SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครู
    วิชาคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา



  การแกโจทยปญหาและบทประยุกต




        จัดทําโดยสาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คําชี้แจง

                 เอกสารเรื่อง การแกโจทยปญหาและบทประยุกต ยกรางโดย
                                          
ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค อาจารยสถาบันราชภัฏพระนคร สําหรับใชประกอบ
การประชุมปฏิบัติการการอบรมครูในโรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
วิชาคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา ปงบประมาณ 2543 ซึ่งจัดโดยสถาบันสงเสริม
การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตั้งแตวันที่ 13 – 15 กันยายน 2543 ณ โรงแรม
รอยัล เบญจา กรุงเทพฯ
                 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา หวังวาเอกสารนี้จะเปนประโยชนตอ
ผูเขารับการอบรมและผูที่สนใจ สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษาขอขอบคุณ
ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค และผูที่มีสวนเกียวของในการจัดทําเอกสาร
                                              ่
หากพบขอบกพรองประการใดโปรดแจงใหทราบ เพื่อประโยชนในการปรับปรุงตอไป




                                             สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                      สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สารบัญ
                                                                                หนา
โจทยปญหาคณิตศาสตร
                                                                                 1
การสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร ชั้น ป.3 – 4
                                                                                 3
การสอนโจทยปญหารอยละ                                                           12
พื้นฐานการแกโจทยปญหารอยละ
                                                                                14
โครงสรางความรูพื้นฐาน 1 (การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 1 และ 4)                 17
โครงสรางความรูพื้นฐาน 2 (การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 2 และ 5)                 18
โครงสรางความรูพื้นฐาน 3 (การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 3 และ 6)                 19
โครงสรางความรูพื้นฐาน 4 (พื้นฐานการแกโจทยปญหารอยละกับการซื้อขาย)          20
บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน (การแกโจทยปญหารอยละ)                              21
แบบฝกเสริมการคูณการหารและโจทยปญหาการซื้อขาย                                   32
แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานเรื่องโจทยปญหารอยละ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ชุดที่ 1 – 4
                                                                                36
แบบทดสอบวัดทักษะการคูณและการหาร (พื้นฐานรอยละ)                                  40
แบบทดสอบวัดความสามารถในการหาคําตอบจากโจทยปญหารอยละ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
(ฉบับที่ 1 – 2)                                                                   41
รูปแบบโจทยปญหาการบวก ลบ คูณ และหาร                                              44
การซอมเสริมทักษะการคูณการหาร                                                     49
Inquiry อยางไรในคณิตศาสตร ?                                                     62
1

                               โจทยปญหาคณิตศาสตร
                                                               ผศ.ดร. สมวงษ แปลงประสพโชค
                                                                        สถาบันราชภัฎพระนคร

โจทยปญหาคณิตศาสตร
         หมายถึง โจทยปญหาหรือเรืองราว หรือโจทยเชิงสนทนาซึ่งบรรยายดวยถอยคําและตัวเลข
                                    ่
มีคําถามที่ตองการคําตอบในเชิงปริมาณ
         การแกโจทยปญหานับวาเปนเรื่องยากที่สดตอการเรียนการสอนความยากดังกลาว มีสาเหตุ
                                                ุ
มาจากหลายองคประกอบเชน
         1. ความคิดรวบยอดเกียวกับ การบวก ลบ คูณ หาร ไมดี
                              ่
         พฤติกรรมบงชี้ : ไมสามารถสรางประโยคสัญลักษณได หรือ สรางผิด เมื่ออานโจทยจบ
ไมทราบวาจะใชวิธี บวก หรือ ลบ หรือ คูณ หรือหาร
         2. ความสามารถในการอานไมดี
         พฤติกรรมบงชี้ : อานชา เวลาอานจะมัวสะกดคํา ผันคํา เมื่ออานจบไมทราบวาทีอานมา
                                                                                     ่
นั้นเปนเรื่องเกียวกับอะไร
                 ่
         3. ความสามารถในการวิเคราะหโจทยปญหาไมดี
                                               
         พฤติกรรมบงชี้ : บอกไมไดวาโจทยถามอะไร โจทยใหอะไรบาง จะหาสิ่งที่โจทย
ตองการไดอยางไร
         4. ทักษะการคิดคํานวณไมดี
         พฤติกรรมบงชี้ : คํานวณผิดพลาดอยูเสมอ
         5. จําคําศัพททางคณิตศาสตรไมได เชน บทนิยามสูตร สูตร กฎ หนวยการวัด การชั่ง
การตวง และเวลา

ทักษะที่จาเปนในการแกโจทยปญหา
         ํ
        ดร. สุนย เหมะประสิทธิ์ ไดศึกษาการแกโจทยปญหา และไดสรุปวาทักษะการแกโจทยมี
                ี
องคประกอบตอไปนี้
        1. ทักษะในการอานจับใจความ
        2. ทักษะในการคํานวณ + - × ÷
        3. ทักษะในการวิเคราะหปญหา จําแนกไดวา โจทยถามอะไร และ กําหนดอะไรมาให
        4. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ บวก ลบ คูณ หาร (และสิ่งเกียวของอื่น ๆ)
                                                             ่
        5. ทักษะในการแกปญหาโจทยปญหา คือ สามารถบูรณาการทักษะ 1, 2, 3, 4 มาใช
             แกปญหา
                                                                        สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                      สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
2

หลักการวิเคราะหโจทยปญหา
                                          อานโจทย

                  โจทยตองการอะไร                     โจทยกําหนดอะไรมาใหบาง


             จะหาสิ่งที่โจทย                                    เลือกสิ่งที่
             ตองการไดอยางไร                                    โจทยให


                                        ขอมูลที่จําเปน
ตัวอยาง ลงทุนซื้อของมา 200 บาท ปดราคาไว 250 บาท เมื่อขายจริงลดให ผูซ้อ 30 บาท
                                                                          ื
จะไดกาไรกี่บาท
       ํ
                      สิ่งที่โจทยถาม                โจทยกําหนด
                       กําไรกี่บาท                  ทุน 200 บาท
                                                    ปดราคา 250 บาท
                                                    ลด 30 บาท
                       กําไร = ราคาขาย – ทุน
                                            ทุน 200
                                      ราคาขาย = 250 – 30

ตัวอยาง แมคาซื้อสมมา 20 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 20 บาท ซื้อเงาะมา 30 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 25 บาท แมคามีเงาะและสมกี่กิโลกรัม

                  สิ่งที่โจทยถาม                               สิ่งที่โจทยให
                  น้ําหนักของเงาะ                          น้ําหนักของเงาะ 30 กก.
                         และสม                            น้ําหนักของสม 20 กก.
                                                           ราคาเงาะ กก. ละ 25 บาท
                     หาคําตอบจาก                           ราคาสม กก. ละ 20 บาท
               น้ําหนักของ เงาะ + สม

                                        คัดเลือกขอมูล


                                                                             สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                           สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
3

                  การสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร ชั้น ป.3 – 4
                                                                 ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค
                                                                         สถาบันราชภัฎพระนคร

         การเรียนการสอนคณิตศาสตรระดับชั้น ป.3 พบวาการแกโจทยปญหานับวาเปนเรื่องยากที่สดตอ
                                                                                            ุ
การเรียนการสอน ความยากดังกลาวมีสาเหตุมาจากหลายองคประกอบ การนําเสนอตอไปนี้จะคัดเลือก
องคประกอบบางประการขึ้นมาพิจารณาถึงสาเหตุที่นักเรียนชั้น ป.3 – 4 แกโจทยปญหาไมได
                                                                             
         1. ความคิดรวบยอดเกียวกับ การบวก ลบ คูณ หาร ไมดี
                              ่
         พฤติกรรมบงชี้ : ไมสามารถสรางประโยคสัญลักษณได หรือสรางผิด เมื่ออานโจทยจบ
ไมทราบวาจะใชวธี บวก หรือลบ หรือ คูณ หรือหาร
                     ิ
         2. ความสามารถในการอานไมดี
         พฤติกรรมบงชี้ : อานชา เวลาอานจะมัวสะกดคํา ผันคํา เมื่ออานจบ ไมทราบวาที่อาน
มานั้นเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร
         3. ความสามารถในการวิเคราะหโจทยปญหาไมดี
         พฤติกรรมบงชี้ : บอกไมไดวาโจทยถามอะไร โจทยใหอะไรมาบาง จะหาสิ่งที่ตองการไดอยางไร
         4. ทักษะการคิดคํานวณไมดี
         พฤติกรรมบงชี้ : คํานวณผิดพลาดอยูเสมอ
         5. จําคําศัพททางคณิตศาสตรไมได เชน บทนิยาม สูตร กฎ หนวยการวัด การชั่ง
การตวง และเวลา
         ตอไปนี้จะเสนอแนวทางแกปญหาดังกลาว ซึ่งจะเปนเพียงหนึ่งในหลายวิธี
1. การทบทวนความคิดรวบยอด เกี่ยวกับการบวก ลบ คูณ หาร แมวานักเรียนจะผานการเรียน
เรื่องการบวก ลบ คูณ หารมาแลวก็ตาม อาจจะยังไมเขาใจอยางแทจริง หรืออาจลืม เมื่อพบโจทย
ปญหาจะตองตัดสินใจวาจะใชวิธีใดอาจเกิดการสับสน ครูควรทบทวนความคิดรวบยอดดังกลาว

แนวทางหนึงของการทบทวนอาจทําดังนี้
          ่
      ขั้นที่ 1 ใชวธีถามตอบโดยใชสื่อรูปภาพ
                    ิ

       1.                                      2+3 =
                                               2 รวมกับ 3 เปนเทาใด
                                               มี 2 เพิ่มอีก 3 เปนเทาใด



                                                                         สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                       สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
4

2.   2+ = 5
     2 รวมกับเทาใดจึงจะเปน 5
     มี 2 เพิ่มอีกเทาใดจึงจะเปน 5

3.      +3 = 5
     จํานวนอะไร เมื่อรวมกับ 3 แลวได 5
     เดิมมีเทาใด เมื่อเพิ่มอีก 3 แลวได 5


4.   5–2 =
     มี 5 เอาออก 2 เหลือเทาใด


5.   5- = 3
     มี 5 เอาออกเทาใดจะเหลือ 3


6.       -2 = 3
     เดิมมีเทาใด ถาเอาออก 2 แลว จะเหลือ 3


7.   5–3 =
     5 มากกวา 3 อยูเทาใด
     3 นอยกวา 5 อยูเทาใด

8.   3+2 =
     จํานวนอะไรมากกวา 3 อยู 2
     3 นอยกวาจํานวนอะไรอยู 2

9.   5–2 =
     จํานวนอะไรนอยกวา 5 อยู 2
     5 มากกวาจํานวนใดอยู 2

                              สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
            สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
5


ขอสังเกต     โจทยขอ 1 – 3 เปนโจทยแบบเพิ่มเขา หรือ สวนรวม สวนยอย
              โจทยขอ 4 – 6 เปนโจทยแบบเอาออก หักออก
              โจทยขอ 7 – 9 เปนโจทยเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวน

10.                                  3 ครั้งของ 2 เปนเทาใด
                                     3 เทาของ 2 เปนเทาใด
                                     2 สามครั้งรวมกันเปนเทาใด
        3 × 2 = 11

                ……………………………………

            ×2 = 6                   กี่เทาของ 2 มีคาเปน 6
                                     2 กี่ครั้งรวมกันได 6
                                     2 รวมกันกี่จํานวนได 6




        3×     = 6                   3 เทาของจํานวนใดมีคาเปน 6
                                     จํานวนอะไรรวมกัน 3 จํานวน ได 6
                                     3 ครั้งของจํานวนอะไร เทากับ 6




11.



