลงบนพื้นที่สวนที่แรเงา
10. การแขงขันเตะตะกรอของทีมสองทีมที่มีความสามารถเทาเทียมกัน 5 ครั้ง ทีมชนะเลิศ
จะตองเปนทีมแรกที่ชนะคูแขง 3 ครั้ง ถาทีม A ชนะการแขงขันครั้งแรก จงหาความนาจะเปน
ที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศ
135
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
1. ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
S = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6),
(2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6),
(3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6),
(4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6),
(5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6),
(6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)}
n(S) = 36
ให E1 แทนเหตุการณที่ไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน
E1 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3), (4, 4), (5, 5), (6, 6)}
n(E1) = 6
ให E2 แทนเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู
E2 = {(1, 1), (1, 3), (1, 5), (2, 2), (2, 4), (2, 6),
(3, 1), (3, 3), (3, 5), (4, 2), (4, 4), (4, 6),
(5, 1), (5, 3), (5, 5), (6, 2), (6, 4), (6, 6)}
n(E2) = 18
P(E1) = 6
36
= 1
6
และ P(E2) = 18
36
= 1
2
ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน เทากับ 1
6
และความนาจะเปนของเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู
เทากับ 1
2
2. ไพสํารับหนึ่ง มีไพหนาหัวใจจํานวน 13 ใบ และไพหนา King 4 ใบ
แตในไพหนาหัวใจจะมีไพหนา King รวมอยูดวย 1 ใบ
ดังนั้น ไพหนาหัวใจหรือไพหนา King มีจํานวน 13 + 4 – 1 = 16 ใบ
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
ดังนั้น n(S) = 52
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 52
136
ให E แทนเหตุการณที่ไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King
n(E) = 16
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 16
P(E) = 16
52
= 4
13
ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King
เทากับ 4
13
3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีจํานวนทั้งหมด 50 ใบ
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
ดังนั้น n(S) = 50
6
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 50!
6!44!
= 15,890,700
ให E แทนเหตุการณที่หยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหกใบ
n(E) = 6
6
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 6!
6!0!
= 1
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะหยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมดเทากับ 1
15,890,700
4. เหรียญสิบบาทมีทั้งหมด 10 + 20 = 30 อัน
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
ดังนั้น n(S) = 30
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 435
ให E แทนเหตุการณที่เอกหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญ
n(E) = 10
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 45
P(E) = n(E)
n(S)
= 45
435
= 9
87
ดังนั้น ความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญเทากับ 9
87
5. ลูกแกวทั้งหมดมี 8 + 3 + 6 + 3 = 20 ลูก
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 20 19
1 1
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
= 380
ให E แทนเหตุการณที่อภิรดีหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
n(E) = 8 7
1 1
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
= 56
137
P(E) = n(E)
n(S)
= 56
380
= 14
95
ดังนั้น ความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกเทากับ 14
95
6. สลากการกุศลจํานวน 500 ใบ
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 500
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 500
ให E แทนเหตุการณที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษ
n(E) = 10
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 10
P(E) = 10
500
= 1
50
= 0.02
ดังนั้น ความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษเปนรถจักรยานเทากับ 0.02
7. จํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 มีทั้งหมด 19 + 21 = 40 คน
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 40
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
39
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1,560
ให E แทนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน
n(E) = 19
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
20
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 380
P(E) = 380
1,560
= 19
78
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน
เทากับ 19
78
8. จากตารางในโจทย จํานวนนักเรียนชายมี 122 – 38 = 84 คน
และจํานวนนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมี 32 + 46 = 78 คน
ดังนั้น จํานวนนักเรียนทั้งหมด 84 + 38 + 32 + 46 = 200 คน
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 200
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 200
จํานวนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน 84 + 32 + 46 = 162 คน
138
ให E เปนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน
n(E) = 162
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 162
P(E) = 162
200
= 81
100
= 0.81
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียน 1 คน ที่เปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถ
ประจําทางมาโรงเรียนเทากับ 0.81
9. รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีดานยาว 12 หนวย และมีดานกวาง 10 หนวย
พื้นที่ทั้งหมดเทากับ 12 × 10 = 120 ตารางหนวย
พื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ 1 1
8 3 8 5
2 2
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
× × + × ×⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
= 12 + 20 = 32 ตารางหนวย
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ ตกบนพื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ
32
120
= 4
15
10. ความนาจะเปนที่ทีมแตละทีมจะชนะเทากับ 1
2
ความนาจะเปนที่ทีม A ชนะจากการแขงขัน 3 ครั้ง เทากับ 3
1
2
= 1
8
ดังนั้น ในการแขงขัน 5 ครั้ง เมื่อทีม A เปนทีมที่ชนะในการแขงขันครั้งแรก
ความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดขึ้นมีดังนี้
AA 1
4
ABA 1
8
ABBA 1
16
BAA 1
8
BABA 1
16
BBAA 1
16
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศเทากับ 1 1 1 1 1 1
4 8 8 16 16 16
+ + + + +
= 4 2 2 1 1 1
16
+ + + + +
= 11
16
139
เฉลยแบบฝกหัด 3.1
1. เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน A มีเสนทางได 3 เสนทาง
เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน B มีเสนทางได 4 เสนทาง
เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน C มีเสนทางได 3 เสนทาง
ดังนั้น มีจํานวนเสนทางจาก X ไปยัง Y ทั้งหมด 10 เสนทาง
D Y
A E Y
F Y
D Y
E Y
X B F Y
G Y
E Y
C F Y
G Y
2. จํานวนเสนทางจาก N ไปยัง S มีทั้งหมด 5 + 3 + 5 = 13 เสนทาง
โดยมีรายละเอียดดังแผนภาพ
S
N
1
A B C
I
D E
J
2 3
F G H
K
140
จากแผนภาพขางตนสามารถเขียนเปนแผนภาพตนไมไดดังนี้
A I S
A I S
1 B I S
C I S
C I S
D J S
N 2 E J S
E J S
F K S
G K S
3 G K S
H K S
G K S
3. (1) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป B มี 3 เสนทาง
(2) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก B ไป C มี 1 เสนทาง
(3) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก C ไป D มี 5 เสนทาง
(4) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก D ไป E มี 6 เสนทาง
(5) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป E มี 90 เสนทาง
4. (1) จุดยอด X อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป
จุดยอด Y อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป
ดังนั้น จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก XCY มี 12 รูป
(2) จํานวนรูปสามเหลี่ยมโดยมีจุดยอด 3 จุด จาก A, B, C, D, E, F มี 15 รูป
5. จากรูป ชวงที่ 1 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 3 วิธี
ชวงที่ 2 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 2 วิธี
ชวงที่ 3 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 5 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมด 3 × 2 × 5 = 30 วิธี
ชวงที่ 1
ชวงที่ 2
ชวงที่ 3
141
6. มีจุดยอดอยูบนดาน 3 ดาน เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 2 × 3 = 18 รูป
มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป
มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน BC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 1 × 6 = 6 รูป
มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AB เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป
ดังนั้น มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 18 + 15 + 6 + 15 = 54 รูป
7. เมื่อไมมีอักษร 2 ตัวติดกันซ้ํากัน
อักษรตัวที่หนึ่งเลือกได 26 วิธี
อักษรตัวที่สองเลือกได 25 วิธี
อักษรตัวที่สามเลือกได 25 วิธี
อักษรตัวที่สี่เลือกได 25 วิธี
อักษรตัวที่หาเลือกได 25 วิธี
ดังนั้น จะสรางคําไดทั้งหมด 26 × 254
คํา
8. จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว {a, b} โดยที่ a = 1, 2, 3, ... 93 เทากับ 93 × 7 = 651
จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว โดยที่ a = 94, 95, 96, ... 99 เทากับ
6 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 21 สับเซต
ดังนั้น จํานวนสับเซตทั้งหมด 651 + 21 = 672 สับเซต
9. ในการสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300
หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี คือ 3 หรือ 4 หรือ 5
หลักสิบ เลือกตัวเลขได 5 วิธี
หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4
และ 5 มี 3 × 5 × 4 = 60 วิธี
10. ขอสอบขอที่ 1 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
ขอสอบขอที่ 2 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
ขอสอบขอที่ 3 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
M
142
ขอสอบขอที่ 10 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีตอบขอสอบทั้ง 10 ขอ 210
วิธี
11. ตัวเลขที่แสดงตอนที่นั่งมี 20 วิธี
อักษรที่แสดงแถวที่นั่งมี 52 วิธี
ตัวเลขแสดงตําแหนงที่นั่งมี 30 วิธี
ดังนั้น จํานวนที่นั่งทั้งหมดมี 31,200 ที่นั่ง
12. ตัวอักษรตัวแรกเปนไปได 26 วิธี
ตัวอักษรตัวที่สองเปนไปได 26 วิธี
ตัวเลข 3 ตัว เปนไปได 10 × 10 × 10 วิธี
ตัวอักษรอีก 1 ตัว เปนไปได 26 วิธี
ตัวเลขอีก 2 ตัว เปนไปได 10 × 10 วิธี
ดังนั้น จํานวนหนังสือทั้งหมดในระบบนี้มี 263
× 105
เลม
ถาตัวอักษร 2 ตัวแรก แสดงหนังสือที่จัดไวเปนตอน
ดังนั้น หนังสือในแตละตอนมี 1 × 10 × 10 × 10 × 26 × 10 × 10 = 2,600,000 เลม
แบบฝกหัด 3.2 ก
1. (1) 210 (2) 1680 (3) 380
2. n = 6
3. พิสูจน Pn, 1 + Pm, 1 = Pn+m, 1
Pn, 1 + Pm, 1 = n! m!
(n 1)! (m 1)!
+
− −
= n + m
= (n m)!
((n m) 1)!
+
+ −
= Pn+m, 1
4. สรางจํานวนที่มี 4 หลัก จากเลขโดด 5 ตัว
ดังนั้น จะสรางได P5, 4 = 5!
(5 4)!−
= 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 120 จํานวน
143
5. มีตําแหนงวางที่เปนชาย 3 ตําแหนง มีผูสมัครเปนชาย 6 คน
ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดชายเทากับ P6, 3 = 6!
3!
= 6 × 5 × 4 = 120 วิธี
มีตําแหนงวางที่เปนหญิง 2 ตําแหนง มีผูสมัครเปนหญิง 5 คน
ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดหญิงเทากับ P5, 2 = 5!
3!
= 5 × 4 = 20 วิธี
จะได วิธีจัดคนที่มาสมัครเขาทํางาน 120 × 20 = 2400 วิธี
6. จัดชาย 6 คน ยืนเรียงแถวหนากระดานได 6! = 720 วิธี
ช1 ช2 ช3 ช4 ช5 ช6
จัดชาย 6 คน ยืนหนากระดานจะมีที่ใหผูหญิงแทรกได 7 ที่
ผูหญิง 3 คน จะเลือกที่แทรกได 7 × 6 × 5 = 210 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีจัดทั้งหมด 720 × 210 = 151200 วิธี
7. แยกเปน 2 กรณี
กรณีที่ 1 หลักรอย เปนเลขคี่ คือ 3, 5 และ 7
หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี
หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากัน
หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี
มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 4 × 8 = 96 วิธี
กรณีที่ 2 หลักรอย เปนเลขคู คือ 4, 6, 8
หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี
หลักหนวย เลือกตัวเลขได 5 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากัน
หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี
มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 5 × 8 = 120 วิธี
ดังนั้น จํานวนคี่ที่มีคามากกวา 300 แตนอยกวา 900 โดยที่ตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากันมี 96 + 120 = 216 จํานวน
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6sukonlapat45656
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
krupeem
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
Math and Brain @Bangbon3
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkroojaja
 
เนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนาม
เนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนามเนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนาม
เนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนาม
Kuntoonbut Wissanu
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มAena_Ka
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4
Khunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบประวัติศาสตร์
แบบทดสอบประวัติศาสตร์แบบทดสอบประวัติศาสตร์
แบบทดสอบประวัติศาสตร์
วิพร มาตย์นอก
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็นใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็นศศิชา ทรัพย์ล้น
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
makotosuwan
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
sawed kodnara
 

What's hot (20)

ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
เนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนาม
เนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนามเนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนาม
เนื้อหาคณิตศาสตร์ม.3เทอม1เรื่องการแยกตัวประกอบพหุนาม
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2553 4
 
แบบทดสอบประวัติศาสตร์
แบบทดสอบประวัติศาสตร์แบบทดสอบประวัติศาสตร์
แบบทดสอบประวัติศาสตร์
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็นใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 

Viewers also liked

จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
Beer Aksornsart
 

Viewers also liked (20)

Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Add m6-1-chapter1
Add m6-1-chapter1Add m6-1-chapter1
Add m6-1-chapter1
 
Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2
 
Add m4-2-chapter2
Add m4-2-chapter2Add m4-2-chapter2
Add m4-2-chapter2
 
Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2
 
Add m4-2-chapter1
Add m4-2-chapter1Add m4-2-chapter1
Add m4-2-chapter1
 
Add m5-2-link
Add m5-2-linkAdd m5-2-link
Add m5-2-link
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4
 
Add m6-2-chapter3
Add m6-2-chapter3Add m6-2-chapter3
Add m6-2-chapter3
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 

Similar to Add m5-2-chapter3

ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
KruGift Girlz
 
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาเอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาNapadon Yingyongsakul
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201kroojaja
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]IKHG
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
พิทักษ์ ทวี
 

Similar to Add m5-2-chapter3 (20)

Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาเอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
666
666666
666
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Add m5-2-chapter3

