SlideShare a Scribd company logo
รายวิชา                                                     หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                                         ใบความรู้ท่ี 1
     คณิตศาสตร์                                                  การแปลงทางเรขาคณิต
      (ค 22101)
       ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การเล่ ือนขนาน
การเลื่อนขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุด
ทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทาง
ที่เท่ากันตามที่กำาหนด
ตัวอย่าง กำาหนดให้                   ABC เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน

ABC ไปในทิศทางและระยะทางตามที่กำาหนดดังรูป แล้วแ                              A′B ′C ′   เป็น
ภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน

                                         A                         L
                                                                   S


                        B
                                     P                  B′ P′
                                     C                      C′

จากรูป จะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด A ไปที่จุด                    A′   เลื่อนจุด B ไปที่จุด
B′   และ เลื่อนจุด C ไปที่จุด                C′   ในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่า
กัน จะได้ว่า     A′A′   ,   B ′B ′   และ      C ′C ′   ขนานกันและยาวเท่ากัน




                                                                                            1
ถ้า P เป็นจุดใด ๆ บน                             ABC แล้วจะมี   P′   บน   A′B ′C ′   เป็น
จุดที่สมนัยกันกับจุด P และ                        PP ′   จะขนานและยาวเท่ากันกับความยาว
ของ   AA′   ,   BB ′    และ           CC ′      ด้วย
      ในการบอกทิศทางและระยทางของการเลื่อนขนาน จะได้เวก
เตอร์ เป็นตัวกำาหนด
จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์ MN เพื่อบอกทิศทางและระยะทาง
                      A                                             A′
ของการเลื่อนขนานดังรูป


                        B
                                      P                    B′ P′
                                       C                       C′
                            M                                   N



      เวกเตอร์ MN อาจเขียนแทนด้วย MN ซึ่ง จะมีทิศทางจากจุด
เริ่มต้น M ไปยังจุดสิ้นสุด N และมีขนาดเท่ากับความยาวของ
      จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้นจะได้ว่า
      1.    A′ A′   ,   B ′B ′   ,   C ′C ′   และ P ′P ′    จะขนานกันกับ MN     MN

      2.    AA′ = BB ′      =        CC ′   =   PP ′     จะขนานกันกับ MN
การกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานอาจให้จุดเริ่มต้นอยู่บนรูป
ต้นแบบหรืออยู่นอกรูปต้นแบบก็ได้
      ในการเลื่อนขนาน เมือกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานรูป
                         ่
ต้นแบบมาให้ เราต้องวิเคราะห์ว่าจะต้องเลื่อนรูปต้นแบบไปในทิศทาง
ใด และเป็นระยะเท่าไร
      ถ้าเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานที่กำาหนดให้ขนานกับแกน X หรือ
แกน Y การเลื่อนขนานรูปต้นแบบก็จะกระทำาได้ง่าย แต่ถ้าเวกเตอร์ที่
                                                                                                  2
กำาหนดให้นั้นไม่ขนานกับแกน X และแกน Y แล้ว เราอาจใช้วิธีดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้เพื่อช่วยในการหาภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน
       ตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาการเลื่อนขนานจุด P ด้วย MN
                                Y
ต่อไปนี้
                       N    6


                            4

           M
                            2         P•

                                                       X

   -           -   -   -    0     2        4   6
   8           6   4   2




       วิธีท่ี 1 เลื่อนจุด P ไปทางขวาตามแนวแกน X 4 หน่วยและ

เลื่อนขึ้นไปตามแนวแกน Y 3 หน่วย จะได้ตำาแหน่งของจุด     P′   ดังรูป
                                                                  3
N   6
                                            P′
                    3   4
                                            3
    M       4
                        2       P       4

-       -       -   -   0   2       4   6        X
8       6       4   2




                                                     4
รายวิชา                                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                    แบบฝึ กพัฒนาการเรียน
   คณิตศาสตร์                                การแปลงทางเรขาคณิต
                           รูท่ี 1
                             ้
   (ค 22101)
    ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2


การเล่ ือนขนาน
กำำหนด      DEF จงเขียนภำพทีได้จำกกำรเลื่อนขนำน
                            ่                             DEF ด้วย
MN                        Y
                D                             M
                          6


                          4          F


                           2             N
    E


        -       -    -     0             2   4                  X
                                                      6
        6       4    2




                                                                      5
ร้ปแบบการประเมิน                                           ดี      พอใชู         ควร
                                                                              ปรับปรุง