        6÷2 =                        6 แบงกลุมละ 2 ไดกี่กลุม
                                     6 เปนกี่เทาของ 2
                                     2 รวมกันกี่ตัวจะได 6


                                                              สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                            สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
6




              6   ÷3 =
              6   แบงเปน 3 กลุมเทา ๆ กันจะไดกลุมละเทาใด
              6   เปน 3 เทาของจํานวนอะไร
              6   เทากับจํานวนอะไรรวมกัน 3 จํานวน




                  ÷3 =2
              จํานวนอะไรเมื่อแบง 3 กลุมเทา ๆ กันและไดกลุมละ 2
                                       
              จํานวนอะไรเมื่อแบงเปนกลุมละ 2 แลวได 3 กลุม
                                         

       ขั้นที่ 2 ฝกแตงโจทยจากภาพ
       กิจกรรม แบงกลุม ๆ ละ 5 - 6 ครูใหนกเรียนดูภาพขางตนแลวใหแตงโจทยหลาย ๆ รูปแบบ
                                           ั

       ขั้นที่ 3 ฝกใชความคิดรวบยอดเกียวกับ การบวก ลบ คูณ หาร
                                       ่
                 โดยใหสรางประโยคสัญลักษณจากสิ่งทีโจทยกําหนดให
                                                    ่
       กิจกรรม ใหทาแบบฝกหัดโจทยปญหาที่มขอความสั้น ๆ ตอไปนี้เปนรายบุคคล
                     ํ                       ี

จงเขียนเปนประโยคสัญลักษณและหาคําตอบ
        1. 27 รวมกับ 50 เปนเทาใด
        2. 53 รวมกับจํานวนใดจึงจะมีคาเปน 100
        3. จํานวนอะไรรวมกับ 65 แลวได 100
        4. 100 ลบออก 25 จะเหลือเทาใด
        5. 100 ลบออกเทาใดจะเหลือ 75
        6. จํานวนอะไรเมื่อลบออก 35 แลวเหลือ 60
        7. 57 มากกวา 30 อยูเทาใด
        8. 24 นอยกวา 50 อยูเทาใด
        9. จํานวนอะไรมากกวา 30 อยู 10
        10. 20 นอยกวาจํานวนอะไรอยู 10
                                                                          สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                        สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
7

          11. จํานวนอะไรนอยกวา 80 อยู 10
          12. 30 มากกวาจํานวนอะไรอยู 10
          13. 5 เทาของ 20 มีคาเทาใด
          14. 500 เปนกี่เทาของ 20
          15. 100 แบงเปน 20 จะไดกี่ครัง้
          16. 100 แบง 5 ครั้งเทา ๆ กัน จะไดครั้งละเทาใด
          17. 100 แบงกี่ครังจะได 20
                             ้
          18. จํานวนอะไร เมื่อแบง 10 ครั้งเทา ๆ กันแลวได 5
          วิธีการฝก       - จับคูถามตอบ
                           - ฝกเปนรายบุคคลโดยครูเปนผูควบคุม
                           - ฝกจากเกมหรือของเลน

2. ฝกอาน และจินตนาการภาพจากโจทยปญหา  
         การอานมีผลมาจากการฝกฝนดานภาษา ถานักเรียนอานจบประโยค แลวสามารถเลาไดวา
มีอะไร ที่ไหน อยางไร แสดงวานักเรียนไมบกพรองในการอาน ถาอานออกเสียงถูก แตไมอาจ
เลาไดแสดงวามีความบกพรองในการอานจะตองแกไข ควรใหฝกอานโจทยปญหาคณิตศาสตรทก  ุ
วัน วันละนอย 2 – 3 ขอ มีขอแนะนําในการอานดังนี้
1. อานทีละวรรคแลวเขียนภาพแสดง เชน
         1) ในจานมีขนม 5 ชิ้น
            กินไป 2 ชิ้น เหลือขนมกี่ชน
                                     ิ้

          2) ในกระจาดมีสม 40 ผล
                          
             แบงใสถุงละ 10 ผล
             จะไดกี่ถุง                          10

          3) นารีสง 120 เซนติเมตร
                     ู                        120
             นารีสงกวาธิดา 10 เซนติเมตร
                   ู
             ธิดาสูงกี่เซนติเมตร
          2. นําโจทยปญหาในหนังสือเรียนมาดัดแปลงขอความใหสั้นลง เชน โจทยในหนังสือเรียน ป.3
                         
หนา 21
        1) รถออกจากสถานีกรุงเทพฯ มีผูโดยสาร 170 คน เมื่อรถแลนถึง สถานีบางซื่อมี
ผูโดยสารขึ้นอีก 31 คน รวมมีผูโดยสารกี่คน
                                                                           สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                         สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
8

        โจทยนี้จะเห็นวายาวและมีคายากสําหรับนักเรียนบางคน เชน สถานีกรุงเทพ ฯ ผูโดยสาร สถานี
                                       ํ
บางซื่อ นักเรียนบางคนที่อานแบบสะกดคําจะไมเขาใจ ครูอาจแตงโจทยใหม ดังนี้
                            
        1. บนรถมีคน 170 คน ขึ้นมาอีก 31 คน รวมมีกี่คน
        2. รถคันแรกมีคน 389 คน รถคันที่สองมีมากกวาคนแรก 67 คน คันที่สองมีคนกี่คน
        3. บนรถมีผูใหญ 543 คน มีเด็ก 119 คน มีคนทั้งหมดกี่คน
        4. ซื้อของ 95 บาท เสียคาอาหารอีก 50 บาท รวมจายเงินกี่บาท
        5. จายเงินครั้งแรก 450 บาท จายเงินครั้งทีสองอีก 350 บาท รวมจายเงินกี่บาท
                                                   ่
        เมื่อฝกอานโจทยควรใหนักเรียนอานทีละวรรคและนึกภาพตามทีละวรรค จากนั้นสรางประโยค
สัญลักษณโดยไมตองคิดคํานวณ สวนโจทยเรื่องราวในหนังสือเรียน ในการฝกอาน ครูควรแนะนําคําศัพท
ที่แปลก ๆ ใหนักเรียนรูจักเพราะนักเรียน ป.3 อาจจะยังไมมีประสบการณทางภาษามากนัก ควรให
นักเรียนฝกอานทุกวัน วันละไมเกิน 5 ขอ
3. โจทยปญหาควรเกี่ยวกับชีวิตจริง และใกลตวนักเรียน เชน
                                                 ั
                  1) การซื้อขายของกินเลนสําหรับเด็ก ขนม ไอศกรีม
                  2) เรื่องราวเกียวกับการตูนในโทรทัศน
                                 ่
                  3) เกี่ยวกับการเลนของเด็ก
                  4) เกี่ยวกับสัตวเลี้ยงภายในบาน
                  5) สวนสัตว
                  6) ของใชในบาน หรือของใชสวนตัว

3. การวิเคราะหโจทยปญหา
          นักแกปญหาหลายทานใหความคิดวา การวิเคราะหโจทยปญหาเปนสมบัติที่สําคัญในการ
แกโจทยปญหาคณิตศาสตร การวิเคราะหโจทยปญหา เปนการฝกความสามารถที่จะบอกไดวา
โจทยตองการใหหาอะไร โจทยกําหนดอะไรมาใหบาง จะสรางความสัมพันธนะหวางสิ่งที่โจทย
ใหกับสิ่งที่ตองการไดอยางไร

ตัวอยาง มีดอกไม 50 ดอก นํามากําทีละ 3 ดอกได 10 กํา จะเหลือดอกไมกี่ดอก
การวิเคราะห สิ่งที่โจทยถาม จํานวนดอกไมที่เหลือ
                       สิ่งที่โจทยให - มีดอกไมทั้งหมด 50 ดอก
                                       - นํามากํากําละ 3 ดอก 10 กํา
                       สรางความสัมพันธของสิ่งที่โจทยถามกับสิ่งที่โจทยให
                       จํานวนดอกไมที่เหลือ = ดอกไมทั้งหมด – ดอกไมที่กํา
                       จํานวนดอกไมที่เหลือ = 50 – (10 × 3)
                                                                        สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                      สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
9

                                                  = 20
         นักแกปญหาหลายทานใหขอเสนอแนะวา ควรฝกใหนกเรียนไดพบโจทยหลาย ๆ ประเภท
                                                               ั
เชน โจทยประเภทที่ขอมูลไมเพียงพอ หรือโจทยประเภทที่ขอมูลเกิน นักเรียนตองวิเคราะห
ออกมาวายังขาดขอมูลอะไร และขอมูลใดไมจําเปน เชน
         1. นารีสูง 110 เซนติเมตร ธิดาสูงเทาใด
โจทยนี้ ขอมูลไมเพียงพอทีจะหาความสูงของธิดา
                             ่
         2. มานะหนัก 40 กก. มานีหนัก 35 กก. ปติหนัก 45 กก. ปติหนักกวามานีกี่ กก.
โจทยนี้เปนโจทยที่ใหขอมูลเกินไมตองใชขอมูลบางสวนก็หาคําตอบได

         การฝกใหรักเรียนคุนเคยกับโจทยปญหาประเภทขอมูลไมเพียงพอ ครูอาจใหเลนเกม ดังนี้
วิธีเลน ครูตั้งคําถามที่ไมมีขอมูล ใหนักเรียนถามขอมูลจากครูได ไมเกิน 2 คําถาม
         1. ทายซิวา นารีสูงกวาธิดากี่เซนติเมตร
               นร. ถามครู นารีสูงเทาใด ครูตอบ 120
                            ธิดาสูงเทาใด ครูตอบ 110
               นร. คิด 120 – 110 = 10 เซนติเมตร
         2. ทายซิวา ถามานะมีเงิน 50 บาท มานีจะมีเงินเทาใด
               นร. ถามครู มานะและมานีมีเงินรวมกันกีบาท ครูตอบ ไมทราบ
                                                         ่
               นร. ถามครู มานะมีเงินมากกวาหรือนอยกวามานีกี่บาท ครูตอบ มากกวา 15 บาท
               นร. คิด 50 – 15 = 35
         3. ซื้อของราคา 20 บาท ทายซิวาจะไดเงินทอนกี่บาท
               นร. ถามครู ใหเงินแมคาไปกี่บาท ครูตอบ 50 บาท
               นร. ตอบ 50 – 20 = 30
         4. ทายซิวาในเขงนี้มปลาทูกี่ตัว
                                  ี
               นร. ถามครู ซื้อปลาทูมากี่เขง ครูตอบ 5 เขง
               นร. ถามครู ปลาทูมีเขงละกี่ตัว ครูตอบ 3 ตัว
               นร. ตอบ 5 × 3 = 15 ตัว

          กิจกรรมสําหรับการคนหาขอมูลที่จําเปนเมื่อโจทยกําหนดขอมูลเกิน อาจใหทํากิจกรรม
กลุมเพื่อใหมการถกเถียงกันวาขอมูลใดไมจําเปน เรื่องราวอาจเปนเรื่องในนิทานสั้น ๆ เชน
              ี
เรื่องราวในนิทานอีสป อาจนํามาแตงเปนโจทยคณิตศาสตร



                                                                          สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                        สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
10

4. กิจกรรมฝกทักษะการคิดคํานวณ
        1. ทองสูตรคูณทุกเย็นซึ่งนิยมทํากันมาแตในอดีตปจจุบันยังจําเปนแตควรเพิ่มเติม
การทบทวนความหมายการคูณและการหาร และควรมีการฝกใชสตรคูณหาผลหารดวย
                                                             ู
        2. ฝกบวก ลบ เร็ว ประเภท ผลบวกไมเกิน 2 หลัก
เชน 6 + 8 = และหาผลลบประเภทมีคาไมเกิน 2 หลัก เชน 12 – 9 = โดยวิธี จับคู ถาม
ตอบ จากบัตรฝกทักษะบวกลบ
        3. เลนเกม เชน – เกมโดมิโน บิงโก บันไดงู จับคู เปนกลุม
            - เลนเกมตอภาพ เปนกลุม
            - เลนเกมระบายสี เปนกลุม
            - เกมผสม 10, 11, 12,_ _ _, 18 เกมเหลานี้ ออกแบบโดยใชเนื้อหาทักษะพื้นฐาน
การบวก ลบ คูณ หาร
        4. ฝกทําจากแบบฝกหัดสําเร็จรูป

5. การจํา ศัพท สูตร หลักการทางคณิตศาสตร
           ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร ปญหาหนึ่งที่เปนอุปสรรคตอการแกโจทยปญหาก็คือการจํา
ศัพท สูตร หลักการทางคณิตศาสตรไมได ทั้ง ๆ ที่โจทยปญหาบางขออาจไมยากจนเกินไป และนักเรียน
รูวิธทําวาจะทําอยางไร
      ี
           ความจําที่เปนประโยชนตอการแกปญหาคณิตศาสตร จัดอยูในประเภทตองจําแบบถาวร สามารถ
                                                                        
เรียกคนคืนมาใชได และจัดอยูในประเภทความจําแบบซีแมนติค (Semantics) ซึ่งหมายถึงการใชภาษา
เขาใจความหมายโดยทัวไป การเขาใจขอเท็จจริง เขาใจความคิดรวบยอด หลักการ และทฤษฎีตาง ๆ
                          ่
รวมทั้งถอยคําเกี่ยวกับภาษา
           การลืมเปนผลเนื่องมาจากความไมสามารถจะคนคืนสิ่งที่เรียนรูแลวมาใช แลวอาจเนืองมาจาก
                                                                                               ่
หลายสาเหตุ เชน อาจจะไมไดสรางรหัสบันทึกไวในความทรงจําระยะยาว เพราะผูเรียนไมไดคดจะ         ิ
เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรูใหมกับสิ่งที่เรียนรูแลว และเรียนรูแบบไมมีความหมาย ทําใหลืมไดงาย
                                                             
(สุรางค โควตระกูล 2536 : 281)
           นักจิตวิทยาไดแนะนําใหครูสอนเทคนิคการชวยความจําใหแกนักเรียน เพื่อจะไดเก็บสิ่งที่เรียนรู
ไดในความทรงจํานาน ๆ เทคนิคการชวยจํามี 6 วิธี ดังนี้ (สุรางค โควตระกูล 2536 : 281 – 287)
           1.       สรางเสียงสัมผัส บางทานนําสิ่งที่ตองจํามาแตงเปนกลอน เชนกลอนเกี่ยวกับสาระใน
บางทานก็นําสิงที่จะจํามาแตงเปนเพลง(เพลงคณิตศาสตรสําหรับนักเรียน ป.3 – 4 โปรดศึกษาใน
                 ่
ตอนทาย)