  • 1. บทที่ 3 ความนาจะเปน (40 ชั่วโมง) ตามประวัติศาสตร การหาความนาจะเปนเริ่มมาจากปญหาการไดเปรียบเสีย เปรียบในการพนัน การศึกษาเรื่องนี้จะชวยใหผูเรียนสามารถคาดเหตุการณลวงหนาไดอยางมี หลักเกณฑ ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจไดอยางมาก ซึ่งบทนี้จะกลาวถึงกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยว กับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม ความนาจะเปน และกฎที่สําคัญบาง ประการของความนาจะเปน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. แกโจทยปญหาโดยใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู 2. นําความรูเรื่องทฤษฎีบททวินามไปใชได 3. หาความนาจะเปนของเหตุการณที่กําหนดใหได ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ทางดานความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทาง คณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้น กิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
  • 2. 115 ขอเสนอแนะ 1. ในการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับหาคําตอบของโจทยปญหานั้น ควร อานโจทยปญหาใหเขาใจวาในปญหานั้นกําหนดเงื่อนไขอะไรบาง การพิจารณาเงื่อนไขของ ปญหาจะชวยใหสามารถกําหนดขั้นตอนในการแกปญหา ซึ่งจะชวยใหสามารถหาคําตอบได งายขึ้น ลองพิจารณาตัวอยางตอไปนี้ ปญหาที่ 1 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักโดยที่ตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากันไดทั้งสิ้นกี่จํานวน วิธีคิด จากโจทยปญหาไดกําหนดเงื่อนไข 3 ขอ คือ 1) ใหใชตัวเลขโดดได 6 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 2) จํานวนที่ตองการ เปนจํานวนที่มีสามหลัก 3) ตัวเลขในแตละหลักของแตละจํานวนที่ตองการ ตองไมซ้ํากัน จากเงื่อนไขทั้งสามขอนี้ตองนํามาพิจารณาประกอบการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับ การนับ เพื่อหาวาจะเขียนจํานวนที่ตองการไดกี่จํานวน สําหรับปญหานี้ตองพิจารณาวิธีที่จะ เขียนตัวเลขในหลักตาง ๆ คือ หลักหนวย หลักสิบ และหลักรอย เนื่องจากการเขียนจํานวน ที่มีสามหลักนั้น หลักรอยตองไมใชตัวเลข 0 สวนหลักอื่น ๆ นั้นจะใชตัวเลขใดก็ไดใน 6 ตัว ที่กําหนด การเริ่มแกปญหาจึงควรเริ่มดวยการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอย เพราะมีขอจํากัดมากกวาหลักอื่น ๆ ดังนั้น วิธีหาคําตอบปญหาจึงอาจเปนดังนี้ วิธีที่ 1 เขียนตัวเลขในหลักรอยไดตาง ๆ กัน 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 4 วิธี ดังนั้น จากกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ จํานวนที่มีสามหลักที่เขียนโดยใช ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมีทั้งสิ้น 5 × 5 × 4 = 100 จํานวน วิธีหาคําตอบขางตนเปนเพียงวิธีหนึ่งเทานั้น อาจหาคําตอบโดยวิธีอื่น ๆ ก็ได เชน การพิจารณาโดยเริ่มจากการเขียนหลักหนวยกอน แตเนื่องจากจะมีปญหาวา เหลือ 0 อยูหรือไม จึงแยกกรณีพิจารณาดังตอไปนี้ วิธีที่ 2 ถาเริ่มเขียนตัวเลขในหลักหนวยกอน แยกกรณีพิจารณาไดดังนี้
  • 3. 116 (1) หาจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี ดังนั้น จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย และใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได 5 × 4 = 20 จํานวน (2) หาจํานวนสามหลักที่มี 0 อยูในหลักสิบ ในทํานองเดียวกับขอ (1) จะไดวาจํานวนสามหลักในขอนี้มีทั้งหมด 20 จํานวน (3) หาจํานวนสามหลักที่ไมมี 0 ปรากฏอยูเลย จะไดทั้งหมด 5 × 4 × 3 = 60 จํานวน จาก (1), (2) และ (3) จํานวนสามหลักที่ไดจากการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนโดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งสิ้น 20 + 20 + 60 = 100 จํานวน ปญหาที่ 2 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่ และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน วิธีคิด เงื่อนไขของปญหานี้เหมือนของปญหาที่ 1 แตเพิ่มเงื่อนไขอีกหนึ่งขอ คือ จํานวน ที่ตองการตองเปนจํานวนคี่ เงื่อนไขนี้มีผลตอจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย ถาเริ่มหาคําตอบโดยพิจารณาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอยกอนเชนเดียว กับการพิจารณาการเขียนตัวเลขในหลักหนวยวาทําไดกี่วิธีจะมีปญหา เพราะใน 5 วิธี ที่เขียนตัวเลขในหลักรอยนั้นมี 3 วิธี ที่ใช 1, 3 และ 5 ไปแลว ทําใหมีผลตอจํานวน วิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยซึ่งใชตัวเลขที่กําหนดใหไดเพียง 3 ตัว คือ 1, 3 และ 5 เทานั้น ยิ่งถาพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบตอจากการพิจารณาจํานวน วิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยจะทําใหการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย มีปญหามากขึ้น วิธีหาคําตอบของปญหานี้จึงควรพิจารณาวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยเสียกอน แลวพิจารณาจํานวนวิธีการเขียนตัวเลขในหลักรอย จากนั้นจึงไปพิจารณาจํานวน วิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบเปนอันดับสุดทาย วิธีทํา เขียนตัวเลขในหลักหนวยไดตาง ๆ กัน 3 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
  • 4. 117 ดังนั้น ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่ และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 4 × 4 × 3 = 48 จํานวน ปญหาที่ 3 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและ ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน วิธีคิด ปญหาที่ 3 นี้ มีเงื่อนไขเพิ่มจากปญหาที่ 1 อีกหนึ่งขอคือ จํานวนที่ตองการเปน จํานวนคู ถาพิจารณาไมรอบคอบอาจจะสรุปวาใชวิธีการในทํานองเดียวกับที่ใชใน การหาคําตอบปญหาที่ 2 คือ พิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย หลักรอย และหลักสิบ ตามลําดับ แตวิธีดังกลาวมีปญหาเพราะตัวเลขที่อาจใชในหลักหนวยมี 3 ตัว คือ 0, 2 และ 4 การที่ 0 อาจถูกใชหรือไมถูกใชในการเขียนตัวเลขหลักหนวย มีผลตอการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอย การหาคําตอบจึงอาจทําได โดยการแยกกรณีพิจารณา เมื่อใช 0 เปนหลักหนวย และเมื่อไมไดใช 0 เปน หลักหนวย ดังนี้ วิธีทํา แยกกรณีและพิจารณาดังนี้ 1. เมื่อใชตัวเลขในหลักหนวยเปน 0 เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนสามที่มีหลักที่หลักหนวยเปน 0 ที่เขียนโดยใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมี 5 × 4 = 20 จํานวน 2. เมื่อตัวเลขในหลักหนวยไมใช 0 เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูที่หลักหนวยไมเปน 0 และเขียนโดย ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มี 4 × 4 × 2 = 32 จํานวน ดังนั้นการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 20 + 32 = 52 จํานวน
  • 5. 118 หมายเหตุ 1. ถาปญหาที่ 1, 2 และ 3 เปนปญหาที่ถามตอเนื่องกันแลว การหาคําตอบ ปญหาที่ 3 อาจใชคําตอบปญหาที่ 1 และ 2 ชวย โดยใชคําตอบปญหาที่ 2 ลบออกจากคําตอบ ปญหาที่ 1 ก็ได 2. ในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธี บางกรณีก็ใชเฉพาะการคูณ บางกรณีก็ใชการบวก ซึ่งผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจถึงลักษณะของโจทยที่จะตองใช การคูณหรือการบวก การกระทําใด ๆ ที่ยังไมสิ้นสุดการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํา นั้น ๆ เราใชการคูณ แตถาการกระทําใด ๆ สามารถแยกไดเปนหลายกรณีและแตละกรณีสิ้นสุด ลงแลว ในการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํานั้นเราใชการบวกจํานวนวิธีในแตละกรณี เขาดวยกัน ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขางตนที่ใหหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู เราแยก เปนจํานวนคูที่ลงทายดวย 0 ซึ่งมี 20 จํานวน ซึ่งการคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้สิ้นสุดลงแลว และจํานวนคูที่ไมลงทายดวย 0 ซึ่งมี 32 จํานวน การคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้ก็สิ้นสุด ลงแลวเชนกัน ดังนั้น เมื่อเราตองการทราบวาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูมีกี่จํานวน เราจึงนําจํานวนวิธีที่หาไดในแตละกรณีมาบวกกัน กลาวคือ มี 20 + 32 = 52 จํานวน และ จะเห็นวา ในการคํานวณหาจํานวนคูดังกลาวในแตละกรณีนั้น แตละตอนเปนการกระทําที่ ตอเนื่องกัน เราจึงใชวิธีคูณดังไดกลาวแลวในกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ หลักการที่ กลาวมานี้สามารถนําไปใชกับการคํานวณหาจํานวนวิธีทั้งหมดในวิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธี จัดหมูไดเชนเดียวกัน 3. ในการแกโจทยปญหา ผูเรียนมักจะพบปญหาวา โจทยขอนี้เปนเรื่อง เกี่ยวกับวิธีเรียงสับเปลี่ยนหรือวิธีจัดหมูที่เปนดังนี้อาจเปนเพราะผูเรียนไมเขาใจวาวิธีเรียง สับเปลี่ยนและวิธีจัดหมูนั้นมีความหมายตางกันอยางไร ผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจวา วิธีเรียงสับเปลี่ยนนั้นจะเกี่ยวของกับตําแหนงที่หรืออันดับที่ สวนวิธีจัดหมูนั้นไมเกี่ยวกับ ตําแหนงที่หรืออันดับ เชน 1) มีจุด 4 จุด บนเสนรอบวงของวงกลมวงหนึ่งจะลากสวนของเสนตรง ผานจุด 2 จุดไดทั้งหมดกี่เสน จะเห็นวา สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 2 และ สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 2 ไปยังจุดที่ 1 เปนสวนของเสนตรงเดียวกัน จึงไมตองคํานึง ถึงอันดับใดกอนหลัง การทําโจทยประเภทนี้เปนวิธีจัดหมู ดังนั้น จะมีสวนของเสนตรง 4 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 4! 2!2! = 6 เสน