ประเมินตนเอง
ประเมินผลจากครู
ประเมินผลจากผู้ปกครอง




 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่

        รายวิชา                                                     หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                              แบบทดสอบก่อนเรียน-
    คณิตศาสตร์                                                   การแปลงทางเรขาคณิต
                                     หลังเรียนท่ี 1
     (ค 22101)
        ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การเล่ ือนขนาน
1. จงหาพิกัดของจุด (3,-1) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกับการส่ง
จุด B (-2,6) ไปยังจุด (6,2)
ก. (11,-5)                              ข. (13-4)
ค. (5,-5)                      ง. (0,-11)
2. จงหาพิกัดของจุด A (4,-2) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกันการ
ส่งจุด B (-1,5) ไปยังจุด           B′

(5,1)

                                                                                                  6
ก. (0,-8)               ข. (2,-2)
       ค. (10,-6)                      ง. (8,4)
3. ข้อใดจัดเป็นการเลื่อนขนาน
       ก. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน
       ข. เงาของต้นไม้ในลำาธาร
       ค. รถไฟที่แล่นตรงไป
       ง. ชิงช้าสวรรค์
4. เลื่อนจุด (5,7) ไปทางซ้าย 6 หน่วย จะเป็นจุดใด
       ก. (5,13)               ข. (11,7)
       ค. (-1,7)               ง. (-5,1)
5. เลื่อนจุด (-8,3) ไปทางซ้าย 4 หน่วย จะเป็นจุดใด
       ก. (-8,7)               ข. (-4,3)
       ค. (-12,3)              ง. (-8,-1)




 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่




       รายวิชา                                                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                                     ใบความรู้ท่ี 2
    คณิตศาสตร์                                                   การแปลงทางเรขาคณิต

                                                                                                  7
(ค 22101)
       ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การสะทูอน
       การสะท้อนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเส้นตรง                          ที่
ตรึงเส้นหนึ่งเป็นเส้นสะท้อน แต่ละจุด P บนระนาบจะมีจุด                   P′   เป็นภาพ
ที่ได้จากการสะท้อนจุด P โดยที่
1. ถ้าจุด P ไม่อยู่บนเส้นตรง           แล้วเส้นตรง         จะแบ่งครึ่งและตั้งฉาก
กับ   PP ′

2. ถ้าจุด P อยู่บนเส้นตรง          แล้วจุด P และจุด          P ′ เป็นจุดเดียวกัน

ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง          เป็นเส้นสะท้อน

                       A
                                        C    
                                            C′
                           B

                               B′
                                                 A′

       รูปเรขาคณิตที่สามารถหารอยพับและพับรูปทั้งสองข้างของรอย
พับให้ทับกันสนิทได้เรียกว่า รูปสมมาตรบนเส้น และเรียกรอยพับนั้นว่า
                   D                C
                            P
แกนสมมาตร รูปสมมาตรบนเส้นแต่ละรูปอาจมีจำานวนแกนสมมาตรไม่
เท่ากัน เช่น       E                                 F


                       A        Q                B                                    8
ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและเป็นรูปสมมาตรบนเส้นที่มี
แกนสมมาตร 4 เส้นได้แก่             AC , BD , EF และ PQ
     รูปสมมาตรบนเส้นเป็นรูปที่เกิดจากการสะท้อน โดยมีแกน
สมมาตรเป็นเส้นสะท้อน


     ในกรณีที่กำาหนดเส้นสะท้อนเป็นเส้นตรงที่ไม่ใช่แกน X หรือแกน
Y อาจหาพิกันของจุดที่เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุดที่กำาหนดให้
โดยพิจารณาดังนี้
           ถ้าเส้นสะท้อนไม่ขนานกับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y แต่
เป็นเส้นในแนวทแยง ให้ลากเส้นตรงผ่านจุดที่กำาหนดให้และตั้งฉากกับ
เส้นสะท้อน ภาพของจุดที่กำาหนดให้จะอยู่บนเส้นตั้งฉากที่สร้างขึ้น
และอยู่ห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะเท่ากันกับที่จุดที่กำาหนดให้อยู่ห่าง
                             Y
จากเส้นสะท้อน เมื่อได้ภาพของจุดนั้นแล้วจึงหาพิกัด
                                            
ตัวอย่าง   กำาหนดจุด P( -٣,٣), Q(٤,٠) และ R (-٤-,٣) มีเส้นตรง 
                      P       4
ผ่านจุด (-٢- ,٤) และ (١,٣) ดังรูป • (1,
                      •
                    (-3,      2      3)
                    -3)
                                           Q (4,
                                           • 0)                 X
            -     -      -     0     2    4      6
            6     4      2
                  • (-4,      -
                     -2)      2
                                                                       9
                       •       -
                       R       4
                      (-3,
P ′, Q ′         R′
     จากรูปหาพิกัดของจุด                และ        ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการ
สะท้อนจุด P, Q และ R ตามลำาดับดังนี้