                                                                            สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                          สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
11

2. สรางคําเพื่อชวยจําจากอักษรตัวแรกของแตละคํา เชน การจําบทนิยามคําทางตรีโกณมิติ
                          opposite side
       sin θ = 0 = hypothenuse
                   h
                   a      adjacente side
       cos θ = h = hypothenuse
                          opposite side
       tan θ = o = adjacente side
                   a




                                                                สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                              สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
12

                                การสอนโจทยปญหารอยละ
                                                                   ผศ.ดร. สมวงษ แปลงประสพโชค


ทําไมตองเรียนรอยละ
        เพราะมีใชในชีวิตจริงหลายเรื่อง เชน
             - ปานบอกสวนประกอบอาหาร ยา และ สารเคมีในปุย
             - อัตราดอกเบี้ย
             - อัตราการเสียภาษี นายหนา
             - การนําเสนอขอมูลตาง ๆ ขาวสารตาง ๆ
             - สวนลดสินคา

รูปแบบของโจทยปญหารอยละ
       1. โจทยพื้นฐานคิด 1 ขั้นตอน มี 3 แบบ
          แบบที่ 1 r% ของ A = เมื่อกําหนด r และ A
          ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชไป 20% ของที่มีอยู ใชไปกี่บาท
          แบบที่ 2 % ของ A = B เมื่อกําหนด A และ B
          ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชไป 100 บาท ใชไปรอยละเทาใดของทีมี   ่
          แบบที่ 3 r% ของ = B เมื่อกําหนด r และ B
          ตัวอยาง ใชเงินไป 100 บาท คิดเปน 20% ของเงินที่มี จงหาเงินที่มี
       2. โจทยพลิกแพลงคิด 2 ขั้นตอน มี 3 รูปแบบ
          แบบที่ 1 A ± r% ของ A =
          ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชไป 20% ของเงินที่มี จะเหลือเงินกี่บาท
          แบบที่ 2 A ± C = % ของ A
          ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชเงินไป เหลือเงิน 400 บาท ใชเงินไปรอยละเทาใดของที่มี
          แบบที่ 3 ± r% ของ = B
          ตัวอยาง ไดเงินมาเพิ่มอีก 10% ทําใหมีรายไดเปนวันละ 165 บาท เดิมมีรายไดวันละกี่บาท




                                                                        สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                      สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
13

       3. โจทยพลิกแพลงคิดมากกวา 2 ขั้นตอน มีหลายรูปแบบ
          แบบที่ 1
                              เพิ่มหรือ         เพิ่มหรือ
                               ลด r%             ลด s%

                      A                                       ?

           ตัวอยาง ลงทุน 500 บาท ปดราคาขายคิดกําไร 30 % ถาลดให 10 % จะขายไดเงินกี่บาท
                    และจะไดกําไรกี่เปอรเซ็นต
           แบบที่ 2
                              เพิ่มหรือ         เพิ่มหรือ
                               ลด r%             ลด s%

                      ?                                       C


           ตัวอยาง ปดราคาสินคาไวโดยคิดกําไรไว 40 % แตขายจริงลดราคา 20 % ไดเงิน 560 บาท
                    จงหาราคาทุนและหาวากําไรกี่เปอรเซ็นต

วิธีแกโจทยปญหารอยละ
           วิธี 1 วิธีสมการ                                        r
                                วิธีนี้จะแทน “ r% ของA = B ” ดวย 100 × A = B
           วิธี 2 วิธีอัตราสวน แทนขอความ “ r% ของA = B ” ดวย 100r     =AB

           วิธี 3 ใชบัญญัติไตรยางศ วิธีนี้ใชอัตราสวนแบบบรรยาย

ตัวอยาง ลงทุน 500 บาท ขายคิดกําไร 40 % ของทุน จะไดกําไรกีบาท
                                                           ่
        วิธีที่ 1 กําไร 40 % ของทุน หมายถึง
                         40
                  กําไร 100 ของทุน แตทุน 500 บาท
                          40
        ดังนั้น กําไร 100 × 500 = 200 บาท




                                                                       สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                     สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
14

           วิธีที่ 2 กําไร 40 % ของทุน หมายถึง
                               40
                     กําไร = 100
                               40
                     กําไร = 100
                            40
                     กําไร 100 × 500 = 200 บาท

           วิธีที่ 3 กําไร 40 % ของทุน หมายถึง
                     ทุน 100 บาท       กําไร 40 บาท
                     ทุน 1 บาท                40
                                       กําไร 100 บาท
                     ทุน 500 บาท              40
                                       กําไร 100 × 500 = 200 บาท



                             พื้นฐานการแกโจทยปญหารอยละ
                                                
       วิธีบัญญัติไตรยางค

               รูปแบบโจทยปญหา                    การขยายความหมายของรอยละ
               A ± r% ของ A =                      และการคัดเลือกขอมูลที่ตองการ


โจทยปญหาบวก ลบ


               รูปแบบโจทยปญหา
               r % ของ A =

               ทักษะการคูณ                                 บัญญัติไตรยางศ
               ทักษะการหารดวย 100

                              ความหมาย r % ของ A                การคูณ
                              ในรูปอัตราสวนแบบบรรยาย           การหาร



                                                                    สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
15

วิธีสมการ (วิธีเศษสวน)
                                         รูปแบบโจทยปญหา
                                         A ± r% ของ A =
        โจทยปญหา
        บวก ลบ
                                         รูปแบบโจทยปญหา
                                         r % ของ A =

                                         r % ของ A หมายถึง
                                           r          r
                                         100 ของ A 100 × A

                          รอยละ r.r%                 ทักษะการคูณ r×A
                          แทนดวย 100r                การหารดวย 100

                                 ความหมายของเศษสวนจากของหลายสิ่ง

วิธีอัตราสวน
                                         รูปแบบโจทยปญหา
                                         A ± r% ของ A =
โจทยปญหาบวก ลบ
                                         รูปแบบโจทยปญหา
                                         r % ของ A =

   r % ของ A =                             การคูณ                         การแกสมการ
             r
หมายถึง A = 100                          การหารดวย 100           ที่ใชสมบัติการคูณและหาร



อัตราสวนเปนการ                                                             การคูณ
เปรียบเทียบ 2 จํานวน                                                         การหาร


                                                                        สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                      สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
16

ตัวอยาง การใชรอยละในชีวตจริงในดานการนําเสนอขอมูล
                          ิ

1. “ป 2537 พบวา ชาย - หญิงที่ไดเรียนตอในระดับ ม.1 ที่จงหวัดเชียงราย มี 92 % และในจังหวัด
                                                          ั
พะเยามี 95 % คาดวาจะผลักดันใหเพิ่มขึนเปน 100% ในป 2538 ขณะนียังมีเด็ก 1,266 คน จาก
                                      ้                              ้
เชียงรายและพะเยา ไมมีทุนที่จะเรียนตอในชั้น ม.1 ”
                                                                  (ขอมูลจาก ในไทยรัฐ 3 เม.ย. 38)
คําถาม 1. จงบอกความหมายของขอความที่เปนตัวหนา และขอความที่ขีดเสนใต
        2. จะคํานวณหาจํานวนนักเรียนในพะเยาและเชียงรายที่เรียนตอ ม.1 ในป 2537 ไดหรือไม

2. “จากการรายงานของสถานกงสุลไทยในกรุงโตเกียวเกี่ยวกับ มีผูหญิงไทยที่เดินทางไปทํางานในญี่ปุน
ในป 2536 อยางเปนทางการ 27,381 ราย เปนอาชีพแมบาน 92 % รับจางในรานอาหาร 6.8 % และเขา
ไปใชแรงงาน 1.2 % ในป 2537 จํานวนหญิงไทยทียึดอาชีพแมบานลดลงเหลือ 89.8 % ซึ่งมีประมาณ
                                              ่
25,000 คน” (ไทยรัฐ 3 เมษายน 2538)
คําถาม 1. จงใหความหมายของขอความที่เปนตัวหนา
       2. จงคํานวณหาจํานวนหญิงไทยที่เปนแมบานในญี่ปุน เมื่อป 2536
       3. จะคํานวณหาจํานวนหญิงที่ไปทํางานในญี่ปุนป 2537 ไดหรือไม คํานวณอยางไร

3. “จากการสํารวจทะเบียนราษฎร ป 2536 พบวา ทัวประเทศมีการหยาราง 9.6 % ในกรุงเทพฯ มีการ
                                                     ่
หยาราง 23.8 % ภาคกลางมี 15.7 % หญิงที่อายุต่ํากวา 50 ป มีการหยาราง 12 % โดย 1 ใน 5 ของ
การหยารางเปนการหยารางหลังแตงงานได 15 ป และ 2 ใน 3 หยารางเมื่อแตงงานไดเพียง 5 ปเทานั้น
และหญิงที่ถูกหยารางนั้นตองรับภาระเลี้ยงดูลูกถึง 80 %”
                                                                              (ไทยรัฐ 3 เม.ย. 38)

คําถาม 1. จงอธิบายขอความที่เปนตัวหนาทั้ง 3 แทง

4. “จากการสํารวจหญิง 2,800 คนที่มีสามี พบวา 67 % เคยทะเลาะกับสามีโดยไมถูกทุบตี สวน 1 ใน
5 เคยทะเลาะถูกสามีทบตี และ 13 % ถูกทุบตีอยางรุนแรง”
                    ุ
                                                                         (ไทยรัฐ 3 เม.ย. 38)
คําถาม 1. จงอธิบายขอความที่เปนตัวหนา
       2. มีหญิงเคยทะเลาะกับสามีและถูกสามีทุบตีประมาณกี่คน
       3. มีหญิงเคยทะเลาะกับสามีและถูกสามีทุบตีอยางรุนแรงกี่คน



                                                                          สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                        สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
17

                          โครงสรางความรูพื้นฐาน
                    การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 1 และ 4


                      โจทยปญหารูปแบบ A ± r% ของ A =
                                   (รูปแบบ 4)

โจทยปญหาบวก ลบ
      

                        โจทยปญหารูปแบบ r% ของ A =
                                  (รูปแบบ 1)



      ความหมายของรอยละ                                 การคูณเศษสวน
         ในรูปเศษสวน                                   ที่มสวนเปน 100
                                                            ี
                    r
      r% ของ A = 100 × A                                กับจํานวนนับ



      โจทยปญหาการคูณเศษสวน
              กับจํานวนนับ



      เศษสวนจาก       การแทน r%               การหาผลคูณ           การหารดวย 100
      ของหลายสิ่ง            r
                       ดวย 100




                                                 ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค


                                                                สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                              สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
18

                           โครงสรางความรูพื้นฐาน 2
                      การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 2 และ 5

                  โจทยปญหารูปแบบ A ± C = % ของ A (หรือ C)
                                   (รูปแบบ 5)

โจทยปญหาบวกลบ

                         โจทยปญหารูปแบบ A = % ของ B
                                     (รูปแบบ 2)


                                             r
                                     การแทน 100 ดวย r%



การแสดงสวนหนึ่งจาก                      การทําเศษสวน
ทั้งหมดในรูปเศษสวน                      ใหมีสวนเปน 100




                            การหาร       การคูณดวย 100            เศษสวนเทากัน




                                                                  สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
19

                            โครงสรางความรูพื้นฐาน 3
                      การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 3 และ 6

                        โจทยปญหารูปแบบ ± r% ของ         =B
                                      (รูปแบบ 6)

หาเศษสวนที่แสดงสวนที่เหลือหรือ
สวนรวม เมื่อกําหนดเศษสวน
ที่หกออกไปหรือสวนที่เพิ่มเขามา
    ั

                           โจทยปญหารูปแบบ r% ของ    =B
                                     (รูปแบบ 3)


                                                                     r
                                                     การแทน r% ดวย 100
เมื่อกําหนด
 a ของ = C
 b
สามารถหา



เศษสวนจาก                          โจทยปญหาการคูณการหาร
ของหลายสิ่ง                             (บัญญัติไตรยางค)



                                    การคูณ       การหาร




                                                                   สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
20

                        โครงสรางความรูพื้นฐาน 4
                พื้นฐานการแกปญหารอยละกับการซื้อขาย

                               1. หาราคาขาย

          2. หารอยละของ จํานวนเงินทีลดราคา กําไรและขาดทุน
                                     ่

                         3. หาราคาที่ปด และราคาทุน

                                                               r
                                                       การแทน 100 ดวย r%



หาจํานวนเงินที่ลดราคา           หาคําตอบจากปญหา                 การทําเศษสวนให
กําไร และขาดทุน                    r × =B                          มีสวนเปนรอย
                                 100
เมื่อกําหนดในรูปรอยละ



การคูณเศษสวน              การหาเศษสวนแสดง            การใชเศษสวนแสดงจํานวนเงิน
กับจํานวนนับ                จํานวนเงินที่ขายได        ที่ลดราคา     กําไร – ขาดทุน
                         จากราคาที่ปด จากราคาทุน      จากราคาที่ปด จากราคาทุน


                r
การแทน r% ดวย 100                              r
                                การแทน r% ดวย 100                     หาจํานวนเงินที่
                                                                 ลดราคา      กําไร – ขาดทุน
                                                                 เมื่อทราบ เมื่อทราบ
                                                                 ราคาที่ปด ราคาขาย
                                                                 และ ราคาขาย และ ราคาทุน