  • 6. 119 2) จากตัวอักษรในคําวา MONDAY ถาตองการนําอักษร 3 ตัว จากคํานี้มาเรียงเปนคําใหมโดยไมคํานึงถึงความหมายจะจัดไดทั้งหมดกี่คํา จะเห็นวา ตําแหนงที่ตางกันของอักษรทั้ง 3 ตัวที่จัดนั้นทําใหเกิดคําใหม เสมอ จึงถือวาตําแหนงที่หรืออันดับที่ทําใหผลที่เกิดขึ้นตางกัน โจทยขอนี้จึงเปนวิธีเรียงสับเปลี่ยน ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได P6, 3 = 6 × 5 × 4 = 120 คํา หรืออาจจะคิดไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้ มีอักษรทั้งหมด 6 ตัว เลือกมาทีละ 3 ตัว แลวนํา 3 ตัวนี้มาจัดเรียง สับเปลี่ยนอีกครั้งหนึ่ง จํานวนวิธีเลือกทั้งหมดมี C6, 3 วิธี ในแตละวิธีของการเลือกนํามา จัดเรียงสับเปลี่ยนได 3! วิธี ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได C6, 3 × 3! = 120 คํา และในกรณีทั่วไปจะพบวา cn,r × r! = Pn, r 4. ในการพิจารณาปญหาเกี่ยวกับจํานวนวิธีในการจัดเรียงตัวอักษรหรือตัวเลข มักจะมีปญหาวาจะจัดตัวอักษรหรือตัวเลขเหลานั้นซ้ํากันไดหรือไมในกรณีที่โจทยปญหานั้น ไมบงไวอยางแนชัด ปญหาดังกลาวเปนปญหาที่เกิดจากการตีความหมายซึ่งไมมีขอตกลงหรือ ขอกําหนดที่แนนอน ผูสอนควรหลีกเลี่ยงไมใหเกิดปญหาเหลานั้นโดยการกําหนดใหชัดเจน (ดังตัวอยางในหนังสือเรียน) วาจะใชตัวเลขหรือตัวอักษรซ้ําไดหรือไม ตัวอยางโจทยปญหาที่กําหนดไวชัดเจนที่ควรจะตีความหมายไดตรงกัน (1) จะเขียนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสี่หลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้ ตัวเลขในแตละหลักใชซ้ํากันได ดังนั้น คําตอบคือ 9 × 10 × 10 × 10 จํานวน) (2) จะใชบัตร 4 ใบที่เขียนตัวเลข 1, 2, 3, 4 ไวตามลําดับเรียงใหไดจํานวน ที่มีสามหลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้การจัดเรียงแตละแบบใชบัตรไดบัตรละ 1 ครั้ง ดังนั้น คําตอบคือ 4!) (3) จะใชตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 เขียนลงในบัตรโดยเขียนเปนจํานวนที่มี หกหลัก จะเขียนไดทั้งหมดกี่บัตร (ในกรณีนี้การจัดในแตละแบบใชตัวเลขซ้ํากันได เชน หมายเลข 666333 เปนตน ดังนั้น คําตอบคือ 66 บัตร (4) จะมีวิธีจัดเรียงตัวอักษรในคําวา “HEAD” ไดกี่วิธีถาไมสนใจความ หมายของคําที่เกิดขึ้น (ในกรณีนี้คลายกับกรณีในขอ (2) ซึ่งคลายกับวา ตัวอักษรแตละตัว เขียนอยูในบัตร นําบัตรมาจัดเรียงอันดับใหม คําตอบคือ 4!) (5) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในเซต {0, 1, 2, 3, 4} ไดกี่วิธี (ในกรณีนี้คลาย
  • 7. 120 กับกรณีในขอ (4) คําตอบคือ 5!) (6) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในจํานวน “2435” ไดกี่วิธี ( คําตอบคือ 4!) (7) จะสรางจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักจากตัวเลข 1, 4, 6, 9 ไดกี่จํานวน (ในกรณีนี้โดยทั่วไปจะหมายถึงวาใชตัวเลขซ้ําได แตเพื่อปองกันมิใหเกิดปญหา ควรเขียน ใหชัดเจนลงไปวา ใชตัวเลขซ้ํากันได) 5. ในเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม อาจมีปญหาเกี่ยวกับการหาจํานวนวิธี เชน การรอยลูกปดเปนวงกลม หรือการรอยพวงมาลัยเปนวงกลม เปนตน การหาจํานวนวิธีรอยลูกปด 4 ลูก ซึ่งมีสีขาว สีแดง สีฟา และสีมวง เปนวงกลม มีไดกี่วิธี ถาการจัดเรียงเปนวงกลมนี้ จะจัดได (4 – 1)! = 6 วิธี ดังรูป (1) (2) ให ข แทนสีขาว ส แทนสีแดง ฟ แทนสีฟา ม แทนสีมวง (3) (4) (5) (6) แตถาเรารอยลูกปดของแตละวิธีที่จัดเรียงไวเขาดวยกันเปนวงกลม จะเห็นวา เรารอยไดเพียง 3 วิธี คือ (1), (3) และ (5) เพราะในการรอยแบบ (1) ทําใหเกิดแบบ (2) ดวย ข ส ฟ ม ข ม ฟ ส ข ฟ ม ส ข ส ม ฟ ข ม ส ฟ ข ฟ ส ม
  • 8. 121 กลาวคือ เมื่อพลิกอีกดานหนึ่งของ (1) ขึ้น ก็จะไดการจัดเรียงแบบ (2) นั่นเอง ทํานองเดียว กัน ถาพลิกอีกดานหนึ่งของ (3) จะไดการจัดเรียงแบบ (4) และพลิกแบบ (5) ก็ไดการจัดเรียง แบบ(6) ดังนั้น ในการรอยลูกปด 4 ลูก รอยได 3 วิธี โดยทั่วไปจํานวนวิธีจัดเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมในลักษณะที่กลาวขางตน กลาวคือมีการพลิกกลับอีกดานหนึ่งได จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนจะเปนครึ่งหนึ่งของจํานวน วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมที่กลาวไวในหนังสือเรียน 6. กรณีที่วา ถามีสิ่งของอยู n สิ่ง ในจํานวนนี้มี n1 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุม ที่ 1 มี n2 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ 2 ... และมี nk สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ k โดยที่ n1 + n2 + ... + nk = n จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของทั้ง n สิ่งเทากับ 1 2 k n! n !n ! n !L กฎนี้บางครั้งเรียกวา “กฎการแบงกลุม” (Partitioning Law) เพราะอาจใช คํานวณจํานวนวิธีที่จะแบงคนหรือสิ่งของ n สิ่ง ออกเปน k กลุม โดยใหกลุมที่ 1 มี n1 สิ่ง กลุมที่ 2 มี n2 สิ่ง ... กลุมที่ k มี nk สิ่ง และ n1 + n2 + ... + nk = n การใชกฎนี้คํานวณ หาจํานวนวิธีที่จะแบงสิ่งของดังกลาวขางตนมีขอควรระวังวา จํานวนสิ่งของในแตละกลุม จะตองไมเทากัน และสิ่งของที่นํามาแบงตองแตกตางกันทั้งหมด สมมุติวามีของ 4 สิ่ง คือ A, B, C และ D ตองการแบงออกเปนสองกลุม กลุมหนึ่งมี 3 สิ่ง อีกกลุมหนึ่งมี 1 สิ่ง จะแบงไดดังนี้ A, B, C กับ D A, B, D กับ C A, C, D กับ B B, C, D กับ A จะเห็นวา แบงไดทั้งหมด 4 วิธี วิธีการแบงก็คือเลือกของที่จะใหเปนกลุมแรกออกมากอน ของที่เหลือก็จะ เปนอีกกลุมหนึ่ง ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะแบงของดังกลาว จะเทากับจํานวนวิธีของการเลือก ของ 3 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ C4, 3 = 4! 3!1! = 4 วิธี
  • 9. 122 หรือจะเทากับจํานวนวิธีของการเลือกของ 1 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ C4, 1 = 4! 1!3! = 4 วิธี กลาวโดยทั่วไปไดวา ถามีสิ่งของ p + q สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดตองการ แบงออกเปนสองกลุม ๆ ละ p และ q สิ่ง โดยที่ p ≠ q จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ Cp+q, p หรือ Cp+q, q โดยที่ Cp+q, p = (p q)! p!q! + Cp+q, q = (p q)! p!q! + ถาตองการแบงสิ่งของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดและแบงเปน 3 กลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r ก็ทําไดโดยการแบงของ p + q + r สิ่ง ออกเปนสองกลุมกอน โดยใหกลุมที่หนึ่งมีของ p สิ่ง อีกกลุมหนึ่งจะมีของ q + r สิ่ง จํานวนวิธีแบงของ p สิ่ง จาก p + q + r สิ่ง เทากับ Cp+q+r, p Cp+q+r, p = (p q r)! p!(q r)! + + + ในแตละวิธีของการแบงกลุมครั้งนี้จะแบงของ q + r สิ่ง ออกเปนสองกลุม ๆ ละ q และ r สิ่ง จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ Cq+r, q หรือ Cq+r, r ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะแบงของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันออก เปนสามกลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r จะมีทั้งหมด p q r q r p q + + +⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = (p q r)! (q r)! p!(q r)! q!r! + + + × + = (p q r)! p!q!r! + + ในทํานองเดียวกัน ถาตองการแบงของ n สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมด ออกเปน k กลุม ๆ ละ n1, n2, ..., nk สิ่ง โดยที่ n1 ≠ n2 ≠ ... ≠ nk และ n1 + n2 + ...+ nk = n จํานวนวิธีแบงทั้งหมดเทากับ 1 2 k n! n !n ! n !L ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คัน โดยที่ รถยนตแตละคันบรรทุกได 5, 7 และ 8 คน ตามลําดับ วิธีคิด การจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คันนี้ก็คือ การแบงนักเรียน 20 คน ออกเปนสามกลุม ๆ ละ 5, 7 และ 8 คน เมื่อแบงแลวใหแตละกลุมขึ้นรถยนต