                            Q′     Y
                    (-2,
                     6)
                      P          4
                      •
                     (-3,        2
                     -3)
                                                      Q (4,

       R 6
          -     -
                4
                        -
                        2
                                  0      P ′ (1,      4
                                                        0)
                                                           6                 X

       (-6,                      -            -1)
       -1)                       2
                     •           -                                               10
                     R           4
                    (-3,
                    -4)
١) ลากเส้นตรง m ١ ผ่านจุด P และให้ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน                   

     ٢) หาจุด     P′   บนเส้นตรง m ١ ที่ทำาให้จุด P และจุด        P′   อยู่ห่าง
จากเส้นตรง      เท่ากัน
     ٣) จากรูป จะได้พิกัดของจุด P ′ เป็น (١-,١)
     ٤) ในทำานองเดียวกัน เมื่อลากเส้นตรง m ٢ ผ่านจุด Q และให้
                                        Q′                       Q′
ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด             จะได้พิกัดของจุด         เป็น (-٢,٦)
     ٥) ในทำานองเดียวกันเมื่อลากเส้นตรง m ٣ ผ่านจุด R และให้ตั้ง
ฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด       R′   จะได้พิกัดของจุด    R′   เป็น (-١- ,٦)




                                                                                  11
รายวิชา                                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                     แบบฝึ กพัฒนาการเรียน
   คณิตศาสตร์                               การแปลงทางเรขาคณิต
                            รูท่ี 2
                              ้
    (ค ٢٢١٠١)
     ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ ٢

การสะทูอน
ให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อใดเป็นรูปสะท้อน และข้อใดเป็นรูปการเลื่อน
ขนาน
1. ………………………..




2. ……………………….




3. ……………………….
                                                                 12
4. ………………………..




ร้ปแบบการประเมิน                                           ดี      พอใชู         ควร
                                                                              ปรับปรุง

ประเมินตนเอง
ประเมินผลจากครู
ประเมินผลจากผู้ปกครอง




 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่

                                                                                                13
รายวิชา                                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                     แบบทดสอบก่อนเรียน-
   คณิตศาสตร์                              การแปลงทางเรขาคณิต
                         หลังเรียนท่ี 2
    (ค 22101)
     ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การสะทูอน
ให้นักเรียนทำาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อที่เป็นคำาตอบถูก
1. ข้อใดจัดเป็นการสะท้อน
     ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร

                                                                 14
ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน
     ค. ชิงช้าสวรรค์
     ง. รถไฟที่แล่นตรงไป
2. ถ้ารูปต้นแบบคือ           แล้วภาพของ    A′   ที่เกิดจากการสะท้อนโดยมี
แกน X
เป็นเส้นสะท้อน คือข้อใด


     ก.                           ข.


     ค.                           ง.


3. กำาหนด AB โดยมีแกน X เป็นเส้นสะท้อน จุด A มีพิกัดเป็น
(-3,4) และจุด B มีพิกัดเป็น
(4,-2) จงหาพิกัดของจุด        A′ และ B ′

     ก.   A′ (-3,-4), B ′ (4,2)

     ข.   A′ (-3,4), B ′ (-4,2)

     ค.   A′ (3,4), B ′ (-4,-2)

     ง.   A′ (3,-4), B ′ (-4,2)

4 .ถ้ารูปหนึ่งเกิดจากการแปลงอีกรูปหนึ่ง โดยที่จุด P แปลงไปเป็นจุด
Y จุด Q แปลงไปเป็นจุด X และจุด R แปลงไปเป็นจุด Z ดังรูป




                                                                       15
ก. การเลื่อนขนาน
     ข. การหมุน
     ค. การสะท้อน
     ง. การสะท้อนและการหมุน
5. ข้อใดคือจุด     S′   และ      T′   ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน   ST   โดยมี
                                           L
L เป็นเส้นสะท้อน                           S




     ก.   S ′ (0,1), T ′ (-4,2)

     ข.   S ′ (2,3), T ′ (6,2)

     ค.   S ′ (1,2), T ′ (5,1)

     ง.   S ′ (0,2), T ′ (-4,1)