                                                                สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                              สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
21

               บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน
                     การแกโจทยปญหารอยละ
               จุดประสงค
               1. สามารถแกโจทยปญหาเกียวกับเศษสวนของจํานวนนับ
                                        ่
               2. สามารถหาราคาขาย ราคาที่ปดไว สวนลด และสวนเพิ่มของ
                  การขายสินคา
               3. สามารถหาราคาทุน ราคาขาย กําไร และขาดทุน

                                                 ผศ.ดร. สมวงษ แปลงประสพโชค
                                                     สถาบันราชภัฏพระนคร

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.1
เศษสวนของจํานวนทีเ่ ปนพหุคูณของตัวสวน เมื่อตัวสวนไมเกิน 10
จงเติมคําตอบลงใน

                        1                                                 1
1.                        ของ 4 =              2.                             ของ 8 =
                        2                                                 4
                                                                          2
                                                                              ของ 8 =
                                                                          4
                                                                          3
                                                                              ของ 8 =
                                                                          4
                        1                                                 1
3.                        ของ 6 =              4.                             ของ 9 =
                        2                                                 3
                                                                          2
                                                                              ของ 9 =
                                                                          3

     2                                              3
5.     ของ 10 =                                6. 5 ของ 10 =
     5
    3                                               5
7. 4 ของ 16 =                                  8. 4 ของ 12 =
    3                                               6
9. 10 ของ 350 =                                10. 10 ของ 870 =



                                                                         สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                       สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
22

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.2
เศษสวนของจํานวนทีเ่ ปนพหุคูณของ 100 เมื่อตัวสวนเปน 100
จงเติมคําตอบลงใน

         3                                              4
1.     100   ของ 500 =                        2.      100    ของ 800 =
         5                                             20
3.     100   ของ 700 =                        4.      100    ของ 600 =
        25                                             30
5.     100   ของ 40 =                         6.      100    ของ 70 =
        10                                             13
7.     100   ของ 20 =                         8.      100    ของ 300 =
        75                                             30
9.     100   ของ 40 =                         10.     100    ของ 80 =
         4                                              7
11.    100   ของ 50 =                         12.     100    ของ 600 =


บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.3
การคูณเศษสวนกับจํานวนนับ
จงเติมคําตอบลงใน

         3                                             25
1.     100 × 800 =                            2.      100 × 40 =
        12                                             1
3.     100 × 50 =                             4.      10 × 6 =
         3                                             20
5.     100 × 8 =                              6.      100 × 70 =
        80                                             60
7.     100 × 50 =                             8.      100 × 40 =
        15                                             40
9.     100 × 40 =                             10.     100 × 300 =
        70                                             20
11.    100 × 500 =                            12.     100 × 80 =




                                                                       สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                     สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
23

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.4
โจทยปญหาเศษสวนของจํานวนที่เปนพหุคูณของตัวสวน
จงหาคําตอบ

1. มีเงิน 10 บาท ใชไป 1 ของที่มี
                       5
                                            2. มีเงิน 6 บาท ไดมาอีก 2 ของที่มี
                                                                     3
   ก. ใชเงินไปกี่บาท ……………...                 ก. ไดเงินมากี่บาท ……………….
   ข. เหลือเงินกี่บาท ………………                   ข. รวมมีเงินกี่บาท ……………….
3. มีขนม 8 อัน ไดมาอีก 1 ของที่มี
                        4
                                            4. มีขนม 8 อัน กินไป 1 ของที่มี
                                                                 4
   ก. ไดขนมมาอีกกี่อัน …………...                ก. กินขนมไปกี่อัน ………………
   ข. รวมมีขนมกี่อัน ………………                    ข. เหลือขนมกี่อัน ……………….
                      3
5. มีคน 40 คน เปนชาย 4 ของที่มี                                    5
                                            6. ขอสอบ 80 ขอ ทําถูก 8 ของทั้งหมด
   ก. เปนชายกี่คน …………………                     ก. ทําถูกกี่ขอ ……………………..
   ข. เปนหญิงกี่คน ………………..                   ข. ทําผิดกี่ขอ ……………………..




                        5
7. มีไข 300 ฟอง ขายไป 100 ของที่มี                                    12
                                            8. มีเงิน 200 บาท ไดเพิ่ม 100 ของที่มี
   ก. ขายไขไปกี่ฟอง ……………….                   ก. ไดเงินเพิ่มกี่บาท …………………
   ข. เหลือไขก่ฟอง …………………
                ี                              ข. มีเงินรวมกี่บาท …………………
9. เด็ก 50 คน ฟนผุ 2 ของทั้งหมด
                    5
                                            10. มีสม 24 ผล ซื้อมาเพิ่ม 1 ของที่มี
                                                                        4
   ก. เด็กฟนผุกี่คน …………………                   ก. ซื้อสมมาเพิ่มกี่ผล ………………
   ข. เด็กฟนไมผุมีกี่คน ……………                ข. รวมมีสมกี่ผล …………………..
11. มีมะมวง 30 ผล มะมวงสุก 2 ของที่มี 12. มีเปด 20 ตัว เปนตัวผู 1 ของที่มี
                             3                                       5
   ก. มีมะมวงสุกกี่ผล ………………                  ก. มีเปดตัวผูกี่ตัว ………………….
   ข. มีมะมวงดิบกี่ผล ………………                  ข. มีเปดตัวเมียกี่ตัว ………………..


                                                                      สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                    สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
24

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.5
การแทนรอยละดวยเศษสวน
จงเขียนรอยละในรูปเศษสวน

1. 5 % ของ 30 แทนดวย ………                 2. รอยละ 20 ของ 80 แทนดวย ………….

3. 10 % ของ 80 แทนดวย ………                4. รอยละ 110 ของ 50 แทนดวย ………….

5. 15 % ของ 30 แทนดวย ………                6. รอยละ 25 ของ 80 แทนดวย ………….




บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 2.1
จงเติมเศษสวนแสดงสวนหนึ่งจากทั้งหมด

1.           มี     เปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด
             มี     เปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด

2. มีลูกหิน 8 ลูก เปนสีดํา 3 ลูก นอกนั้นเปนสีขาว
   ก. มีลกหินสีดําเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด
          ู
   ข. มีลูกหินสีขาวเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด

3. มีนักเรียน 40 คน เปนชาย 25 คน
   ก. มีชายเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด            ตอบ………………….ของทั้งหมด
   ข. มีหญิงเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด           ตอบ………………….ของทั้งหมด




                                                                 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                               สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
25

4. มีไขเปดและไขไก 200 ฟอง เปนไขเปด 120 ฟอง
   ก. มีไขเปดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด       ตอบ………………….ของทั้งหมด
   ข. มีไขไกเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด         ตอบ………………….ของทั้งหมด

5. มีขอสอบ 10 ขอ ทําถูก 4 ขอ นอกนั้นทําผิด
   ก. ทําถูกเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด           ตอบ………………….ของทั้งหมด
   ข. ทําผิดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด           ตอบ………………….ของทั้งหมด

6. มีมะมวง 20 ผล เปนมะมวงสุก 9 ผล
   ก. มีมะมวงสุกเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด      ตอบ………………….ของทั้งหมด
   ข. มีมะมวงดิบเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด      ตอบ………………….ของทั้งหมด



บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 2.2
จงเติมเศษสวนแสดงสวนหนึ่งจากทั้งหมด

1.                   เดิมมี 5 เอาออกไป 2
             ก. เอาออกไปเปนเศษสวนเทาใดของเดิม         ตอบ……………….ของเดิม
             ข. เหลือเปนเศษสวนเทาใดของเดิม            ตอบ……………….ของเดิม

2.                    เดิมมี 5 เพิ่มอีก 2
             ก. เพิ่มเปนเศษสวนเทาใดของเดิม            ตอบ……………….ของเดิม
             ข. รวมเปนเศษสวนเทาใดของเดิม              ตอบ……………….ของเดิม

3. เดิมราคา 10 บาท ขึ้นราคา 2 บาท
   ก. ขึ้นราคาเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม               ตอบ……………….ของราคาเดิม
   ข. ราคาใหมเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม               ตอบ……………….ของราคาเดิม


                                                                  สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
26

4. เดิมราคา 10 บาท ขึ้นราคา 2 บาท
   ก. ลดราคาเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม                     ตอบ……………….ของราคาเดิม
   ข. ราคาใหมเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม                   ตอบ……………….ของราคาเดิม

5. เดิมมีเงิน 20 บาท ไดมาอีก 5 บาท
    ก. ไดมาอีกเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม             ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม
    ข. รวมมีเงินเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม            ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม

6. เดิมมีเงิน 20 บาท ใชไป 5 บาท
   ก. ใชไปเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม                 ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม
   ข. เหลือเงินเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม             ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม


บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 2.3
จงทําเศษสวนใหมีสวนเปน 100


               1. 3 = 3×25 = 75 หรือ ( 3 = 3×100 = 75 )
                  4 4×25 100           4 4×100 100

2.      2      =                                    3.        11 =
        5                                                     25

4.       7     =                                    5.         3 =
        50                                                    20

6.       7     =                                    7.        24 =
        10                                                    200

8.       45 =                                       9.         35 =
        300                                                   100

10.     24 =                                        11.       16 =
       1200                                                   800


                                                                      สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                    สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
27

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.1       จงเติมคําตอบลงใน

1.                1 ของ         =2         2.                       1 ของ               =3
                  3                                                 4



3.                3 ของ         =6         4.                       2 ของ               =8
                  5                                                 6




5.     4    ของ           =8               6.    5 ของ                = 20
       5                                         6
7.     3    ของ 8         =                8.    3 ของ                = 12
       4                                         4
9.      7   ของ           = 56             10.   2 ของ 90              =
       10                                        5
11.     2   ของ 20        =                12.    2 ของ                =4
       10                                        10

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.2       จงเติมคําตอบลงใน

1.      3 ของ                 = 12         2.     3 ของ 800 =
       100                                       100


3.      5 ของ 400 =                        4.     5 ของ                 = 10
       100                                       100


5.      7 ของ             = 42             6.     7 ของ 30 =
       100                                       100


7.      4 ของ 200 =                        8.     4 ของ                    = 28
       100                                       100


9.      80 ของ 60         =                10.    80 ของ                   = 32
       100                                       100

                                                                   สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
28

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.3
จงเขียนเปนประโยคสัญลักษณและหาคําตอบ
1. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
                              6
   ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….……………….
2. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
                              6
   ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….………………
3. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
                              6
   ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….………………
4. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
                              6
   ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….………………
5. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
                              6
   ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….………………
6. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
                              6
   ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….………………

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.4
จงหาคําตอบ
1. ทําขอสอบถูก 6 ของทั้งหมดที่เหลือทําผิด
                  10
    ทําขอสอบผิดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ……………………………………………
2. ทําขอสอบถูก 6 ของทั้งหมด ที่เหลือทําผิด 20 ขอ มีขอสอบทั้งหมดกี่ขอ ตอบ……………
                                                                         
                  10
3. ใชเงินไป 4 ของที่มี จะเหลือเงินคิดเปนเศษสวนเทาใดของที่มี ตอบ………………………..
              5
4. ใชเงินไป 20 บาท เหลือ 1 ของที่มีอยูเดิม จงหาจํานวนเงินที่มีอยูเดิม ตอบ………………
                            5
5. มีนักเรียนหญิง 3 ของทั้งหมด มีนักเรียนชายคิดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………
                   5
6. มีนักเรียนชาย 80 คน เปนหญิง 3 ของทั้งหมด มีนกเรียนทั้งหมดกี่คน ตอบ…………….
                                                     ั
                                   5


                                                                   สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
29

บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.5
จงเติมคําตอบลงใน
1.       2 ของ          = 12              2.     2 ของ 24 =
         3                                       3

3.       8=         ของ 24                4.     3 ของ                = 15
                                                10

5.       3 ของ 60       =                 6.    20 =                  ของ 60
        10

7.       7 ของ 80       =                 8.     7 ของ                = 28
        10                                      10

9.      8 ของ 200      =                  10.    8 ของ                 = 16
       100                                      100

11.      5 =         ของ 200              12.    3 ของ 400             =
                                                100



บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 4.1
จงเติมคําตอบ
                             ปดราคาขาย            ขายจริง                    ลดราคา
          สินคา
                                (บาท)               (บาท)                      (บาท)
1.    แตงกวา กก. ละ                  18                  15             ………….
2.    คะนา กก. ละ                   28               …………                3
3.    มะเขือ กก. ละ              ………….                   12               3
4.    ถั่ว กก. ละ                    30               …………                3
5.    ปดราคาขายพัดลมไว 570 บาท ลดใหผซื้อ 50 บาท จะขายไดเงินกีบาท ตอบ………………………
                                          ู                       ่
6.    ซื้อเตาไดสวนลด 25 บาท เหลือราคา 120 บาท เดิมปดราคาเตากี่บาท ตอบ……………………
7.    ปดราคาตู 7,500 บาท ลดราคาเหลือเพียง 7,000 บาท ลดราคากี่บาท ตอบ……………………