  • 10. 123 ตามขนาดบรรทุกที่กําหนด เชนกลุมที่มีนักเรียน 5 คน ก็ขึ้นรถยนตคันที่บรรทุก ได 5 คน จึงไมตองมีการสลับกลุมเพื่อขึ้นรถยนต และในรถยนตแตละคัน นักเรียนไมตองสลับที่กันนั่ง เพราะจะสลับกันอยางไรก็อยูในรถยนตคันเดียวกัน นั่นเอง วิธีทํา จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียนใหขึ้นรถยนตได 20! 5!7!8! = 99,768,240 วิธี 7. การนําเขาสูบทเรียนเรื่องปริภูมิตัวอยาง ควรใหผูเรียนเขียนผลลัพธที่เปน ไปไดทั้งหมด ซึ่งอาจใชการเขียนแผนภาพตนไมชวย แลวจึงบอกใหผูเรียนทราบวา เซตของ ผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดคือปริภูมิตัวอยาง 8. ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ที่เปนสับเซตของปริภูมิตัวอยาง โดยใชบทนิยาม P(E) = n N เมื่อ n เปนจํานวนสมาชิกของเหตุการณ และ N เปนจํานวน สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง S จะใชไดก็ตอเมื่อ S เปนเซตจํากัดและแตละสมาชิกในปริภูมิ ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กัน เชน ก. ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 10 ลูก สีขาว 5 ลูก หยิบลูกบอลมา 1 ลูก สนใจสีของลูกบอลที่หยิบได ปริภูมิตัวอยาง คือ S = {สีแดง, สีขาว} ถาสนใจเหตุการณ E ที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดง E = {สีแดง} ถาใชสูตรโดยไมพิจารณาเงื่อนไขจะได P(E) = 1 2 ซึ่งผิด เนื่องจากแตละสมาชิกในปริภูมิ ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เพราะในถุงมีลูกบอลสีแดงมากกวาสีขาว ดังนั้น โอกาสที่จะไดลูกบอลสีแดงจึงมีมากกวาโอกาสที่หยิบไดลูกบอลสีขาว แตถาเขียน S และ E ใหมดังนี้ S = {x⏐x เปนลูกบอลในถุง} E = {x⏐x เปนลูกบอลสีแดงในถุง} จะใชสูตร P(E) = n N ได เพราะสมาชิกแตละตัวใน S มีโอกาสที่จะถูกหยิบไดเทา ๆ กัน ดังนั้น จะได P(E) = 10 15
  • 11. 124 ถา E เปนเหตุการณที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 จากการทอดลูกเตา 2 ลูก 1 ครั้ง จะหา P(E) โดยใชปริภูมิตัวอยาง S = {2, 3, 4, ..., 12} ไมได เนื่องจากแตละ สมาชิกในปริภูมิตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เชน การที่จะไดผลรวมเปน 2 มี โอกาสเกิดขึ้นไดวิธีเดียวคือ ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 1 ดวย แตการที่จะไดผลรวมเปน 3 มีได 2 วิธี คือ ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 2 ลูกแรกขึ้น 2 และลูกหลังขึ้น 1 จะเห็นวา การที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นไดมากกวาที่จะ ไดผลรวมของแตมเปน 2 ดังนั้น ในการหาความนาจะเปนโดยใชสูตร P(E) = n N ปริภูมิตัวอยาง S จะตองประกอบดวยสมาชิกที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กันคือ S = {(1, 1), (1, 2), ...., (1, 6), ... (6, 1), (6, 2), ..., (6, 6)} E = {(1, 2), (2, 1)} 9. ผูสอนควรใหผูเรียนใชกฎที่สําคัญบางประการของความนาจะเปน และชี้ใหเห็น วาปญหาบางปญหาอาจทําไดทั้ง 2 วิธี แตบางครั้งการใชกฎทําใหหาคําตอบไดรวดเร็วกวา เชน การทอดลูกเตา 3 ลูก ใหหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมบนหนาลูกเตามากกวา 3 ให E1 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมเปน 3 E2 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมมากกวา 3 ( ){ }1E = 1,1,1 ในการทอดลูกเตา 3 ลูก 1 ครั้ง จํานวนวิธีที่จะเกิดผลลัพธมีได 6 × 6 × 6 = 63 วิธี P(E1) = 3 1 6 แต E2 เปนคอมพลีเมนตของเหตุการณ E1 ดังนั้น P(E2) = 3 1 1 6 − 10. ในการใชสูตร P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
  • 12. 125 ผูสอนควรชี้ใหเห็นวา สูตรนี้ใชไดเมื่อ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด รวมกันเทานั้น ผูสอนควรใหผูเรียนยกตัวอยางเหตุการณ E1, E2 แลวหาวา E1 ∩ E2 เปน เซตวางหรือไม ถา E1 ∩ E2 = ∅ แสดงวา เหตุการณ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด รวมกัน บางครั้งเปนการยากที่จะแจกแจงเซต E1, E2 ซึ่งทําใหพิจารณาจาก E1 ∩ E2 ไมได การพิจารณาวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่เกิดรวมกันหรือไม จึงตองพิจารณาสมบัติของ สมาชิกใน E1 วาเปนสมาชิกใน E2 ไดหรือไม ถาไดแสดงวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ เกิดรวมกันจึงตองใชสูตร P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) – P(E1 ∩ E2) ผูสอนอาจยกตัวอยางของการพิจารณาวาเหตุการณ 2 เหตุการณเปนเหตุการณ ที่ไมเกิดรวมกัน เชน ดึงไพ 2 ใบ จากไพสํารับหนึ่งซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนที่หยิบไดไพ โพดํา 2 ใบ หรือโพแดงอยางนอย 1 ใบ ให E1 เปนเหตุการณซึ่งไดโพดํา 2 ใบ E2 เปนเหตุการณซึ่งไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ จะหา P(E1 ∪ E2) เนื่องจากสมาชิกของเหตุการณใน E1 ไมมีสมบัติที่จะเปนสมาชิกในเหตุการณ E2 เพราะในการหยิบไพ 2 ใบ เมื่อหยิบไดโพดํา 2 ใบ แลวจะหยิบไพโพแดงอยางนอยอีก 1 ใบ ยอมเปนไปไมได ดังนั้น E1 และ E2 จึงเปนเหตุการณที่ไมเกิดรวมกัน จะได P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ จากไพ 52 ใบ มี 52 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ วิธี วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ และเปนโพดําทั้งคูมี 13 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ วิธี ดังนั้น P(E1) = 13 2 52 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ใหไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ จํานวนวิธีที่จะหยิบ ไพโพแดง 1 ใบ และไพอื่น ๆ 1 ใบ รวมกับจํานวนวิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ไดโพแดงทั้ง 2 ใบ ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ 13 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 39 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 13 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 13. 126 จะได P(E2) = 13 39 13 1 1 2 52 2 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ดังนั้น P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) = 13 13 39 13 2 1 1 2 52 52 2 2 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠+ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ กิจกรรมเสนอแนะ กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 1. ในการสอนเรื่องนี้ ผูสอนอาจใหตัวอยางโจทยปญหาที่ใชกฎเกณฑเบื้องตน เกี่ยวกับการนับ โดยใหผูเรียนแสดงวิธีทําหลาย ๆ วิธีเชน 1.1 โดยอาศัยแผนภาพตนไม 1.2 โดยอาศัยผลคูณคารทีเซียน 1.3 โดยอาศัยกฎการบวก และกฎการคูณของกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 2. ผูสอนยกตัวอยางโจทยที่มีเงื่อนไขบางอยางในตัว เชน ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูไดทั้งหมดกี่จํานวน ถา 1) ตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได 2) ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน กอนที่ผูสอนจะใหผูเรียนหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งเขียนไดโดยใช ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 และตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได ผูสอนอาจใชคําถามเพื่อชวยให ผูเรียนหาคําตอบไดงายขึ้น ดังนี้ 2.1 ผูสอนใหผูเรียนอธิบายความหมายของจํานวนที่มีสามหลักซึ่งผูเรียนอาจ อธิบายไดวา หมายถึงจํานวนที่ประกอบดวยเลขโดด 3 ตัว โดยที่ตัวเลขในหลักรอยตองไม เปน 0 2.2 ผูสอนถามผูเรียนวาคําวาตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได หมายความวาอยางไร พรอมทั้งใหผูเรียนยกตัวอยาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวาตัวเลขในหลักหนวยหลักสิบหรือหลักรอย อาจเหมือนกันได เชน 221, 303, 444 เปนตน