                                                                               16
ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่




       รายวิชา                                                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                                     ใบความรู้ท่ี 3
     คณิตศาสตร์                                                  การแปลงทางเรขาคณิต
     (ค 22101)
       ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การหมุน
การหมุนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีจุด O ที่ตรึงจุดหนึ่ง
เป็นจุดหมุนแต่ละจุด P บนระนาบ มีจด
                                 ุ                       P′   เป็นภาพที่ได้จากการหมุน
จุด P รอบจุด O ตามทิศทางที่กำาหนดด้วยมุมที่มีขนาด k โดยที่
1) ถ้าจุด P ไม่ใช่จุด O แล้ว                OP = OP ′     และขนานของ             ˆ
                                                                                POP ′   เท่ากับ
k
2) ถ้าจุด P เป็นจุดเดียวกันกับ O แล้ว P เป็นจุดหมุน
       ตัวอย่าง จุดหมุน O อยู่บนรูปต้นแบบ

1)
                                                                                                17
ตัวอย่างที่ 1 ถ้า          A′B ′C ′   เป็นภาพที่ได้จากการหมุน        ABC ที่
กำาหนดให้ รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา
จงหา
                            A′, B ′         C′
       1) พิกัดของจุด                 และ        ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุนจุด
A,B และ C ตามลำาดับ
       2) ∆   A′B ′C ′   ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุน           ABC




                                                                                  18
แนวคิด          จากโจทย์กำาหนดให้ O เป็นจุดหมุน และหมุน                                 ABC
                                                                                    A′, B ′
ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา เราสามารถหาจุด                                              และ
C′   ได้โดยการลากเส้นตรงผ่านจุดยอดมุมของ                                 ABC กับจุดหมุน O
เพื่อให้เกิดมุมตรงซึ่งมีขนาด 180 องศา
                                                               A′, B ′         C′
      เมื่อลาก    AO , BO   และ    CO      แล้วให้หาจุด                  และ        ซึ่งแต่ละจุด
จะอยู่ห่างจากจุด O เป็นระยะที่เท่ากันกับระยะที่จุด A,B และ C อย่า
ห่างจากจุด O ตามลำาดับ
      จากแนวคิด ทำาได้ดังนี้
                                 A′, B ′         C′
      1. หาพิกัดของจุด                     และ        ดังนี้
               - ลาก   AO , BO    และ      CO

               - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OA เขียนส่วนโค้งตัด                              OA   ที่
จุด A′ จะได้    A′ (9,-5)


                                                                                                    19
- ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OB เขียนส่วนโค้งตัด                   OA ที่

จุด B ′ จะได้    B ′ (4,-5)

                - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OC เขียนส่วนโค้งตัด OC ที่
จุด C ′ จะได้   C ′ (4,-1)

                           A′, B ′           C′
                นั่นคือ              และ          มีพิกัดเป็น (9,-5), (4,-5) และ (4,-1)
ตามลำาดับ
2. ลาก    A′B ′ , B ′C ′    และ      C ′A′   จะได้       A′B ′C ′   เป็นภาพที่ได้จากการ
หมุน      ABC รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180
องศา




                                                                                          20
รายวิชา                                       หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                              แบบฝึ กพัฒนาการเรียน
      คณิตศาสตร์                                     การแปลงทางเรขาคณิต
                                      รูท่ี 3
                                        ้
       (ค 22101)
        ระดับชั้น
    มัธยมศึกษาปีที่ 2

     การหมุน
        P ′Q ′R ′S ′
:                      เป็นภาพที่ได้จาการหมุน   PQRS ทวนเข็มนาฬิกา
ด้วยมุมที่มีขนาด 90 องศา




                                                                          21
พิกัดของจุด        P′ =   (.....................)
                                          Q′
                       พิกัดของจุด             = (.....................)
                       พิกัดของจุด        R′   = (.....................)
                       พิกัดของจุด        S′   = (.....................)
ร้ปแบบการประเมิน                                         ดี พอใชู                ควร
                                                                              ปรับปรุง

ประเมินตนเอง
ประเมินผลจากครู
ประเมินผลจากผู้ปกครอง



 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่

       รายวิชา                                                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                              แบบทดสอบก่อนเรียน-
    คณิตศาสตร์                                                   การแปลงทางเรขาคณิต
                                     หลังเรียนท่ี 3
     (ค 22101)
       ระดับชั้น

                                                                                                22
มัธยมศึกษาปีที่ 2

การหมุน
1. ข้อใดคือภาพที่เกิดจากการหมุน                รอบ
จากรูปที่กำาหนดให้ 90° ทวนเข็มนาฬิกา




ก.                               ข.