                                                                  สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา
                                                สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

More Related Content

What's hot

แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1Nattarinthon Soysuwan
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 

What's hot (19)

แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 

Viewers also liked

ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่Napadon Yingyongsakul
 
ตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยjittrenuch
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์napadon2
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับKruGift Girlz
 
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLnapadon2
 
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLnapadon2
 
การจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะ
การจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะการจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะ
การจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะnapadon2
 
การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ
การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ
การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษnapadon2
 
คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1Thanakorn Kamsan
 
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learningการจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learningnapadon2
 
การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL napadon2
 
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL napadon2
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนkany20101
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 

Viewers also liked (20)

ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
 
ตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยตัวเลขไทย
ตัวเลขไทย
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
 
การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
การจัดการรเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ดนตรีและนาฏศิลป์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
O net วิทย์ 54
O net วิทย์ 54O net วิทย์ 54
O net วิทย์ 54
 
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
การจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะ
การจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะการจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะ
การจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะ
 
การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ
การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ
การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ
 
คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1
 
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learningการจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
 
การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษา แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 

Similar to เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

Math website
Math websiteMath website
Math websitezensation
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)Apirak Potpipit
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละApirak Potpipit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชาNichaphon Tasombat
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15Noon Pattira
 
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...Prachoom Rangkasikorn
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan seriesseelopa
 

Similar to เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (20)

Math website
Math websiteMath website
Math website
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
K15
K15K15
K15
 
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
 

More from Napadon Yingyongsakul

แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานNapadon Yingyongsakul
 
รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑
รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑
รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑Napadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษNapadon Yingyongsakul
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google docNapadon Yingyongsakul
 
คู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpress
คู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpressคู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpress
คู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpressNapadon Yingyongsakul
 
ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD
ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD
ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD Napadon Yingyongsakul
 
ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สู่แท็บเล็ต
ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่   2  สู่แท็บเล็ต  ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่   2  สู่แท็บเล็ต
ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สู่แท็บเล็ต Napadon Yingyongsakul
 
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPCการดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPCNapadon Yingyongsakul
 
การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)
การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)
การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)Napadon Yingyongsakul
 
การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕
การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕
การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕Napadon Yingyongsakul
 
สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕
สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕
สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕Napadon Yingyongsakul
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
สงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาสงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาNapadon Yingyongsakul
 
ทำเนียบสื่อมวลชนสตูล
ทำเนียบสื่อมวลชนสตูลทำเนียบสื่อมวลชนสตูล
ทำเนียบสื่อมวลชนสตูลNapadon Yingyongsakul
 
การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม
การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม
การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

More from Napadon Yingyongsakul (20)

แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑
รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑
รายชื่อเว็บบล็อกการอบรมปฏิบัติการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รุ่นที่ ๑
 
แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpress
คู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpressคู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpress
คู่มือการใช้งาน Blog ที่ wordpress
 
ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD
ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD
ขั้นตอนการติดตั้งเนื้อหา ป. 2 สู่แท็บเล็ต จากแผ่น DVD
 
ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สู่แท็บเล็ต
ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่   2  สู่แท็บเล็ต  ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่   2  สู่แท็บเล็ต
ขั้นตอนการติดตั้งสื่อการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สู่แท็บเล็ต
 
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPCการดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
 
การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)
การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)
การจัดตั้งศูนย์บริการหลังการขายคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต)
 
การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕
การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕
การพิจารณาคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕
 
สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕
สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕
สาร สพป.สตูล ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓๕ ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
สงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาสงครามนกกระสา
สงครามนกกระสา
 
ทำเนียบสื่อมวลชนสตูล
ทำเนียบสื่อมวลชนสตูลทำเนียบสื่อมวลชนสตูล
ทำเนียบสื่อมวลชนสตูล
 
The best teacher_of_social_media
The best teacher_of_social_mediaThe best teacher_of_social_media
The best teacher_of_social_media
 
การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม
การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม
การจัดงานสัมมนาวิชาการ เปิดบ้านนวัตกรรม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
 