  • 14. 127 2.3 ผูสอนถามผูเรียนวาจํานวนคูหมายความวาอยางไร พรอมทั้งใหยกตัวอยาง จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ผูเรียนควรตอบไดวา หมายถึงจํานวนที่ 2 หารลงตัว 2.4 ผูสอนถามวา สําหรับปญหาขางตนผูเรียนคิดวาตัวเลขในหลักหนวยควรเปน ตัวเลขอะไรไดบาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา 0, 2 และ 4 พรอมทั้งยกตัวอยางจํานวนคูที่มี สามหลัก เชน 344, 430, 552 ผูสอนถามผูเรียนตอไปวา จากตําแหนงของตัวเลขในสามหลักนี้ จะเขียน ตัวเลขในหลักหนวยไดกี่วิธี นักเรียนควรตอบไดวามี 3 วิธี (คือ 0, 2 หรือ 4) ผูสอนถาม ตอไปวาในแตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยจะเขียนตัวเลขในหลักสิบไดกี่วิธี ผูเรียนควร ตอบไดวา 6 วิธี (คือตัวเลขทุกตัว) ผูสอนถามตอวา ในทํานองเดียวกันจะเขียนตัวเลขใน หลักรอยไดกี่วิธี ผูเรียนควรตอบไดวา 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4 หรือ 5) ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขดังกลาว โดยเริ่มจากวิธีเขียนตัวเลขใน หลักรอยหรือหลักสิบกอน ซึ่งผูเรียนจะเห็นวาไดคําตอบเทากัน ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปวา เนื่องจากตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได ดังนั้น การหาหลักใดกอนหลังก็ได การหาจํานวนคูที่มีสามหลักที่แตละหลักซ้ํากันได จึงควรเปนดังนี้ เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 3 วิธี (คือ 0, 2, 4) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยเขียนตัวเลขในหลักสิบได 6 วิธี (คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4, 5) ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได จึงมี ทั้งหมด 5 × 6 × 3= 90 จํานวน ผูสอนถามผูเรียนวาการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ควรเริ่มที่หลักใด เพราะเหตุใด ผูสอนและผูเรียนลองทําโจทย โดยเริ่มจากหลักหนวยกอนซึ่งจะพบปญหาวา ถาหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ที่ไมใช 0 แลวจะทําใหเกิดความยุงยากเมื่อหาจํานวนที่เขียนตัวเลข ในหลักรอย เพราะการที่หลักหนวยเปน 0 หรือหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ทําใหจํานวนวิธี เขียนตัวเลขในหลักรอยไมเทากัน การพิจารณาจึงตองแยกออกเปน 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 เมื่อหลักหนวยเปน 0 แลวหาจํานวนวิธีหลักอื่น ๆ ที่เหลือ โดยจะหาหลักใดกอนก็ได กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ตองหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยกอน (เพื่อ
  • 15. 128 ไมให 0 อยูในหลักนี้) แลวจึงหาวิธีเขียนหลักสิบ ดังนั้น ในการหาจํานวนดังกลาวควรทําดังนี้ กรณีที่ 1 เมื่อหลักหนวยเปน 0 ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 1 วิธี แตละวิธีที่ตัวเลขในหลักหนวยเปน 0 เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ซึ่งหลักหนวยเปน 0 และตัวเลข ในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 5 × 1 = 20 จํานวน กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย จะเขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี (คือ 1, 2, 3, 5 หรือ 1, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบ ได 4 วิธี (คือตัวเลขที่เหลือ) นั่นคือ จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 และ ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 4 × 2 = 32 จํานวน ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งหมด 20 + 32 = 52 จํานวน แฟกทอเรียล n 1. ผูสอนใหความหมายของสัญลักษณ n! วา หมายถึง ผลคูณของจํานวนเต็มบวก ตั้งแต 1 ถึง n จากนั้นผูสอนใหผูเรียนฝกหาจํานวนตาง ๆ ที่อยูในรูปแฟกทอเรียล เชน 9! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... 8 ⋅ 9 (n + 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... n(n + 1) (n – 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... (n – 2)(n – 1) 2. ผูสอนฝกใหผูเรียนเขียนจํานวนที่อยูในรูปแฟกทอเรียลใหอยูในรูปที่ไมมี แฟกทอเรียลปรากฏอยู เชน กําหนดจํานวน 7!3! 5! , (n 1)! n! − ใหผูเรียนเขียนจํานวนเหลานี้
  • 16. 129 ในรูปที่ไมมีแฟกทอเรียลปรากฎอยู 3. ผูสอนใหผูเรียนฝกแกสมการที่มีรูปแฟกทอเรียลปรากฏอยู พรอมทั้งอาจชี้ให เห็นดวยวา ผูเรียนอาจทําไดโดยใชอีกวิธีหนึ่งดังนี้ ถา (n 3)! (n 1)! + + = 30 จงหา n (n 3)(n 2)(n 1)! (n 1)! + + + + = 30 (n + 3)(n + 2) = 30 ---------- (1) เนื่องจากจํานวนทางซายของเครื่องหมาย “เทากับ” ในสมการ (1) เปนผลคูณ ของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวนที่ตางกันอยู 1 ดังนั้น เราจึงพยายามเขียนจํานวนที่อยูทางขวา ของเครื่องหมาย “เทากับ” ใหอยูในรูปผลคูณของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวน ที่ตางกันอยู 1 เหมือนทางซาย นั่นคือ จะเขียนสมการ (1) ใหมเปน (n + 3)(n + 2) = 6 × 5 จะได n + 3 = 6 และ n + 2 = 5 ดังนั้น n = 3 วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู มีธงสีตาง ๆ อยู 5 สี ธงละหนึ่งสี จงหาจํานวนวิธีที่จะสงสัญญาณธงโดย อาศัยการสลับที่ธง 3 ธง เรียงตามแนวดิ่ง 1. ในการสอนตามโจทยตัวอยางขางตน ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณเปนธงกระดาษสี ตาง ๆ 5 สี เพื่อใชประกอบคําอธิบายความหมายของสัญลักษณธงตามโจทย เมื่อผูเรียนเขาใจ วิธีทําแลวอาจใหทํากิจกรรมตอเนื่องจากตัวอยางตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้ 1.1 แบงกลุมผูเรียนออกเปน 5 กลุม เรียกชื่อกลุมวา กลุมที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามลําดับ แลวใหแตละกลุมตอบคําถามตอไปนี้ ก. ถาให ส1, ส2, ส3, ส4 และ ส5 แทนสีของธงแตละผืน แลวจะมีวิธีให สัญญาณธงกี่วิธี ถากําหนดวาตองใชสีที่กํากับดวยตัวเลขเดียวกันกับชื่อของกลุมในตําแหนงที่ หนึ่งของสัญญาณ ข. ถาตองการใหแสดงสัญญาณธงที่เปนไปไดทั้งหมด จากโจทยตัวอยาง ขางตน ซึ่งมี 60 วิธี โดยการตัดกระดาษสี 5 สี เปนรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ขนาดเทา ๆ กัน ติดลง
  • 17. 130 บนกระดาษขาว จะตองตัดกระดาษแตละสีเปนจํานวนเทาไร ค. ถาจะแบงกระดาษสีในขอ ข ใหแตละกลุมที่แบงไวเพื่อใชแสดงสัญญาณ ธงของแตละกลุมตามคําถามขอ ก จะตองแบงกระดาษสีใหแตละกลุมอยางไร ง. ถาใหใชกระดาษสีตามที่แบงในขอ ค ติดลงบนกระดาษขาว เพื่อแสดง สัญญาณธงทั้งหมดที่กลุมคํานวณไดในคําถามขอ ก วิธีหนึ่งที่ทําไดคือติดกระดาษสีลงไป โดยแผนแรกเปนสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุม แผนที่สองและสามเลือกใช กระดาษสีไมซ้ํากัน เนื่องจากจํานวนกระดาษสีที่แบงตามขอ ค พอดีกับจํานวนวิธีอยูแลวจะ สามารถติดกระดาษสีแสดงสัญญาณไดครบพอดี แตถาจะติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎ เกณฑเบื้องตนของการนับควรจะทําอยางไร ใหแตละกลุมรายงานผลการพิจารณาหาคําตอบปญหา ก ถึง ง เมื่อเห็น วาคําตอบถูกตองดีแลว และตองการใหผูเรียนฝกปฏิบัติ ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณที่ตองใช เพื่อใหผูเรียนปฏิบัติจริงตามคําตอบขอ ง ก็ได ในกรณีที่จําเปนอาจใหใชวิธีระบายสีแทนการ ติดกระดาษลงบนกระดาษขาวก็ได 1.2 การเสนอปญหาอภิปรายรวมในหอง ก. ถาผูสอนตองการใหผูเรียนแบงกลุมกันติดกระดาษสี เพื่อแสดงสัญญาณธง ที่เปนไปไดทั้งหมดในโจทยตัวอยางขางตน ซึ่งมีทั้งหมด 60 วิธี โดยใหเริ่มตั้งแตการตัดกระดาษ สีจากแผนใหญเปนชิ้นเล็ก ๆ วิธีที่งายที่สุดคือ แจกกระดาษสีใหแตละกลุม ๆ ละ 3 แผนใหญ แผนละสี กระดาษสีของแตละกลุมจะเหมือนกันทั้งหมดไมได จากกระดาษสีที่มีสีเปน ส1, ส2, ส3, ส4 และ ส5 ผูสอนถามผูเรียนวาจะจัดแบงกลุมไดทั้งหมดกี่กลุม และแตละกลุมไดกระดาษ สีใดบาง ข. ถาแบงกลุมตามขอ ก แตละกลุมจะติดกระดาษสีแสดงสัญญาณธงได กี่สัญญาณ หลังการอภิปรายในขอ 1.2 ผูสอนอาจนําอภิปรายเพื่อสรุปวาการเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมูมีความสัมพันธกันอยางไร โดยบอกวาในปญหาขอ ก นั้น เปนการจัดหมูของ 3 สิ่ง จาก 5 สิ่ง ซึ่งจํานวนวิธีเขียนดวยสัญลักษณเปน C5, 3 สวนปญหาในขอ ข นั้นเปนการ นําสิ่งที่จัดหมูแลวมาจัดเรียงลําดับซึ่งแตละหมูจะจัดได 3! วิธี ทําใหไดวา 3! C5, 3 = P5, 3 และในกรณีทั่วไปจะไดวา r! Cn, r = Pn, r
  • 18. 131 หรือ Cn, r = n,rP r! วิธีดังกลาวเปนการเชื่อมโยงการสอนเรื่องเดิมไปสูการสอนเรื่องใหมซึ่งเปนวิธี การเริ่มตนสอนเนื้อหาใหมวิธีหนึ่ง หมายเหตุ 1. แนวตอบคําถามในกิจกรรม 1.1 และ 1.2 มีดังนี้ 1.1 ก. แตละกลุมควรไดคําตอบเทากับ 1 × 4 × 3 = 12 วิธี ข. เนื่องจากตองแสดงสัญญาณทั้งสิ้น 60 สัญญาณ แตละสัญญาณใช กระดาษ 3 ชิ้นเล็ก จึงเปนกระดาษชิ้นเล็กทั้งหมด 180 ชิ้น ดังนั้น แตละสีจึงตองตัดไว 36 ชิ้น ค. แตละกลุมจะไดรับแบงกระดาษสีดังนี้ สีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมจะไดรับ 12 ชิ้น สวนสี อื่นที่เหลือไดรับสีละ 6 ชิ้น ง. ใชแผนภาพตนไมชวย เชน แผนภาพตนไมของกลุมที่ 1 และ 2 จะเปนไดดังนี้ ตําแหนงที่ 1 2 3 ส3 ส1 ส2 ส3 ส2 ส4 ส1 ส2 ส4 ส5 ส1 ส2 ส5 ส4 ส1 ส3 ส4 ส3 ส5 ส1 ส3 ส5 ส2 ส1 ส3 ส2 ส1 ส5 ส1 ส4 ส5 ส4 ส2 ส1 ส4 ส2 ส3 ส1 ส4 ส3 ส2 ส1 ส5 ส2 ส5 ส3 ส1 ส5 ส3 ส4 ส1 ส5 ส4
  • 19. 132 ตําแหนงที่ 1 2 3 ส4 ส2 ส3 ส4 ส3 ส5 ส2 ส3 ส5 ส1 ส2 ส3 ส1 ส5 ส2 ส4 ส5 ส4 ส1 ส2 ส4 ส1 ส3 ส2 ส4 ส3 ส2 ส1 ส2 ส5 ส1 ส5 ส3 ส2 ส5 ส3 ส4 ส2 ส5 ส4 ส3 ส2 ส1 ส3 ส1 ส4 ส2 ส1 ส4 ส5 ส2 ส1 ส5 จากแผนภาพตนไมจะไดวิธีติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎเกณฑเบื้องตนของ การนับโดยเริ่มติดกระดาษสีดังนี้ 1. ติดกระดาษสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมในตําแหนงที่หนึ่งของ สัญญาณทั้ง 12 สัญญาณ 2. ติดกระดาษสีอีกสี่สีที่เหลือในตําแหนงที่สองของสัญญาณโดยติดสีละ 3 สัญญาณ (ดูแผนภาพตนไมประกอบ) 3. ติดกระดาษสีอีกสามสีที่เหลือในตําแหนงที่สามของสัญญาณโดยเลือกสีที่ไม ซ้ํากับสองสีแรก 1.2 ก. 10 กลุม เชน กลุมที่ 1 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส3 กลุมที่ 2 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส4 กลุมที่ 3 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส5 กลุมที่ 4 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส4
  • 20. 133 กลุมที่ 5 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส5 กลุมที่ 6 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส3 ส4 ส5 กลุมที่ 7 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส4 กลุมที่ 8 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส5 กลุมที่ 9 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส4 ส5 กลุมที่ 10 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส4 ส5 จากคําตอบขอนี้จะไดวา ถาตองการเตรียมกระดาษสีแผนใหญใหทํากิจกรรมตอง เตรียมไวสีละ 6 แผน ข. 6 สัญญาณ ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. ญาดาทอดลูกเตาสองลูก 1 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองดังนี้ (1) แตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน (2) ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู 2. ภากรสุมหยิบไพ 1 ใบ จากไพสํารับหนึ่ง ซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนของเหตุการณ ที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King 3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีบัตรที่ใหรางวัลอยู 6 ใบ ถาสุมหยิบบัตรขึ้นมา 6 ใบ จงหาความนาจะเปนที่จะไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมด 4. เอกสะสมเหรียญสิบบาทไวในกระปุกออมสินดังนี้ เปนเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 จํานวน 10 อัน และเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2545 จํานวน 20 อัน ถาสุมหยิบเหรียญสิบบาท ขึ้นมา 2 เหรียญ จงหาความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญ 5. ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 8 ลูก ลูกแกวสีฟา 3 ลูก ลูกแกวสีเขียว 6 ลูก และลูกแกว สีเหลือง 3 ลูก ถาอภิรดีสุมหยิบลูกแกวครั้งละ 1 ลูก โดยไมใสคืนจํานวนสองครั้ง จงหาความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
  • 21. 134 6. สมาคมแหงหนึ่ง ตองการจะหาเงินชวยสถานสงเคราะหผูปวยโรคหัวใจ จึงออกสลาก การกุศลจํานวน 500 ใบ เพื่อขายใหกับสมาชิกของสมาคมโดยขายในราคาใบละ 100 บาท และมีรางวัลพิเศษใหกับสมาชิกที่ซื้อสลาก 1 รางวัล เปนจักรยาน 1 คัน ถานวพลซื้อสลาก การกุศลครั้งนี้ 10 ใบ จงหาความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลเปนรถจักรยาน 1 คัน 7. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เปนนักเรียนชาย 19 คน และ นักเรียนหญิง 21 คน ถาตองการเลือกตัวแทนของนักเรียนในหองนี้โดยการสุมครั้งละ 1 คน จงหาความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน 8. ตารางตอไปนี้แสดงจํานวนนักเรียนที่เดินทางมาโรงเรียนโดยการขี่จักรยานและนั่งรถ ประจําทางมา และมีบางขอมูลขาดหายไป พาหนะ จํานวนนักเรียน จักรยาน รถประจําทาง นักเรียนชาย นักเรียนหญิง ....... 38 32 46 รวม 122 ......... จงหาความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียนมา 1 คน และเปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่ง รถประจําทางมาโรงเรียน 9. จงหาความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ และตกลงบนพื้นที่สวนที่แรเงา 10. การแขงขันเตะตะกรอของทีมสองทีมที่มีความสามารถเทาเทียมกัน 5 ครั้ง ทีมชนะเลิศ จะตองเปนทีมแรกที่ชนะคูแขง 3 ครั้ง ถาทีม A ชนะการแขงขันครั้งแรก จงหาความนาจะเปน ที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศ
  • 22. 135 เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ 1. ให S เปนปริภูมิตัวอยาง S = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6), (4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)} n(S) = 36 ให E1 แทนเหตุการณที่ไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน E1 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3), (4, 4), (5, 5), (6, 6)} n(E1) = 6 ให E2 แทนเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู E2 = {(1, 1), (1, 3), (1, 5), (2, 2), (2, 4), (2, 6), (3, 1), (3, 3), (3, 5), (4, 2), (4, 4), (4, 6), (5, 1), (5, 3), (5, 5), (6, 2), (6, 4), (6, 6)} n(E2) = 18 P(E1) = 6 36 = 1 6 และ P(E2) = 18 36 = 1 2 ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน เทากับ 1 6 และความนาจะเปนของเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู เทากับ 1 2 2. ไพสํารับหนึ่ง มีไพหนาหัวใจจํานวน 13 ใบ และไพหนา King 4 ใบ แตในไพหนาหัวใจจะมีไพหนา King รวมอยูดวย 1 ใบ ดังนั้น ไพหนาหัวใจหรือไพหนา King มีจํานวน 13 + 4 – 1 = 16 ใบ ให S เปนปริภูมิตัวอยาง ดังนั้น n(S) = 52 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 52
  • 23. 136 ให E แทนเหตุการณที่ไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King n(E) = 16 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 16 P(E) = 16 52 = 4 13 ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King เทากับ 4 13 3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีจํานวนทั้งหมด 50 ใบ ให S เปนปริภูมิตัวอยาง ดังนั้น n(S) = 50 6 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 50! 6!44! = 15,890,700 ให E แทนเหตุการณที่หยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหกใบ n(E) = 6 6 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 6! 6!0! = 1 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะหยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมดเทากับ 1 15,890,700 4. เหรียญสิบบาทมีทั้งหมด 10 + 20 = 30 อัน ให S เปนปริภูมิตัวอยาง ดังนั้น n(S) = 30 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 435 ให E แทนเหตุการณที่เอกหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญ n(E) = 10 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 45 P(E) = n(E) n(S) = 45 435 = 9 87 ดังนั้น ความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญเทากับ 9 87 5. ลูกแกวทั้งหมดมี 8 + 3 + 6 + 3 = 20 ลูก ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 20 19 1 1 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 380 ให E แทนเหตุการณที่อภิรดีหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก n(E) = 8 7 1 1 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 56
  • 24. 137 P(E) = n(E) n(S) = 56 380 = 14 95 ดังนั้น ความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกเทากับ 14 95 6. สลากการกุศลจํานวน 500 ใบ ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 500 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 500 ให E แทนเหตุการณที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษ n(E) = 10 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 10 P(E) = 10 500 = 1 50 = 0.02 ดังนั้น ความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษเปนรถจักรยานเทากับ 0.02 7. จํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 มีทั้งหมด 19 + 21 = 40 คน ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 40 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 39 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1,560 ให E แทนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน n(E) = 19 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 20 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 380 P(E) = 380 1,560 = 19 78 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน เทากับ 19 78 8. จากตารางในโจทย จํานวนนักเรียนชายมี 122 – 38 = 84 คน และจํานวนนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมี 32 + 46 = 78 คน ดังนั้น จํานวนนักเรียนทั้งหมด 84 + 38 + 32 + 46 = 200 คน ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 200 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 200 จํานวนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน 84 + 32 + 46 = 162 คน