ค.                               ง.
2. รูปสามเหลี่ยม ABC จุด A มีพิกัดเป็น (3,0) จุด B มีพิกัดเป็น (5,1)
และจุด C มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด C บนภาพจากการหมุน
รูปสามเหลี่ยม ABC โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วยมุม 180°
     ก. (2,3)                    ข. (2,-3)
     ค. (-2,3)                   ง. (-2,-3)
3. รูปสามเหลี่ยม DEF จุด D มีพิกัดเป็น (3,0) จุด E มีพิกัดเป็น (5,1)
และ จุด F มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด E บนภาพจากการหมุน
รูปสามเหลี่ยม DEF โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วย 180°
     ก. (5,-1))                  ข. (-5,-1)
     ค. (5,1)                    ง. (-5,1)

                                                                  23
4. ข้อใดเป็นการหมุน                  ABC โดยการหมุนเข็มนาฬิกา และมีจุด P
เป็นจุดหมุน เป็นมุม 90 องศา
ก.                                             ข.




ค.                                             ง.




5. ข้อใดจัดเป็นการหมุน
       ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร
       ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน
       ค. ชิงช้าสวรรค์
       ง. รถไฟที่แล่นตรงไป


 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่
                                                                                                24
25

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
waranyuati
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
rumpin
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
atunya2530
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
Jaar Alissala
 

What's hot (20)

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
 
ข้อสอบคณิต สายศิลป์
ข้อสอบคณิต สายศิลป์ข้อสอบคณิต สายศิลป์
ข้อสอบคณิต สายศิลป์
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 

Similar to การแปลงทางเรขาคณิต

การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
krookay2012
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
kruyafkk
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
Cha Rat
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
Nattakarn Namsawad
 
Onet56
Onet56Onet56
Onet56
aui609
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
praeploy2539
 
O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56
gunnygreameyes
 
M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01
sincerecin
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
gunnygreameyes
 
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
vipawee613_14
 

Similar to การแปลงทางเรขาคณิต (20)

การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัดการคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
work1
work1work1
work1
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
Onet56
Onet56Onet56
Onet56
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
M onet56
M onet56M onet56
M onet56
 
mathOnet5602
mathOnet5602mathOnet5602
mathOnet5602
 
O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56
 
M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01M onet56-140628092525-phpapp01
M onet56-140628092525-phpapp01
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
 
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
 

More from kroojaja

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
kroojaja
 

More from kroojaja (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
01real
01real01real
01real
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 

การแปลงทางเรขาคณิต

  • 1. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ใบความรู้ท่ี 1 คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การเล่ ือนขนาน การเลื่อนขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุด ทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทาง ที่เท่ากันตามที่กำาหนด ตัวอย่าง กำาหนดให้ ABC เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน ABC ไปในทิศทางและระยะทางตามที่กำาหนดดังรูป แล้วแ A′B ′C ′ เป็น ภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน A L S B P B′ P′ C C′ จากรูป จะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด A ไปที่จุด A′ เลื่อนจุด B ไปที่จุด B′ และ เลื่อนจุด C ไปที่จุด C′ ในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่า กัน จะได้ว่า A′A′ , B ′B ′ และ C ′C ′ ขนานกันและยาวเท่ากัน 1
  • 2. ถ้า P เป็นจุดใด ๆ บน ABC แล้วจะมี P′ บน A′B ′C ′ เป็น จุดที่สมนัยกันกับจุด P และ PP ′ จะขนานและยาวเท่ากันกับความยาว ของ AA′ , BB ′ และ CC ′ ด้วย ในการบอกทิศทางและระยทางของการเลื่อนขนาน จะได้เวก เตอร์ เป็นตัวกำาหนด จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์ MN เพื่อบอกทิศทางและระยะทาง A A′ ของการเลื่อนขนานดังรูป B P B′ P′ C C′ M N เวกเตอร์ MN อาจเขียนแทนด้วย MN ซึ่ง จะมีทิศทางจากจุด เริ่มต้น M ไปยังจุดสิ้นสุด N และมีขนาดเท่ากับความยาวของ จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้นจะได้ว่า 1. A′ A′ , B ′B ′ , C ′C ′ และ P ′P ′ จะขนานกันกับ MN MN 2. AA′ = BB ′ = CC ′ = PP ′ จะขนานกันกับ MN การกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานอาจให้จุดเริ่มต้นอยู่บนรูป ต้นแบบหรืออยู่นอกรูปต้นแบบก็ได้ ในการเลื่อนขนาน เมือกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานรูป ่ ต้นแบบมาให้ เราต้องวิเคราะห์ว่าจะต้องเลื่อนรูปต้นแบบไปในทิศทาง ใด และเป็นระยะเท่าไร ถ้าเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานที่กำาหนดให้ขนานกับแกน X หรือ แกน Y การเลื่อนขนานรูปต้นแบบก็จะกระทำาได้ง่าย แต่ถ้าเวกเตอร์ที่ 2
  • 3. กำาหนดให้นั้นไม่ขนานกับแกน X และแกน Y แล้ว เราอาจใช้วิธีดัง ตัวอย่างต่อไปนี้เพื่อช่วยในการหาภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน ตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาการเลื่อนขนานจุด P ด้วย MN Y ต่อไปนี้ N 6 4 M 2 P• X - - - - 0 2 4 6 8 6 4 2 วิธีท่ี 1 เลื่อนจุด P ไปทางขวาตามแนวแกน X 4 หน่วยและ เลื่อนขึ้นไปตามแนวแกน Y 3 หน่วย จะได้ตำาแหน่งของจุด P′ ดังรูป 3
  • 4. N 6 P′ 3 4 3 M 4 2 P 4 - - - - 0 2 4 6 X 8 6 4 2 4
  • 5. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบฝึ กพัฒนาการเรียน คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต รูท่ี 1 ้ (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การเล่ ือนขนาน กำำหนด DEF จงเขียนภำพทีได้จำกกำรเลื่อนขนำน ่ DEF ด้วย MN Y D M 6 4 F 2 N E - - - 0 2 4 X 6 6 4 2 5
  • 6. ร้ปแบบการประเมิน ดี พอใชู ควร ปรับปรุง ประเมินตนเอง ประเมินผลจากครู ประเมินผลจากผู้ปกครอง ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน- คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต หลังเรียนท่ี 1 (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การเล่ ือนขนาน 1. จงหาพิกัดของจุด (3,-1) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกับการส่ง จุด B (-2,6) ไปยังจุด (6,2) ก. (11,-5) ข. (13-4) ค. (5,-5) ง. (0,-11) 2. จงหาพิกัดของจุด A (4,-2) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกันการ ส่งจุด B (-1,5) ไปยังจุด B′ (5,1) 6
  • 7. ก. (0,-8) ข. (2,-2) ค. (10,-6) ง. (8,4) 3. ข้อใดจัดเป็นการเลื่อนขนาน ก. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน ข. เงาของต้นไม้ในลำาธาร ค. รถไฟที่แล่นตรงไป ง. ชิงช้าสวรรค์ 4. เลื่อนจุด (5,7) ไปทางซ้าย 6 หน่วย จะเป็นจุดใด ก. (5,13) ข. (11,7) ค. (-1,7) ง. (-5,1) 5. เลื่อนจุด (-8,3) ไปทางซ้าย 4 หน่วย จะเป็นจุดใด ก. (-8,7) ข. (-4,3) ค. (-12,3) ง. (-8,-1) ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ใบความรู้ท่ี 2 คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต 7