ผล O net 54
ผล O net 54ผล O net 54
ผล O net 54
 

เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

  • 1. เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครู วิชาคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา การแกโจทยปญหาและบทประยุกต จัดทําโดยสาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 2. คําชี้แจง เอกสารเรื่อง การแกโจทยปญหาและบทประยุกต ยกรางโดย  ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค อาจารยสถาบันราชภัฏพระนคร สําหรับใชประกอบ การประชุมปฏิบัติการการอบรมครูในโรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน วิชาคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา ปงบประมาณ 2543 ซึ่งจัดโดยสถาบันสงเสริม การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตั้งแตวันที่ 13 – 15 กันยายน 2543 ณ โรงแรม รอยัล เบญจา กรุงเทพฯ สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา หวังวาเอกสารนี้จะเปนประโยชนตอ ผูเขารับการอบรมและผูที่สนใจ สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษาขอขอบคุณ ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค และผูที่มีสวนเกียวของในการจัดทําเอกสาร ่ หากพบขอบกพรองประการใดโปรดแจงใหทราบ เพื่อประโยชนในการปรับปรุงตอไป สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. สารบัญ หนา โจทยปญหาคณิตศาสตร  1 การสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร ชั้น ป.3 – 4  3 การสอนโจทยปญหารอยละ 12 พื้นฐานการแกโจทยปญหารอยละ  14 โครงสรางความรูพื้นฐาน 1 (การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 1 และ 4) 17 โครงสรางความรูพื้นฐาน 2 (การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 2 และ 5) 18 โครงสรางความรูพื้นฐาน 3 (การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 3 และ 6) 19 โครงสรางความรูพื้นฐาน 4 (พื้นฐานการแกโจทยปญหารอยละกับการซื้อขาย) 20 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน (การแกโจทยปญหารอยละ) 21 แบบฝกเสริมการคูณการหารและโจทยปญหาการซื้อขาย 32 แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานเรื่องโจทยปญหารอยละ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ชุดที่ 1 – 4  36 แบบทดสอบวัดทักษะการคูณและการหาร (พื้นฐานรอยละ) 40 แบบทดสอบวัดความสามารถในการหาคําตอบจากโจทยปญหารอยละ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 (ฉบับที่ 1 – 2) 41 รูปแบบโจทยปญหาการบวก ลบ คูณ และหาร 44 การซอมเสริมทักษะการคูณการหาร 49 Inquiry อยางไรในคณิตศาสตร ? 62
  • 4. 1 โจทยปญหาคณิตศาสตร ผศ.ดร. สมวงษ แปลงประสพโชค สถาบันราชภัฎพระนคร โจทยปญหาคณิตศาสตร หมายถึง โจทยปญหาหรือเรืองราว หรือโจทยเชิงสนทนาซึ่งบรรยายดวยถอยคําและตัวเลข ่ มีคําถามที่ตองการคําตอบในเชิงปริมาณ การแกโจทยปญหานับวาเปนเรื่องยากที่สดตอการเรียนการสอนความยากดังกลาว มีสาเหตุ  ุ มาจากหลายองคประกอบเชน 1. ความคิดรวบยอดเกียวกับ การบวก ลบ คูณ หาร ไมดี ่ พฤติกรรมบงชี้ : ไมสามารถสรางประโยคสัญลักษณได หรือ สรางผิด เมื่ออานโจทยจบ ไมทราบวาจะใชวิธี บวก หรือ ลบ หรือ คูณ หรือหาร 2. ความสามารถในการอานไมดี พฤติกรรมบงชี้ : อานชา เวลาอานจะมัวสะกดคํา ผันคํา เมื่ออานจบไมทราบวาทีอานมา ่ นั้นเปนเรื่องเกียวกับอะไร ่ 3. ความสามารถในการวิเคราะหโจทยปญหาไมดี  พฤติกรรมบงชี้ : บอกไมไดวาโจทยถามอะไร โจทยใหอะไรบาง จะหาสิ่งที่โจทย ตองการไดอยางไร 4. ทักษะการคิดคํานวณไมดี พฤติกรรมบงชี้ : คํานวณผิดพลาดอยูเสมอ 5. จําคําศัพททางคณิตศาสตรไมได เชน บทนิยามสูตร สูตร กฎ หนวยการวัด การชั่ง การตวง และเวลา ทักษะที่จาเปนในการแกโจทยปญหา ํ ดร. สุนย เหมะประสิทธิ์ ไดศึกษาการแกโจทยปญหา และไดสรุปวาทักษะการแกโจทยมี ี องคประกอบตอไปนี้ 1. ทักษะในการอานจับใจความ 2. ทักษะในการคํานวณ + - × ÷ 3. ทักษะในการวิเคราะหปญหา จําแนกไดวา โจทยถามอะไร และ กําหนดอะไรมาให 4. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ บวก ลบ คูณ หาร (และสิ่งเกียวของอื่น ๆ) ่ 5. ทักษะในการแกปญหาโจทยปญหา คือ สามารถบูรณาการทักษะ 1, 2, 3, 4 มาใช แกปญหา สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 5. 2 หลักการวิเคราะหโจทยปญหา อานโจทย โจทยตองการอะไร โจทยกําหนดอะไรมาใหบาง จะหาสิ่งที่โจทย เลือกสิ่งที่ ตองการไดอยางไร โจทยให ขอมูลที่จําเปน ตัวอยาง ลงทุนซื้อของมา 200 บาท ปดราคาไว 250 บาท เมื่อขายจริงลดให ผูซ้อ 30 บาท ื จะไดกาไรกี่บาท ํ สิ่งที่โจทยถาม โจทยกําหนด กําไรกี่บาท ทุน 200 บาท ปดราคา 250 บาท ลด 30 บาท กําไร = ราคาขาย – ทุน ทุน 200 ราคาขาย = 250 – 30 ตัวอยาง แมคาซื้อสมมา 20 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 20 บาท ซื้อเงาะมา 30 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 25 บาท แมคามีเงาะและสมกี่กิโลกรัม สิ่งที่โจทยถาม สิ่งที่โจทยให น้ําหนักของเงาะ น้ําหนักของเงาะ 30 กก. และสม น้ําหนักของสม 20 กก. ราคาเงาะ กก. ละ 25 บาท หาคําตอบจาก ราคาสม กก. ละ 20 บาท น้ําหนักของ เงาะ + สม คัดเลือกขอมูล สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 6. 3 การสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร ชั้น ป.3 – 4 ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค สถาบันราชภัฎพระนคร การเรียนการสอนคณิตศาสตรระดับชั้น ป.3 พบวาการแกโจทยปญหานับวาเปนเรื่องยากที่สดตอ ุ การเรียนการสอน ความยากดังกลาวมีสาเหตุมาจากหลายองคประกอบ การนําเสนอตอไปนี้จะคัดเลือก องคประกอบบางประการขึ้นมาพิจารณาถึงสาเหตุที่นักเรียนชั้น ป.3 – 4 แกโจทยปญหาไมได  1. ความคิดรวบยอดเกียวกับ การบวก ลบ คูณ หาร ไมดี ่ พฤติกรรมบงชี้ : ไมสามารถสรางประโยคสัญลักษณได หรือสรางผิด เมื่ออานโจทยจบ ไมทราบวาจะใชวธี บวก หรือลบ หรือ คูณ หรือหาร ิ 2. ความสามารถในการอานไมดี พฤติกรรมบงชี้ : อานชา เวลาอานจะมัวสะกดคํา ผันคํา เมื่ออานจบ ไมทราบวาที่อาน มานั้นเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร 3. ความสามารถในการวิเคราะหโจทยปญหาไมดี พฤติกรรมบงชี้ : บอกไมไดวาโจทยถามอะไร โจทยใหอะไรมาบาง จะหาสิ่งที่ตองการไดอยางไร 4. ทักษะการคิดคํานวณไมดี พฤติกรรมบงชี้ : คํานวณผิดพลาดอยูเสมอ 5. จําคําศัพททางคณิตศาสตรไมได เชน บทนิยาม สูตร กฎ หนวยการวัด การชั่ง การตวง และเวลา ตอไปนี้จะเสนอแนวทางแกปญหาดังกลาว ซึ่งจะเปนเพียงหนึ่งในหลายวิธี 1. การทบทวนความคิดรวบยอด เกี่ยวกับการบวก ลบ คูณ หาร แมวานักเรียนจะผานการเรียน เรื่องการบวก ลบ คูณ หารมาแลวก็ตาม อาจจะยังไมเขาใจอยางแทจริง หรืออาจลืม เมื่อพบโจทย ปญหาจะตองตัดสินใจวาจะใชวิธีใดอาจเกิดการสับสน ครูควรทบทวนความคิดรวบยอดดังกลาว แนวทางหนึงของการทบทวนอาจทําดังนี้ ่ ขั้นที่ 1 ใชวธีถามตอบโดยใชสื่อรูปภาพ ิ 1. 2+3 = 2 รวมกับ 3 เปนเทาใด มี 2 เพิ่มอีก 3 เปนเทาใด สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 7. 4 2. 2+ = 5 2 รวมกับเทาใดจึงจะเปน 5 มี 2 เพิ่มอีกเทาใดจึงจะเปน 5 3. +3 = 5 จํานวนอะไร เมื่อรวมกับ 3 แลวได 5 เดิมมีเทาใด เมื่อเพิ่มอีก 3 แลวได 5 4. 5–2 = มี 5 เอาออก 2 เหลือเทาใด 5. 5- = 3 มี 5 เอาออกเทาใดจะเหลือ 3 6. -2 = 3 เดิมมีเทาใด ถาเอาออก 2 แลว จะเหลือ 3 7. 5–3 = 5 มากกวา 3 อยูเทาใด 3 นอยกวา 5 อยูเทาใด 8. 3+2 = จํานวนอะไรมากกวา 3 อยู 2 3 นอยกวาจํานวนอะไรอยู 2 9. 5–2 = จํานวนอะไรนอยกวา 5 อยู 2 5 มากกวาจํานวนใดอยู 2 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 8. 5 ขอสังเกต โจทยขอ 1 – 3 เปนโจทยแบบเพิ่มเขา หรือ สวนรวม สวนยอย โจทยขอ 4 – 6 เปนโจทยแบบเอาออก หักออก โจทยขอ 7 – 9 เปนโจทยเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวน 10. 3 ครั้งของ 2 เปนเทาใด 3 เทาของ 2 เปนเทาใด 2 สามครั้งรวมกันเปนเทาใด 3 × 2 = 11 …………………………………… ×2 = 6 กี่เทาของ 2 มีคาเปน 6 2 กี่ครั้งรวมกันได 6 2 รวมกันกี่จํานวนได 6 3× = 6 3 เทาของจํานวนใดมีคาเปน 6 จํานวนอะไรรวมกัน 3 จํานวน ได 6 3 ครั้งของจํานวนอะไร เทากับ 6 11. 6÷2 = 6 แบงกลุมละ 2 ไดกี่กลุม 6 เปนกี่เทาของ 2 2 รวมกันกี่ตัวจะได 6 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 9. 6 6 ÷3 = 6 แบงเปน 3 กลุมเทา ๆ กันจะไดกลุมละเทาใด 6 เปน 3 เทาของจํานวนอะไร 6 เทากับจํานวนอะไรรวมกัน 3 จํานวน ÷3 =2 จํานวนอะไรเมื่อแบง 3 กลุมเทา ๆ กันและไดกลุมละ 2  จํานวนอะไรเมื่อแบงเปนกลุมละ 2 แลวได 3 กลุม  ขั้นที่ 2 ฝกแตงโจทยจากภาพ กิจกรรม แบงกลุม ๆ ละ 5 - 6 ครูใหนกเรียนดูภาพขางตนแลวใหแตงโจทยหลาย ๆ รูปแบบ ั ขั้นที่ 3 ฝกใชความคิดรวบยอดเกียวกับ การบวก ลบ คูณ หาร ่ โดยใหสรางประโยคสัญลักษณจากสิ่งทีโจทยกําหนดให ่ กิจกรรม ใหทาแบบฝกหัดโจทยปญหาที่มขอความสั้น ๆ ตอไปนี้เปนรายบุคคล ํ ี จงเขียนเปนประโยคสัญลักษณและหาคําตอบ 1. 27 รวมกับ 50 เปนเทาใด 2. 53 รวมกับจํานวนใดจึงจะมีคาเปน 100 3. จํานวนอะไรรวมกับ 65 แลวได 100 4. 100 ลบออก 25 จะเหลือเทาใด 5. 100 ลบออกเทาใดจะเหลือ 75 6. จํานวนอะไรเมื่อลบออก 35 แลวเหลือ 60 7. 57 มากกวา 30 อยูเทาใด 8. 24 นอยกวา 50 อยูเทาใด 9. จํานวนอะไรมากกวา 30 อยู 10 10. 20 นอยกวาจํานวนอะไรอยู 10 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 10. 7 11. จํานวนอะไรนอยกวา 80 อยู 10 12. 30 มากกวาจํานวนอะไรอยู 10 13. 5 เทาของ 20 มีคาเทาใด 14. 500 เปนกี่เทาของ 20 15. 100 แบงเปน 20 จะไดกี่ครัง้ 16. 100 แบง 5 ครั้งเทา ๆ กัน จะไดครั้งละเทาใด 17. 100 แบงกี่ครังจะได 20 ้ 18. จํานวนอะไร เมื่อแบง 10 ครั้งเทา ๆ กันแลวได 5 วิธีการฝก - จับคูถามตอบ - ฝกเปนรายบุคคลโดยครูเปนผูควบคุม - ฝกจากเกมหรือของเลน 2. ฝกอาน และจินตนาการภาพจากโจทยปญหา  การอานมีผลมาจากการฝกฝนดานภาษา ถานักเรียนอานจบประโยค แลวสามารถเลาไดวา มีอะไร ที่ไหน อยางไร แสดงวานักเรียนไมบกพรองในการอาน ถาอานออกเสียงถูก แตไมอาจ เลาไดแสดงวามีความบกพรองในการอานจะตองแกไข ควรใหฝกอานโจทยปญหาคณิตศาสตรทก ุ วัน วันละนอย 2 – 3 ขอ มีขอแนะนําในการอานดังนี้ 1. อานทีละวรรคแลวเขียนภาพแสดง เชน 1) ในจานมีขนม 5 ชิ้น กินไป 2 ชิ้น เหลือขนมกี่ชน ิ้ 2) ในกระจาดมีสม 40 ผล  แบงใสถุงละ 10 ผล จะไดกี่ถุง 10 3) นารีสง 120 เซนติเมตร ู 120 นารีสงกวาธิดา 10 เซนติเมตร ู ธิดาสูงกี่เซนติเมตร 2. นําโจทยปญหาในหนังสือเรียนมาดัดแปลงขอความใหสั้นลง เชน โจทยในหนังสือเรียน ป.3  หนา 21 1) รถออกจากสถานีกรุงเทพฯ มีผูโดยสาร 170 คน เมื่อรถแลนถึง สถานีบางซื่อมี ผูโดยสารขึ้นอีก 31 คน รวมมีผูโดยสารกี่คน สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 11. 