  • 25. 138 ให E เปนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน n(E) = 162 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 162 P(E) = 162 200 = 81 100 = 0.81 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียน 1 คน ที่เปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถ ประจําทางมาโรงเรียนเทากับ 0.81 9. รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีดานยาว 12 หนวย และมีดานกวาง 10 หนวย พื้นที่ทั้งหมดเทากับ 12 × 10 = 120 ตารางหนวย พื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ 1 1 8 3 8 5 2 2 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ × × + × ×⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 12 + 20 = 32 ตารางหนวย ดังนั้น ความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ ตกบนพื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ 32 120 = 4 15 10. ความนาจะเปนที่ทีมแตละทีมจะชนะเทากับ 1 2 ความนาจะเปนที่ทีม A ชนะจากการแขงขัน 3 ครั้ง เทากับ 3 1 2 = 1 8 ดังนั้น ในการแขงขัน 5 ครั้ง เมื่อทีม A เปนทีมที่ชนะในการแขงขันครั้งแรก ความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดขึ้นมีดังนี้ AA 1 4 ABA 1 8 ABBA 1 16 BAA 1 8 BABA 1 16 BBAA 1 16 ดังนั้น ความนาจะเปนที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศเทากับ 1 1 1 1 1 1 4 8 8 16 16 16 + + + + + = 4 2 2 1 1 1 16 + + + + + = 11 16
  • 26. 139 เฉลยแบบฝกหัด 3.1 1. เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน A มีเสนทางได 3 เสนทาง เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน B มีเสนทางได 4 เสนทาง เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน C มีเสนทางได 3 เสนทาง ดังนั้น มีจํานวนเสนทางจาก X ไปยัง Y ทั้งหมด 10 เสนทาง D Y A E Y F Y D Y E Y X B F Y G Y E Y C F Y G Y 2. จํานวนเสนทางจาก N ไปยัง S มีทั้งหมด 5 + 3 + 5 = 13 เสนทาง โดยมีรายละเอียดดังแผนภาพ S N 1 A B C I D E J 2 3 F G H K
  • 27. 140 จากแผนภาพขางตนสามารถเขียนเปนแผนภาพตนไมไดดังนี้ A I S A I S 1 B I S C I S C I S D J S N 2 E J S E J S F K S G K S 3 G K S H K S G K S 3. (1) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป B มี 3 เสนทาง (2) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก B ไป C มี 1 เสนทาง (3) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก C ไป D มี 5 เสนทาง (4) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก D ไป E มี 6 เสนทาง (5) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป E มี 90 เสนทาง 4. (1) จุดยอด X อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป จุดยอด Y อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป ดังนั้น จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก XCY มี 12 รูป (2) จํานวนรูปสามเหลี่ยมโดยมีจุดยอด 3 จุด จาก A, B, C, D, E, F มี 15 รูป 5. จากรูป ชวงที่ 1 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 3 วิธี ชวงที่ 2 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 2 วิธี ชวงที่ 3 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 5 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมด 3 × 2 × 5 = 30 วิธี ชวงที่ 1 ชวงที่ 2 ชวงที่ 3
  • 28. 141 6. มีจุดยอดอยูบนดาน 3 ดาน เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 2 × 3 = 18 รูป มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน BC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 1 × 6 = 6 รูป มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AB เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป ดังนั้น มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 18 + 15 + 6 + 15 = 54 รูป 7. เมื่อไมมีอักษร 2 ตัวติดกันซ้ํากัน อักษรตัวที่หนึ่งเลือกได 26 วิธี อักษรตัวที่สองเลือกได 25 วิธี อักษรตัวที่สามเลือกได 25 วิธี อักษรตัวที่สี่เลือกได 25 วิธี อักษรตัวที่หาเลือกได 25 วิธี ดังนั้น จะสรางคําไดทั้งหมด 26 × 254 คํา 8. จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว {a, b} โดยที่ a = 1, 2, 3, ... 93 เทากับ 93 × 7 = 651 จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว โดยที่ a = 94, 95, 96, ... 99 เทากับ 6 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 21 สับเซต ดังนั้น จํานวนสับเซตทั้งหมด 651 + 21 = 672 สับเซต 9. ในการสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300 หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี คือ 3 หรือ 4 หรือ 5 หลักสิบ เลือกตัวเลขได 5 วิธี หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 มี 3 × 5 × 4 = 60 วิธี 10. ขอสอบขอที่ 1 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี ขอสอบขอที่ 2 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี ขอสอบขอที่ 3 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี M
  • 29. 142 ขอสอบขอที่ 10 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีตอบขอสอบทั้ง 10 ขอ 210 วิธี 11. ตัวเลขที่แสดงตอนที่นั่งมี 20 วิธี อักษรที่แสดงแถวที่นั่งมี 52 วิธี ตัวเลขแสดงตําแหนงที่นั่งมี 30 วิธี ดังนั้น จํานวนที่นั่งทั้งหมดมี 31,200 ที่นั่ง 12. ตัวอักษรตัวแรกเปนไปได 26 วิธี ตัวอักษรตัวที่สองเปนไปได 26 วิธี ตัวเลข 3 ตัว เปนไปได 10 × 10 × 10 วิธี ตัวอักษรอีก 1 ตัว เปนไปได 26 วิธี ตัวเลขอีก 2 ตัว เปนไปได 10 × 10 วิธี ดังนั้น จํานวนหนังสือทั้งหมดในระบบนี้มี 263 × 105 เลม ถาตัวอักษร 2 ตัวแรก แสดงหนังสือที่จัดไวเปนตอน ดังนั้น หนังสือในแตละตอนมี 1 × 10 × 10 × 10 × 26 × 10 × 10 = 2,600,000 เลม แบบฝกหัด 3.2 ก 1. (1) 210 (2) 1680 (3) 380 2. n = 6 3. พิสูจน Pn, 1 + Pm, 1 = Pn+m, 1 Pn, 1 + Pm, 1 = n! m! (n 1)! (m 1)! + − − = n + m = (n m)! ((n m) 1)! + + − = Pn+m, 1 4. สรางจํานวนที่มี 4 หลัก จากเลขโดด 5 ตัว ดังนั้น จะสรางได P5, 4 = 5! (5 4)!− = 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 120 จํานวน
  • 30. 143 5. มีตําแหนงวางที่เปนชาย 3 ตําแหนง มีผูสมัครเปนชาย 6 คน ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดชายเทากับ P6, 3 = 6! 3! = 6 × 5 × 4 = 120 วิธี มีตําแหนงวางที่เปนหญิง 2 ตําแหนง มีผูสมัครเปนหญิง 5 คน ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดหญิงเทากับ P5, 2 = 5! 3! = 5 × 4 = 20 วิธี จะได วิธีจัดคนที่มาสมัครเขาทํางาน 120 × 20 = 2400 วิธี 6. จัดชาย 6 คน ยืนเรียงแถวหนากระดานได 6! = 720 วิธี ช1 ช2 ช3 ช4 ช5 ช6 จัดชาย 6 คน ยืนหนากระดานจะมีที่ใหผูหญิงแทรกได 7 ที่ ผูหญิง 3 คน จะเลือกที่แทรกได 7 × 6 × 5 = 210 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีจัดทั้งหมด 720 × 210 = 151200 วิธี 7. แยกเปน 2 กรณี กรณีที่ 1 หลักรอย เปนเลขคี่ คือ 3, 5 และ 7 หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากัน หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 4 × 8 = 96 วิธี กรณีที่ 2 หลักรอย เปนเลขคู คือ 4, 6, 8 หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี หลักหนวย เลือกตัวเลขได 5 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากัน หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 5 × 8 = 120 วิธี ดังนั้น จํานวนคี่ที่มีคามากกวา 300 แตนอยกวา 900 โดยที่ตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากันมี 96 + 120 = 216 จํานวน