  • 8. (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การสะทูอน การสะท้อนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเส้นตรง  ที่ ตรึงเส้นหนึ่งเป็นเส้นสะท้อน แต่ละจุด P บนระนาบจะมีจุด P′ เป็นภาพ ที่ได้จากการสะท้อนจุด P โดยที่ 1. ถ้าจุด P ไม่อยู่บนเส้นตรง  แล้วเส้นตรง  จะแบ่งครึ่งและตั้งฉาก กับ PP ′ 2. ถ้าจุด P อยู่บนเส้นตรง  แล้วจุด P และจุด P ′ เป็นจุดเดียวกัน ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง  เป็นเส้นสะท้อน A C  C′ B B′ A′ รูปเรขาคณิตที่สามารถหารอยพับและพับรูปทั้งสองข้างของรอย พับให้ทับกันสนิทได้เรียกว่า รูปสมมาตรบนเส้น และเรียกรอยพับนั้นว่า D C P แกนสมมาตร รูปสมมาตรบนเส้นแต่ละรูปอาจมีจำานวนแกนสมมาตรไม่ เท่ากัน เช่น E F A Q B 8
  • 9. ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและเป็นรูปสมมาตรบนเส้นที่มี แกนสมมาตร 4 เส้นได้แก่ AC , BD , EF และ PQ รูปสมมาตรบนเส้นเป็นรูปที่เกิดจากการสะท้อน โดยมีแกน สมมาตรเป็นเส้นสะท้อน ในกรณีที่กำาหนดเส้นสะท้อนเป็นเส้นตรงที่ไม่ใช่แกน X หรือแกน Y อาจหาพิกันของจุดที่เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุดที่กำาหนดให้ โดยพิจารณาดังนี้ ถ้าเส้นสะท้อนไม่ขนานกับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y แต่ เป็นเส้นในแนวทแยง ให้ลากเส้นตรงผ่านจุดที่กำาหนดให้และตั้งฉากกับ เส้นสะท้อน ภาพของจุดที่กำาหนดให้จะอยู่บนเส้นตั้งฉากที่สร้างขึ้น และอยู่ห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะเท่ากันกับที่จุดที่กำาหนดให้อยู่ห่าง Y จากเส้นสะท้อน เมื่อได้ภาพของจุดนั้นแล้วจึงหาพิกัด  ตัวอย่าง กำาหนดจุด P( -٣,٣), Q(٤,٠) และ R (-٤-,٣) มีเส้นตรง  P 4 ผ่านจุด (-٢- ,٤) และ (١,٣) ดังรูป • (1, • (-3, 2 3) -3) Q (4, • 0) X - - - 0 2 4 6 6 4 2 • (-4, - -2) 2 9 • - R 4 (-3,
  • 10. P ′, Q ′ R′ จากรูปหาพิกัดของจุด และ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการ สะท้อนจุด P, Q และ R ตามลำาดับดังนี้ Q′ Y (-2, 6) P 4 • (-3, 2 -3) Q (4, R 6 - - 4 - 2 0 P ′ (1, 4 0) 6 X (-6, - -1) -1) 2 • - 10 R 4 (-3, -4)
  • 11. ١) ลากเส้นตรง m ١ ผ่านจุด P และให้ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน  ٢) หาจุด P′ บนเส้นตรง m ١ ที่ทำาให้จุด P และจุด P′ อยู่ห่าง จากเส้นตรง  เท่ากัน ٣) จากรูป จะได้พิกัดของจุด P ′ เป็น (١-,١) ٤) ในทำานองเดียวกัน เมื่อลากเส้นตรง m ٢ ผ่านจุด Q และให้ Q′ Q′ ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด จะได้พิกัดของจุด เป็น (-٢,٦) ٥) ในทำานองเดียวกันเมื่อลากเส้นตรง m ٣ ผ่านจุด R และให้ตั้ง ฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด R′ จะได้พิกัดของจุด R′ เป็น (-١- ,٦) 11
  • 12. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบฝึ กพัฒนาการเรียน คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต รูท่ี 2 ้ (ค ٢٢١٠١) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ การสะทูอน ให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อใดเป็นรูปสะท้อน และข้อใดเป็นรูปการเลื่อน ขนาน 1. ……………………….. 2. ………………………. 3. ………………………. 12
  • 13. 4. ……………………….. ร้ปแบบการประเมิน ดี พอใชู ควร ปรับปรุง ประเมินตนเอง ประเมินผลจากครู ประเมินผลจากผู้ปกครอง ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ 13
  • 14. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน- คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต หลังเรียนท่ี 2 (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การสะทูอน ให้นักเรียนทำาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อที่เป็นคำาตอบถูก 1. ข้อใดจัดเป็นการสะท้อน ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร 14
  • 15. ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน ค. ชิงช้าสวรรค์ ง. รถไฟที่แล่นตรงไป 2. ถ้ารูปต้นแบบคือ แล้วภาพของ A′ ที่เกิดจากการสะท้อนโดยมี แกน X เป็นเส้นสะท้อน คือข้อใด ก. ข. ค. ง. 3. กำาหนด AB โดยมีแกน X เป็นเส้นสะท้อน จุด A มีพิกัดเป็น (-3,4) และจุด B มีพิกัดเป็น (4,-2) จงหาพิกัดของจุด A′ และ B ′ ก. A′ (-3,-4), B ′ (4,2) ข. A′ (-3,4), B ′ (-4,2) ค. A′ (3,4), B ′ (-4,-2) ง. A′ (3,-4), B ′ (-4,2) 4 .ถ้ารูปหนึ่งเกิดจากการแปลงอีกรูปหนึ่ง โดยที่จุด P แปลงไปเป็นจุด Y จุด Q แปลงไปเป็นจุด X และจุด R แปลงไปเป็นจุด Z ดังรูป 15
  • 16. ก. การเลื่อนขนาน ข. การหมุน ค. การสะท้อน ง. การสะท้อนและการหมุน 5. ข้อใดคือจุด S′ และ T′ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน ST โดยมี L L เป็นเส้นสะท้อน S ก. S ′ (0,1), T ′ (-4,2) ข. S ′ (2,3), T ′ (6,2) ค. S ′ (1,2), T ′ (5,1) ง. S ′ (0,2), T ′ (-4,1) 16
  • 17. ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ใบความรู้ท่ี 3 คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การหมุน การหมุนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีจุด O ที่ตรึงจุดหนึ่ง เป็นจุดหมุนแต่ละจุด P บนระนาบ มีจด ุ P′ เป็นภาพที่ได้จากการหมุน จุด P รอบจุด O ตามทิศทางที่กำาหนดด้วยมุมที่มีขนาด k โดยที่ 1) ถ้าจุด P ไม่ใช่จุด O แล้ว OP = OP ′ และขนานของ ˆ POP ′ เท่ากับ k 2) ถ้าจุด P เป็นจุดเดียวกันกับ O แล้ว P เป็นจุดหมุน ตัวอย่าง จุดหมุน O อยู่บนรูปต้นแบบ 1) 17
  • 18. ตัวอย่างที่ 1 ถ้า A′B ′C ′ เป็นภาพที่ได้จากการหมุน ABC ที่ กำาหนดให้ รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา จงหา A′, B ′ C′ 1) พิกัดของจุด และ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุนจุด A,B และ C ตามลำาดับ 2) ∆ A′B ′C ′ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุน ABC 18
  • 19. แนวคิด จากโจทย์กำาหนดให้ O เป็นจุดหมุน และหมุน ABC A′, B ′ ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา เราสามารถหาจุด และ C′ ได้โดยการลากเส้นตรงผ่านจุดยอดมุมของ ABC กับจุดหมุน O เพื่อให้เกิดมุมตรงซึ่งมีขนาด 180 องศา A′, B ′ C′ เมื่อลาก AO , BO และ CO แล้วให้หาจุด และ ซึ่งแต่ละจุด จะอยู่ห่างจากจุด O เป็นระยะที่เท่ากันกับระยะที่จุด A,B และ C อย่า ห่างจากจุด O ตามลำาดับ จากแนวคิด ทำาได้ดังนี้ A′, B ′ C′ 1. หาพิกัดของจุด และ ดังนี้ - ลาก AO , BO และ CO - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OA เขียนส่วนโค้งตัด OA ที่ จุด A′ จะได้ A′ (9,-5) 19
  • 20. - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OB เขียนส่วนโค้งตัด OA ที่ จุด B ′ จะได้ B ′ (4,-5) - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OC เขียนส่วนโค้งตัด OC ที่ จุด C ′ จะได้ C ′ (4,-1) A′, B ′ C′ นั่นคือ และ มีพิกัดเป็น (9,-5), (4,-5) และ (4,-1) ตามลำาดับ 2. ลาก A′B ′ , B ′C ′ และ C ′A′ จะได้ A′B ′C ′ เป็นภาพที่ได้จากการ หมุน ABC รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา 20
  • 21. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบฝึ กพัฒนาการเรียน คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต รูท่ี 3 ้ (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การหมุน P ′Q ′R ′S ′ : เป็นภาพที่ได้จาการหมุน PQRS ทวนเข็มนาฬิกา ด้วยมุมที่มีขนาด 90 องศา 21
  • 22. พิกัดของจุด P′ = (.....................) Q′ พิกัดของจุด = (.....................) พิกัดของจุด R′ = (.....................) พิกัดของจุด S′ = (.....................) ร้ปแบบการประเมิน ดี พอใชู ควร ปรับปรุง ประเมินตนเอง ประเมินผลจากครู ประเมินผลจากผู้ปกครอง ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน- คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต หลังเรียนท่ี 3 (ค 22101) ระดับชั้น 22
  • 23. มัธยมศึกษาปีที่ 2 การหมุน 1. ข้อใดคือภาพที่เกิดจากการหมุน รอบ จากรูปที่กำาหนดให้ 90° ทวนเข็มนาฬิกา ก. ข. ค. ง. 2. รูปสามเหลี่ยม ABC จุด A มีพิกัดเป็น (3,0) จุด B มีพิกัดเป็น (5,1) และจุด C มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด C บนภาพจากการหมุน รูปสามเหลี่ยม ABC โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วยมุม 180° ก. (2,3) ข. (2,-3) ค. (-2,3) ง. (-2,-3) 3. รูปสามเหลี่ยม DEF จุด D มีพิกัดเป็น (3,0) จุด E มีพิกัดเป็น (5,1) และ จุด F มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด E บนภาพจากการหมุน รูปสามเหลี่ยม DEF โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วย 180° ก. (5,-1)) ข. (-5,-1) ค. (5,1) ง. (-5,1) 23
  • 24. 4. ข้อใดเป็นการหมุน ABC โดยการหมุนเข็มนาฬิกา และมีจุด P เป็นจุดหมุน เป็นมุม 90 องศา ก. ข. ค. ง. 5. ข้อใดจัดเป็นการหมุน ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน ค. ชิงช้าสวรรค์ ง. รถไฟที่แล่นตรงไป ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ 24
  • 25. 25