8 โจทยนี้จะเห็นวายาวและมีคายากสําหรับนักเรียนบางคน เชน สถานีกรุงเทพ ฯ ผูโดยสาร สถานี ํ บางซื่อ นักเรียนบางคนที่อานแบบสะกดคําจะไมเขาใจ ครูอาจแตงโจทยใหม ดังนี้  1. บนรถมีคน 170 คน ขึ้นมาอีก 31 คน รวมมีกี่คน 2. รถคันแรกมีคน 389 คน รถคันที่สองมีมากกวาคนแรก 67 คน คันที่สองมีคนกี่คน 3. บนรถมีผูใหญ 543 คน มีเด็ก 119 คน มีคนทั้งหมดกี่คน 4. ซื้อของ 95 บาท เสียคาอาหารอีก 50 บาท รวมจายเงินกี่บาท 5. จายเงินครั้งแรก 450 บาท จายเงินครั้งทีสองอีก 350 บาท รวมจายเงินกี่บาท ่ เมื่อฝกอานโจทยควรใหนักเรียนอานทีละวรรคและนึกภาพตามทีละวรรค จากนั้นสรางประโยค สัญลักษณโดยไมตองคิดคํานวณ สวนโจทยเรื่องราวในหนังสือเรียน ในการฝกอาน ครูควรแนะนําคําศัพท ที่แปลก ๆ ใหนักเรียนรูจักเพราะนักเรียน ป.3 อาจจะยังไมมีประสบการณทางภาษามากนัก ควรให นักเรียนฝกอานทุกวัน วันละไมเกิน 5 ขอ 3. โจทยปญหาควรเกี่ยวกับชีวิตจริง และใกลตวนักเรียน เชน ั 1) การซื้อขายของกินเลนสําหรับเด็ก ขนม ไอศกรีม 2) เรื่องราวเกียวกับการตูนในโทรทัศน ่ 3) เกี่ยวกับการเลนของเด็ก 4) เกี่ยวกับสัตวเลี้ยงภายในบาน 5) สวนสัตว 6) ของใชในบาน หรือของใชสวนตัว 3. การวิเคราะหโจทยปญหา นักแกปญหาหลายทานใหความคิดวา การวิเคราะหโจทยปญหาเปนสมบัติที่สําคัญในการ แกโจทยปญหาคณิตศาสตร การวิเคราะหโจทยปญหา เปนการฝกความสามารถที่จะบอกไดวา โจทยตองการใหหาอะไร โจทยกําหนดอะไรมาใหบาง จะสรางความสัมพันธนะหวางสิ่งที่โจทย ใหกับสิ่งที่ตองการไดอยางไร ตัวอยาง มีดอกไม 50 ดอก นํามากําทีละ 3 ดอกได 10 กํา จะเหลือดอกไมกี่ดอก การวิเคราะห สิ่งที่โจทยถาม จํานวนดอกไมที่เหลือ สิ่งที่โจทยให - มีดอกไมทั้งหมด 50 ดอก - นํามากํากําละ 3 ดอก 10 กํา สรางความสัมพันธของสิ่งที่โจทยถามกับสิ่งที่โจทยให จํานวนดอกไมที่เหลือ = ดอกไมทั้งหมด – ดอกไมที่กํา จํานวนดอกไมที่เหลือ = 50 – (10 × 3) สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 12. 9 = 20 นักแกปญหาหลายทานใหขอเสนอแนะวา ควรฝกใหนกเรียนไดพบโจทยหลาย ๆ ประเภท ั เชน โจทยประเภทที่ขอมูลไมเพียงพอ หรือโจทยประเภทที่ขอมูลเกิน นักเรียนตองวิเคราะห ออกมาวายังขาดขอมูลอะไร และขอมูลใดไมจําเปน เชน 1. นารีสูง 110 เซนติเมตร ธิดาสูงเทาใด โจทยนี้ ขอมูลไมเพียงพอทีจะหาความสูงของธิดา ่ 2. มานะหนัก 40 กก. มานีหนัก 35 กก. ปติหนัก 45 กก. ปติหนักกวามานีกี่ กก. โจทยนี้เปนโจทยที่ใหขอมูลเกินไมตองใชขอมูลบางสวนก็หาคําตอบได การฝกใหรักเรียนคุนเคยกับโจทยปญหาประเภทขอมูลไมเพียงพอ ครูอาจใหเลนเกม ดังนี้ วิธีเลน ครูตั้งคําถามที่ไมมีขอมูล ใหนักเรียนถามขอมูลจากครูได ไมเกิน 2 คําถาม 1. ทายซิวา นารีสูงกวาธิดากี่เซนติเมตร นร. ถามครู นารีสูงเทาใด ครูตอบ 120 ธิดาสูงเทาใด ครูตอบ 110 นร. คิด 120 – 110 = 10 เซนติเมตร 2. ทายซิวา ถามานะมีเงิน 50 บาท มานีจะมีเงินเทาใด นร. ถามครู มานะและมานีมีเงินรวมกันกีบาท ครูตอบ ไมทราบ ่ นร. ถามครู มานะมีเงินมากกวาหรือนอยกวามานีกี่บาท ครูตอบ มากกวา 15 บาท นร. คิด 50 – 15 = 35 3. ซื้อของราคา 20 บาท ทายซิวาจะไดเงินทอนกี่บาท นร. ถามครู ใหเงินแมคาไปกี่บาท ครูตอบ 50 บาท นร. ตอบ 50 – 20 = 30 4. ทายซิวาในเขงนี้มปลาทูกี่ตัว ี นร. ถามครู ซื้อปลาทูมากี่เขง ครูตอบ 5 เขง นร. ถามครู ปลาทูมีเขงละกี่ตัว ครูตอบ 3 ตัว นร. ตอบ 5 × 3 = 15 ตัว กิจกรรมสําหรับการคนหาขอมูลที่จําเปนเมื่อโจทยกําหนดขอมูลเกิน อาจใหทํากิจกรรม กลุมเพื่อใหมการถกเถียงกันวาขอมูลใดไมจําเปน เรื่องราวอาจเปนเรื่องในนิทานสั้น ๆ เชน ี เรื่องราวในนิทานอีสป อาจนํามาแตงเปนโจทยคณิตศาสตร สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 13. 10 4. กิจกรรมฝกทักษะการคิดคํานวณ 1. ทองสูตรคูณทุกเย็นซึ่งนิยมทํากันมาแตในอดีตปจจุบันยังจําเปนแตควรเพิ่มเติม การทบทวนความหมายการคูณและการหาร และควรมีการฝกใชสตรคูณหาผลหารดวย ู 2. ฝกบวก ลบ เร็ว ประเภท ผลบวกไมเกิน 2 หลัก เชน 6 + 8 = และหาผลลบประเภทมีคาไมเกิน 2 หลัก เชน 12 – 9 = โดยวิธี จับคู ถาม ตอบ จากบัตรฝกทักษะบวกลบ 3. เลนเกม เชน – เกมโดมิโน บิงโก บันไดงู จับคู เปนกลุม - เลนเกมตอภาพ เปนกลุม - เลนเกมระบายสี เปนกลุม - เกมผสม 10, 11, 12,_ _ _, 18 เกมเหลานี้ ออกแบบโดยใชเนื้อหาทักษะพื้นฐาน การบวก ลบ คูณ หาร 4. ฝกทําจากแบบฝกหัดสําเร็จรูป 5. การจํา ศัพท สูตร หลักการทางคณิตศาสตร ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร ปญหาหนึ่งที่เปนอุปสรรคตอการแกโจทยปญหาก็คือการจํา ศัพท สูตร หลักการทางคณิตศาสตรไมได ทั้ง ๆ ที่โจทยปญหาบางขออาจไมยากจนเกินไป และนักเรียน รูวิธทําวาจะทําอยางไร ี ความจําที่เปนประโยชนตอการแกปญหาคณิตศาสตร จัดอยูในประเภทตองจําแบบถาวร สามารถ  เรียกคนคืนมาใชได และจัดอยูในประเภทความจําแบบซีแมนติค (Semantics) ซึ่งหมายถึงการใชภาษา เขาใจความหมายโดยทัวไป การเขาใจขอเท็จจริง เขาใจความคิดรวบยอด หลักการ และทฤษฎีตาง ๆ ่ รวมทั้งถอยคําเกี่ยวกับภาษา การลืมเปนผลเนื่องมาจากความไมสามารถจะคนคืนสิ่งที่เรียนรูแลวมาใช แลวอาจเนืองมาจาก ่ หลายสาเหตุ เชน อาจจะไมไดสรางรหัสบันทึกไวในความทรงจําระยะยาว เพราะผูเรียนไมไดคดจะ ิ เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรูใหมกับสิ่งที่เรียนรูแลว และเรียนรูแบบไมมีความหมาย ทําใหลืมไดงาย  (สุรางค โควตระกูล 2536 : 281) นักจิตวิทยาไดแนะนําใหครูสอนเทคนิคการชวยความจําใหแกนักเรียน เพื่อจะไดเก็บสิ่งที่เรียนรู ไดในความทรงจํานาน ๆ เทคนิคการชวยจํามี 6 วิธี ดังนี้ (สุรางค โควตระกูล 2536 : 281 – 287) 1. สรางเสียงสัมผัส บางทานนําสิ่งที่ตองจํามาแตงเปนกลอน เชนกลอนเกี่ยวกับสาระใน บางทานก็นําสิงที่จะจํามาแตงเปนเพลง(เพลงคณิตศาสตรสําหรับนักเรียน ป.3 – 4 โปรดศึกษาใน ่ ตอนทาย) สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 14. 11 2. สรางคําเพื่อชวยจําจากอักษรตัวแรกของแตละคํา เชน การจําบทนิยามคําทางตรีโกณมิติ opposite side sin θ = 0 = hypothenuse h a adjacente side cos θ = h = hypothenuse opposite side tan θ = o = adjacente side a สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 15. 12 การสอนโจทยปญหารอยละ ผศ.ดร. สมวงษ แปลงประสพโชค ทําไมตองเรียนรอยละ เพราะมีใชในชีวิตจริงหลายเรื่อง เชน - ปานบอกสวนประกอบอาหาร ยา และ สารเคมีในปุย - อัตราดอกเบี้ย - อัตราการเสียภาษี นายหนา - การนําเสนอขอมูลตาง ๆ ขาวสารตาง ๆ - สวนลดสินคา รูปแบบของโจทยปญหารอยละ 1. โจทยพื้นฐานคิด 1 ขั้นตอน มี 3 แบบ แบบที่ 1 r% ของ A = เมื่อกําหนด r และ A ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชไป 20% ของที่มีอยู ใชไปกี่บาท แบบที่ 2 % ของ A = B เมื่อกําหนด A และ B ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชไป 100 บาท ใชไปรอยละเทาใดของทีมี ่ แบบที่ 3 r% ของ = B เมื่อกําหนด r และ B ตัวอยาง ใชเงินไป 100 บาท คิดเปน 20% ของเงินที่มี จงหาเงินที่มี 2. โจทยพลิกแพลงคิด 2 ขั้นตอน มี 3 รูปแบบ แบบที่ 1 A ± r% ของ A = ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชไป 20% ของเงินที่มี จะเหลือเงินกี่บาท แบบที่ 2 A ± C = % ของ A ตัวอยาง มีเงิน 500 บาท ใชเงินไป เหลือเงิน 400 บาท ใชเงินไปรอยละเทาใดของที่มี แบบที่ 3 ± r% ของ = B ตัวอยาง ไดเงินมาเพิ่มอีก 10% ทําใหมีรายไดเปนวันละ 165 บาท เดิมมีรายไดวันละกี่บาท สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 16. 13 3. โจทยพลิกแพลงคิดมากกวา 2 ขั้นตอน มีหลายรูปแบบ แบบที่ 1 เพิ่มหรือ เพิ่มหรือ ลด r% ลด s% A ? ตัวอยาง ลงทุน 500 บาท ปดราคาขายคิดกําไร 30 % ถาลดให 10 % จะขายไดเงินกี่บาท และจะไดกําไรกี่เปอรเซ็นต แบบที่ 2 เพิ่มหรือ เพิ่มหรือ ลด r% ลด s% ? C ตัวอยาง ปดราคาสินคาไวโดยคิดกําไรไว 40 % แตขายจริงลดราคา 20 % ไดเงิน 560 บาท จงหาราคาทุนและหาวากําไรกี่เปอรเซ็นต วิธีแกโจทยปญหารอยละ วิธี 1 วิธีสมการ r วิธีนี้จะแทน “ r% ของA = B ” ดวย 100 × A = B วิธี 2 วิธีอัตราสวน แทนขอความ “ r% ของA = B ” ดวย 100r =AB วิธี 3 ใชบัญญัติไตรยางศ วิธีนี้ใชอัตราสวนแบบบรรยาย ตัวอยาง ลงทุน 500 บาท ขายคิดกําไร 40 % ของทุน จะไดกําไรกีบาท ่ วิธีที่ 1 กําไร 40 % ของทุน หมายถึง 40 กําไร 100 ของทุน แตทุน 500 บาท 40 ดังนั้น กําไร 100 × 500 = 200 บาท สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 17. 14 วิธีที่ 2 กําไร 40 % ของทุน หมายถึง 40 กําไร = 100 40 กําไร = 100 40 กําไร 100 × 500 = 200 บาท วิธีที่ 3 กําไร 40 % ของทุน หมายถึง ทุน 100 บาท กําไร 40 บาท ทุน 1 บาท 40 กําไร 100 บาท ทุน 500 บาท 40 กําไร 100 × 500 = 200 บาท พื้นฐานการแกโจทยปญหารอยละ  วิธีบัญญัติไตรยางค รูปแบบโจทยปญหา การขยายความหมายของรอยละ A ± r% ของ A = และการคัดเลือกขอมูลที่ตองการ โจทยปญหาบวก ลบ รูปแบบโจทยปญหา r % ของ A = ทักษะการคูณ บัญญัติไตรยางศ ทักษะการหารดวย 100 ความหมาย r % ของ A การคูณ ในรูปอัตราสวนแบบบรรยาย การหาร สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 18. 15 วิธีสมการ (วิธีเศษสวน) รูปแบบโจทยปญหา A ± r% ของ A = โจทยปญหา บวก ลบ รูปแบบโจทยปญหา r % ของ A = r % ของ A หมายถึง r r 100 ของ A 100 × A รอยละ r.r% ทักษะการคูณ r×A แทนดวย 100r การหารดวย 100 ความหมายของเศษสวนจากของหลายสิ่ง วิธีอัตราสวน รูปแบบโจทยปญหา A ± r% ของ A = โจทยปญหาบวก ลบ รูปแบบโจทยปญหา r % ของ A = r % ของ A = การคูณ การแกสมการ r หมายถึง A = 100 การหารดวย 100 ที่ใชสมบัติการคูณและหาร อัตราสวนเปนการ การคูณ เปรียบเทียบ 2 จํานวน การหาร สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 19. 16 ตัวอยาง การใชรอยละในชีวตจริงในดานการนําเสนอขอมูล ิ 1. “ป 2537 พบวา ชาย - หญิงที่ไดเรียนตอในระดับ ม.1 ที่จงหวัดเชียงราย มี 92 % และในจังหวัด ั พะเยามี 95 % คาดวาจะผลักดันใหเพิ่มขึนเปน 100% ในป 2538 ขณะนียังมีเด็ก 1,266 คน จาก ้ ้ เชียงรายและพะเยา ไมมีทุนที่จะเรียนตอในชั้น ม.1 ” (ขอมูลจาก ในไทยรัฐ 3 เม.ย. 38) คําถาม 1. จงบอกความหมายของขอความที่เปนตัวหนา และขอความที่ขีดเสนใต 2. จะคํานวณหาจํานวนนักเรียนในพะเยาและเชียงรายที่เรียนตอ ม.1 ในป 2537 ไดหรือไม 2. “จากการรายงานของสถานกงสุลไทยในกรุงโตเกียวเกี่ยวกับ มีผูหญิงไทยที่เดินทางไปทํางานในญี่ปุน ในป 2536 อยางเปนทางการ 27,381 ราย เปนอาชีพแมบาน 92 % รับจางในรานอาหาร 6.8 % และเขา ไปใชแรงงาน 1.2 % ในป 2537 จํานวนหญิงไทยทียึดอาชีพแมบานลดลงเหลือ 89.8 % ซึ่งมีประมาณ ่ 25,000 คน” (ไทยรัฐ 3 เมษายน 2538) คําถาม 1. จงใหความหมายของขอความที่เปนตัวหนา 2. จงคํานวณหาจํานวนหญิงไทยที่เปนแมบานในญี่ปุน เมื่อป 2536 3. จะคํานวณหาจํานวนหญิงที่ไปทํางานในญี่ปุนป 2537 ไดหรือไม คํานวณอยางไร 3. “จากการสํารวจทะเบียนราษฎร ป 2536 พบวา ทัวประเทศมีการหยาราง 9.6 % ในกรุงเทพฯ มีการ ่ หยาราง 23.8 % ภาคกลางมี 15.7 % หญิงที่อายุต่ํากวา 50 ป มีการหยาราง 12 % โดย 1 ใน 5 ของ การหยารางเปนการหยารางหลังแตงงานได 15 ป และ 2 ใน 3 หยารางเมื่อแตงงานไดเพียง 5 ปเทานั้น และหญิงที่ถูกหยารางนั้นตองรับภาระเลี้ยงดูลูกถึง 80 %” (ไทยรัฐ 3 เม.ย. 38) คําถาม 1. จงอธิบายขอความที่เปนตัวหนาทั้ง 3 แทง 4. “จากการสํารวจหญิง 2,800 คนที่มีสามี พบวา 67 % เคยทะเลาะกับสามีโดยไมถูกทุบตี สวน 1 ใน 5 เคยทะเลาะถูกสามีทบตี และ 13 % ถูกทุบตีอยางรุนแรง” ุ (ไทยรัฐ 3 เม.ย. 38) คําถาม 1. จงอธิบายขอความที่เปนตัวหนา 2. มีหญิงเคยทะเลาะกับสามีและถูกสามีทุบตีประมาณกี่คน 3. มีหญิงเคยทะเลาะกับสามีและถูกสามีทุบตีอยางรุนแรงกี่คน สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 20. 17 โครงสรางความรูพื้นฐาน การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 1 และ 4 โจทยปญหารูปแบบ A ± r% ของ A = (รูปแบบ 4) โจทยปญหาบวก ลบ  โจทยปญหารูปแบบ r% ของ A = (รูปแบบ 1) ความหมายของรอยละ การคูณเศษสวน ในรูปเศษสวน ที่มสวนเปน 100 ี r r% ของ A = 100 × A กับจํานวนนับ โจทยปญหาการคูณเศษสวน กับจํานวนนับ เศษสวนจาก การแทน r% การหาผลคูณ การหารดวย 100 ของหลายสิ่ง r ดวย 100 ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 21. 18 โครงสรางความรูพื้นฐาน 2 การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 2 และ 5 โจทยปญหารูปแบบ A ± C = % ของ A (หรือ C) (รูปแบบ 5) โจทยปญหาบวกลบ โจทยปญหารูปแบบ A = % ของ B (รูปแบบ 2) r การแทน 100 ดวย r% การแสดงสวนหนึ่งจาก การทําเศษสวน ทั้งหมดในรูปเศษสวน ใหมีสวนเปน 100 การหาร การคูณดวย 100 เศษสวนเทากัน สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 22. 19 โครงสรางความรูพื้นฐาน 3 การแกโจทยปญหารอยละรูปแบบ 3 และ 6 โจทยปญหารูปแบบ ± r% ของ =B (รูปแบบ 6) หาเศษสวนที่แสดงสวนที่เหลือหรือ สวนรวม เมื่อกําหนดเศษสวน ที่หกออกไปหรือสวนที่เพิ่มเขามา ั โจทยปญหารูปแบบ r% ของ =B (รูปแบบ 3) r การแทน r% ดวย 100 เมื่อกําหนด a ของ = C b สามารถหา เศษสวนจาก โจทยปญหาการคูณการหาร ของหลายสิ่ง (บัญญัติไตรยางค) การคูณ การหาร สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 23. 20 โครงสรางความรูพื้นฐาน 4 พื้นฐานการแกปญหารอยละกับการซื้อขาย 1. หาราคาขาย 2. หารอยละของ จํานวนเงินทีลดราคา กําไรและขาดทุน ่ 3. หาราคาที่ปด และราคาทุน r การแทน 100 ดวย r% หาจํานวนเงินที่ลดราคา หาคําตอบจากปญหา การทําเศษสวนให กําไร และขาดทุน r × =B มีสวนเปนรอย 100 เมื่อกําหนดในรูปรอยละ การคูณเศษสวน การหาเศษสวนแสดง การใชเศษสวนแสดงจํานวนเงิน กับจํานวนนับ จํานวนเงินที่ขายได ที่ลดราคา กําไร – ขาดทุน จากราคาที่ปด จากราคาทุน จากราคาที่ปด จากราคาทุน r การแทน r% ดวย 100 r การแทน r% ดวย 100 หาจํานวนเงินที่ ลดราคา กําไร – ขาดทุน เมื่อทราบ เมื่อทราบ ราคาที่ปด ราคาขาย และ ราคาขาย และ ราคาทุน สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 24. 21 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน การแกโจทยปญหารอยละ จุดประสงค 1. สามารถแกโจทยปญหาเกียวกับเศษสวนของจํานวนนับ ่ 2. สามารถหาราคาขาย ราคาที่ปดไว สวนลด และสวนเพิ่มของ การขายสินคา 3. สามารถหาราคาทุน ราคาขาย กําไร และขาดทุน ผศ.ดร. สมวงษ แปลงประสพโชค สถาบันราชภัฏพระนคร บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.1 เศษสวนของจํานวนทีเ่ ปนพหุคูณของตัวสวน เมื่อตัวสวนไมเกิน 10 จงเติมคําตอบลงใน 1 1 1. ของ 4 = 2. ของ 8 = 2 4 2 ของ 8 = 4 3 ของ 8 = 4 1 1 3. ของ 6 = 4. ของ 9 = 2 3 2 ของ 9 = 3 2 3 5. ของ 10 = 6. 5 ของ 10 = 5 3 5 7. 4 ของ 16 = 8. 4 ของ 12 = 3 6 9. 10 ของ 350 = 10. 10 ของ 870 = สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 25. 22 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.2 เศษสวนของจํานวนทีเ่ ปนพหุคูณของ 100 เมื่อตัวสวนเปน 100 จงเติมคําตอบลงใน 3 4 1. 100 ของ 500 = 2. 100 ของ 800 = 5 20 3. 100 ของ 700 = 4. 100 ของ 600 = 25 30 5. 100 ของ 40 = 6. 100 ของ 70 = 10 13 7. 100 ของ 20 = 8. 100 ของ 300 = 75 30 9. 100 ของ 40 = 10. 100 ของ 80 = 4 7 11. 100 ของ 50 = 12. 100 ของ 600 = บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.3 การคูณเศษสวนกับจํานวนนับ จงเติมคําตอบลงใน 3 25 1. 100 × 800 = 2. 100 × 40 = 12 1 3. 100 × 50 = 4. 10 × 6 = 3 20 5. 100 × 8 = 6. 100 × 70 = 80 60 7. 100 × 50 = 8. 100 × 40 = 15 40 9. 100 × 40 = 10. 100 × 300 = 70 20 11. 100 × 500 = 12. 100 × 80 = สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 26. 23 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.4 โจทยปญหาเศษสวนของจํานวนที่เปนพหุคูณของตัวสวน จงหาคําตอบ 1. มีเงิน 10 บาท ใชไป 1 ของที่มี 5 2. มีเงิน 6 บาท ไดมาอีก 2 ของที่มี 3 ก. ใชเงินไปกี่บาท ……………... ก. ไดเงินมากี่บาท ………………. ข. เหลือเงินกี่บาท ……………… ข. รวมมีเงินกี่บาท ………………. 3. มีขนม 8 อัน ไดมาอีก 1 ของที่มี 4 4. มีขนม 8 อัน กินไป 1 ของที่มี 4 ก. ไดขนมมาอีกกี่อัน …………... ก. กินขนมไปกี่อัน ……………… ข. รวมมีขนมกี่อัน ……………… ข. เหลือขนมกี่อัน ………………. 3 5. มีคน 40 คน เปนชาย 4 ของที่มี 5 6. ขอสอบ 80 ขอ ทําถูก 8 ของทั้งหมด ก. เปนชายกี่คน ………………… ก. ทําถูกกี่ขอ …………………….. ข. เปนหญิงกี่คน ……………….. ข. ทําผิดกี่ขอ …………………….. 5 7. มีไข 300 ฟอง ขายไป 100 ของที่มี 12 8. มีเงิน 200 บาท ไดเพิ่ม 100 ของที่มี ก. ขายไขไปกี่ฟอง ………………. ก. ไดเงินเพิ่มกี่บาท ………………… ข. เหลือไขก่ฟอง ………………… ี ข. มีเงินรวมกี่บาท ………………… 9. เด็ก 50 คน ฟนผุ 2 ของทั้งหมด 5 10. มีสม 24 ผล ซื้อมาเพิ่ม 1 ของที่มี 4 ก. เด็กฟนผุกี่คน ………………… ก. ซื้อสมมาเพิ่มกี่ผล ……………… ข. เด็กฟนไมผุมีกี่คน …………… ข. รวมมีสมกี่ผล ………………….. 11. มีมะมวง 30 ผล มะมวงสุก 2 ของที่มี 12. มีเปด 20 ตัว เปนตัวผู 1 ของที่มี 3 5 ก. มีมะมวงสุกกี่ผล ……………… ก. มีเปดตัวผูกี่ตัว …………………. ข. มีมะมวงดิบกี่ผล ……………… ข. มีเปดตัวเมียกี่ตัว ……………….. สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 27. 24 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 1.5 การแทนรอยละดวยเศษสวน จงเขียนรอยละในรูปเศษสวน 1. 5 % ของ 30 แทนดวย ……… 2. รอยละ 20 ของ 80 แทนดวย …………. 3. 10 % ของ 80 แทนดวย ……… 4. รอยละ 110 ของ 50 แทนดวย …………. 5. 15 % ของ 30 แทนดวย ……… 6. รอยละ 25 ของ 80 แทนดวย …………. บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 2.1 จงเติมเศษสวนแสดงสวนหนึ่งจากทั้งหมด 1. มี เปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด มี เปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด 2. มีลูกหิน 8 ลูก เปนสีดํา 3 ลูก นอกนั้นเปนสีขาว ก. มีลกหินสีดําเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด ู ข. มีลูกหินสีขาวเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด 3. มีนักเรียน 40 คน เปนชาย 25 คน ก. มีชายเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด ข. มีหญิงเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 28. 25 4. มีไขเปดและไขไก 200 ฟอง เปนไขเปด 120 ฟอง ก. มีไขเปดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด ข. มีไขไกเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด 5. มีขอสอบ 10 ขอ ทําถูก 4 ขอ นอกนั้นทําผิด ก. ทําถูกเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด ข. ทําผิดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด 6. มีมะมวง 20 ผล เปนมะมวงสุก 9 ผล ก. มีมะมวงสุกเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด ข. มีมะมวงดิบเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ………………….ของทั้งหมด บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 2.2 จงเติมเศษสวนแสดงสวนหนึ่งจากทั้งหมด 1. เดิมมี 5 เอาออกไป 2 ก. เอาออกไปเปนเศษสวนเทาใดของเดิม ตอบ……………….ของเดิม ข. เหลือเปนเศษสวนเทาใดของเดิม ตอบ……………….ของเดิม 2. เดิมมี 5 เพิ่มอีก 2 ก. เพิ่มเปนเศษสวนเทาใดของเดิม ตอบ……………….ของเดิม ข. รวมเปนเศษสวนเทาใดของเดิม ตอบ……………….ของเดิม 3. เดิมราคา 10 บาท ขึ้นราคา 2 บาท ก. ขึ้นราคาเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม ตอบ……………….ของราคาเดิม ข. ราคาใหมเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม ตอบ……………….ของราคาเดิม สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 29. 26 4. เดิมราคา 10 บาท ขึ้นราคา 2 บาท ก. ลดราคาเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม ตอบ……………….ของราคาเดิม ข. ราคาใหมเปนเศษสวนเทาใดของราคาเดิม ตอบ……………….ของราคาเดิม 5. เดิมมีเงิน 20 บาท ไดมาอีก 5 บาท ก. ไดมาอีกเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม ข. รวมมีเงินเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม 6. เดิมมีเงิน 20 บาท ใชไป 5 บาท ก. ใชไปเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม ข. เหลือเงินเปนเศษสวนเทาใดของที่มีอยูเดิม ตอบ……………….ของที่มีอยูเดิม บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 2.3 จงทําเศษสวนใหมีสวนเปน 100 1. 3 = 3×25 = 75 หรือ ( 3 = 3×100 = 75 ) 4 4×25 100 4 4×100 100 2. 2 = 3. 11 = 5 25 4. 7 = 5. 3 = 50 20 6. 7 = 7. 24 = 10 200 8. 45 = 9. 35 = 300 100 10. 24 = 11. 16 = 1200 800 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 30. 27 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.1 จงเติมคําตอบลงใน 1. 1 ของ =2 2. 1 ของ =3 3 4 3. 3 ของ =6 4. 2 ของ =8 5 6 5. 4 ของ =8 6. 5 ของ = 20 5 6 7. 3 ของ 8 = 8. 3 ของ = 12 4 4 9. 7 ของ = 56 10. 2 ของ 90 = 10 5 11. 2 ของ 20 = 12. 2 ของ =4 10 10 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.2 จงเติมคําตอบลงใน 1. 3 ของ = 12 2. 3 ของ 800 = 100 100 3. 5 ของ 400 = 4. 5 ของ = 10 100 100 5. 7 ของ = 42 6. 7 ของ 30 = 100 100 7. 4 ของ 200 = 8. 4 ของ = 28 100 100 9. 80 ของ 60 = 10. 80 ของ = 32 100 100 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 31. 28 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.3 จงเขียนเปนประโยคสัญลักษณและหาคําตอบ 1. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน 6 ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….………………. 2. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน 6 ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….……………… 3. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน 6 ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….……………… 4. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน 6 ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….……………… 5. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน 6 ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….……………… 6. มีนักเรียนชาย 4 คน คิดเปน 1 ของนักเรียนทั้งหมด มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน 6 ประโยคสัญลักษณ…………………………………ตอบ…………………….……………… บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.4 จงหาคําตอบ 1. ทําขอสอบถูก 6 ของทั้งหมดที่เหลือทําผิด 10 ทําขอสอบผิดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ…………………………………………… 2. ทําขอสอบถูก 6 ของทั้งหมด ที่เหลือทําผิด 20 ขอ มีขอสอบทั้งหมดกี่ขอ ตอบ……………  10 3. ใชเงินไป 4 ของที่มี จะเหลือเงินคิดเปนเศษสวนเทาใดของที่มี ตอบ……………………….. 5 4. ใชเงินไป 20 บาท เหลือ 1 ของที่มีอยูเดิม จงหาจํานวนเงินที่มีอยูเดิม ตอบ……………… 5 5. มีนักเรียนหญิง 3 ของทั้งหมด มีนักเรียนชายคิดเปนเศษสวนเทาใดของทั้งหมด ตอบ……… 5 6. มีนักเรียนชาย 80 คน เปนหญิง 3 ของทั้งหมด มีนกเรียนทั้งหมดกี่คน ตอบ……………. ั 5 สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 32. 29 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 3.5 จงเติมคําตอบลงใน 1. 2 ของ = 12 2. 2 ของ 24 = 3 3 3. 8= ของ 24 4. 3 ของ = 15 10 5. 3 ของ 60 = 6. 20 = ของ 60 10 7. 7 ของ 80 = 8. 7 ของ = 28 10 10 9. 8 ของ 200 = 10. 8 ของ = 16 100 100 11. 5 = ของ 200 12. 3 ของ 400 = 100 บัตรงานเสริมความรูพื้นฐาน 4.1 จงเติมคําตอบ ปดราคาขาย ขายจริง ลดราคา สินคา (บาท) (บาท) (บาท) 1. แตงกวา กก. ละ 18 15 …………. 2. คะนา กก. ละ 28 ………… 3 3. มะเขือ กก. ละ …………. 12 3 4. ถั่ว กก. ละ 30 ………… 3 5. ปดราคาขายพัดลมไว 570 บาท ลดใหผซื้อ 50 บาท จะขายไดเงินกีบาท ตอบ……………………… ู ่ 6. ซื้อเตาไดสวนลด 25 บาท เหลือราคา 120 บาท เดิมปดราคาเตากี่บาท ตอบ…………………… 7. ปดราคาตู 7,500 บาท ลดราคาเหลือเพียง 7,000 บาท ลดราคากี่บาท ตอบ…………………… สาขาคณิตศาสตรประถมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี