SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
1
ใบความรู้ที่ 2.1.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง วงกลมหนึ่งหน่วย
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมเพิ่มเติมตามที่กาหนด เป็นกลุ่ม (15 นาที)
(1) วงกลมหนึ่งหน่วย ในระบบแกนพิกัดฉาก
เป็นวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด (0,0) จุดกาเนิด รัศมียาว 1 หน่วย
และมีความสัมพันธ์ว่า 2 2
( , ) | 1
{ }
x y R R x y
   
จากรูป เมื่อกาหนดจานวนจริง  (ทีตา) ให้ แล้วระยะจากจุด (1,0) ไปตามความยาว
ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย ให้ยาว |  | หน่วย จะถึงจุด (x , y) ซึ่งอยู่บน
วงกลมหนึ่งหน่วย และมีข้อตกลงดังนี้
- ถ้า  > 0 จะวัดส่วนโค้งจากจุด (1,0) ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
- ถ้า  < 0 จะวัดส่วนโค้งจากจุด (1,0) ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
- ถ้า  = 0 แล้ว จุดปลายส่วนโค้ง คือจุด (1,0)
ตัวอย่างที่ 1 จงหาว่า จุดปลายส่วนโค้ง  หน่วยที่กาหนดให้จะตกอยู่บนส่วนโค้ง
ในควอดรันด์ใด ของวงกลมหนึ่งหน่วย
(1) เมื่อ 
19
3

 (2) เมื่อ 
59
6


วิธีทา 
19
3

 6
3 3
 

   วิธีทา 
59
6


11 11
8
6 6
 

  
ตอบ จุดปลายส่วนโค้ง อยู่ในควอดรันด์ที่ 1 ตอบ จุดปลายส่วนโค้ง อยู่ในควอดรันด์ที่ 4
 < 0
 > 0
O 


( x , y )
Y
X O 


( x , y )
Y
X
(1 , 0 ) (1 , 0 )
2
ใบความรู้ที่ 2.1.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง วงกลมหนึ่งหน่วย
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมเพิ่มเติมตามที่กาหนด เป็นกลุ่ม (20 นาที)
(2) การแบ่งความยาวส่วนโค้ง ของวงกลมหนึ่งหน่วย
ความยาว 1 รอบ 2
 
 ความยาวครึ่งรอบ  
 ความยาว
1
4
ของรอบ
2

 
ความยาว
3
2
ของรอบ
3
2

  ความยาว
1
6
รอบ
3

  ความยาว
1
8
ของรอบ
4

 
ข้อตกลง ค่าของ x คือ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ เขียนแทนด้วย y = cos 
ค่าของ y คือ ค่าของฟังก์ชันไซน์ เขียนแทนด้วย y = sin 
3

 
3
2

 
X
Y
(1 ,0 )

O X
Y
(1 ,0 )

O X
Y
(1 ,0 )

O
(0 , -1)

(0, 1)
2

 
 

X
Y
2
 

(1 ,0 )

O X
Y
(1 ,0 )

O X
Y
(1 ,0 )

O
(-1 ,0
)


 
4

 
3
ใบความรู้ที่ 2.1.3
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง วงกลมหนึ่งหน่วย
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมเพิ่มเติมตามที่กาหนด เป็นกลุ่ม (15 นาที)
ข้อสังเกต เกี่ยวกับความยาวส่วนโค้งและวงกลมหนึ่งหน่วย
1) ถ้าความยาวส่วนโค้ง  หน่วยที่กาหนดให้ ยาวมากกว่า 1 รอบ ( 2
 ) ความยาว
ที่มากกว่านั้นก็จะวนกลับมาเริ่มต้นวัดที่จุด (1,0) เป็นรอบต่อไปเรื่อย ๆ และจุดสิ้นสุด
ก็จะตกอยู่ที่จุดใดจุดหนึ่งบนส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย นั่นเอง
ดังนั้น ถ้า  ยาวมากกว่า 1 รอบ แล้ว 2 ; , 0 2
n n I
     
     
2) วงกลมหนึ่งหน่วย มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกาเนิด เป็นกราฟของความสัมพันธ์
2 2
( , ) | 1
{ }
x y R R x y
    จะเห็นว่า 1 1 , 1 1
x y
     
ดังนั้น ค่าของฟังก์ชันไซน์ และ โคไซน์ จะเป็นจานวนจริง ตั้งแต่ - 1 ถึง 1
นั่นคือ เรนจ์ ของฟังก์ชันทั้งสองคือ เซตของจานวนจริง ตั้งแต่ –1 ถึง 1
โดเมน ของฟังก์ชันทั้งสองคือ เซตของจานวนจริง
3) จากสมการวงกลมหนึ่งหน่วย 2 2
1
x y
  แทนค่าด้วย x = cos  , y = sin 
จะได้ความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันใหม่ว่า 2 2
(cos ) (sin ) 1
 
 
หรือเขียนตามความนิยม ได้ว่า 2 2
cos sin 1
 
 
7
2
3 3 3
  
 
    
7
2
3 3 3
  
 
   
(1 , 0 ) X
Y


(1 , 0 ) X
Y

4
เอกสารฝึกหัดที่ 2.1.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าง เกี่ยวกับการวัดความยาวส่วนโค้ง
ความยาวส่วนโค้ง
ที่กาหนด ให้ใน
วงกลมหนึ่งหน่วย
ถ้าความยาวเกิน 1 รอบ
ให้แจกแจงอยู่ในรูป
2n
  
 
เมื่อตัดความยาว
ครบรอบออกแล้ว
จะเหลือ = 
จุดปลายส่วนโค้ง
จะตกอยู่ในควอด
รันต์ใด หรือจุดใด
2

  - - จุด ( 0 , 1 )
2

  
 

 
 
3
2

 
3
2

  
2
 

2
 
 
6

 
3
4

 
4
3

 
11
6

 
15
2

 
29
3

 
41
3

  
67
4

  
5
ใบกิจกรรมที่ 2.1.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
ให้นักเรียน แบ่งวงกลมหนึ่งหน่วย ใน 1 รอบ ออกเป็น 4 , 6 , 8 , 12 ส่วน พร้อมระบุที่จุด
ปลายของแต่ละส่วนโค้งว่า เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาวเท่าไร
X
 



Y
6
ใบงานที่ 2.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงแสดงวิธีหา จุดปลายส่วนโค้ง  หน่วยที่กาหนดให้ว่า จะตกอยู่บนส่วนโค้ง
ในควอดรันด์ใด ของวงกลมหนึ่งหน่วย
1.1) เมื่อ 
33
4

 1.2) เมื่อ 
57
3


วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ………………………………………………
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
1.3) เมื่อ 
87
6

 1.4) เมื่อ 
101
3


วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ………………………………………………
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
1.5) เมื่อ 
17
6

  1.6) เมื่อ 
21
4

 
วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ………………………………………………
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
1.7) เมื่อ 
29
3

 1.8) เมื่อ 
38
4

 
วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ………………………………………………
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
……………………………………………………….. ………………………………………………………..
7
ใบงานที่ 2.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
1. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3

  ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
2. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 6
 
  ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
3. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 5
2


 ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
4. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3
4


 ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
5. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 5
3


 ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
6. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 7
6


 ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
7. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3
2
 
  ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
8. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 5
6
 
  ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
9. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3
4
 

 ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
10. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 11
6


 ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
8
แบบทดสอบรายจุดประสงค์ (ก่อนเรียน) รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203)
บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์
คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกกากบาท ( x ) เพียงข้อละ 1 ตัวเลือก ลงในกระดาษคาตอบ
(1) จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง
4

บนวงกลมหนึ่งหน่วย จะตกอยู่ในควอดรันต์ใด
ก. ควอดรันต์ที่ 1 ข. ควอดรันต์ที่ 2 ค. ควอดรันต์ที่ 3 ง. ควอดรันต์ที่ 4
(2) ข้อใดคือค่าของ 2
sin
3

ก. 1
2
ข.
3
2
ค.
3
2
 ง. 2
3
(3) ข้อใดคือค่าของ 5
cos
6

ก. 1
2
ข.
3
2
ค.
3
2
 ง. 1
2

(4) ข้อใดคือค่าของ tan( 150 )

ก. 3 ข.
3
2
 ค. 1
3
ง.
1
3

(5) ข้อใดคือค่าของ sin120 cos210 tan180 cot90

ก.
3
2
ข. 3
4
ค. 4
3
ง. ไม่มีข้อใดถูก
(6) )
x
90
sin( 0
 มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. sin x ข. cos x ค. - sin x ง. - cos x
(7) 0
0
15
sin
75
sin  มีค่าเท่ากับข้อใด
ก.
2
3
ข.
2
2
ค.
4
6
ง.
2
6
9
(8) ถ้า
2
1
A
cos 
 เมื่อ 90 0
<A<180 0
แล้ว cos 2A จะเท่ากับข้อใด
ก. -
2
1
ข.
2
1
ค. -1 ง.
2
3

(9) ข้อใดคือค่าของ )
2
3
(
sin 1

ก.
6

ข.
4

ค.
3

ง.
2

(9) ข้อใดคือค่าของ 1 1
cos ( )
2


ก. 5
6

ข. 3
4

ค.
3

ง. 2
3

(10) ข้อใดคือเซตคาตอบของสมการ 0
1
x
sin
2 2

 เมื่อ ]
,
0
[
x 

ก. }
4
3
,
4
{


ข. }
3
2
,
3
{


ค. }
6
5
,
6
{


ง. ไม่มีข้อถูก
(11) กาหนด  ABC มีด้าน a = 3
3 , A = 30 0
, C = 120 0
แล้ว b จะยาวเท่าไร
ก. 3
3 ข. 2
4 ค. 9 ง. 12
(12) ชายคนหนึ่งขับรถจากจุด ก. ลงไปทางทิศใต้เป็นระยะทาง 6 ก.ม. ต่อจากนั้นขับรถต่อไป
ในทิศ 210 0
ถึงจุด เป็นระยะทาง 10 ก.ม. จงหาระยะห่างระหว่างจุด ก. และจุด ข.
ก. 8 ก.ม. ข. 12 ก.ม. ค. 14 ก.ม. ง. 16 ก.ม.
10
ใบความรู้ที่ 2.2.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 15 นาที )
1) ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ บนพิกัดจุดปลายของแกนพิกัดฉาก
- เมื่อ 0
  จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (1,0)
ดังนั้น cos 0 1
 และ sin 0 0

- เมื่อ
2

  จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (0,1)
ดังนั้น cos 0 sin 1
2 2
 
 
- เมื่อ  
 จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (-1,0)
ดังนั้น cos 1 sin 0
 
  
- เมื่อ
3
2

  จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (0,-1)
ดังนั้น 3 3
cos 0 sin 1
2 2
 
  
- เมื่อ 2
 
 จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (1,0)
ดังนั้น cos2 1 sin2 0
 
 
ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้
(1) 5
sin
2

 ……………………………………………………………………………….……..….……….
(2) sin ( )
2

  ……………………………………………..………….……….…….…………….………
(3) sin 5  …………………………………..……………………………………………………………..
(4) 5
cos
2

 ………………………………………………..………….………….…..…………..………..
(5) cos( 8 )

  ……………….…………………………………………………………………..………..
(6) 3
cos ( )
2

  ………………………….……..………………………………………………………….
y
(0,1)
(-1,0) (1,0)
(0,-1)
x
0 , 2
 

2

 
3
2

 
 





และ
และ
และ
และ
11
ใบความรู้ที่ 2.2.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที )
2) ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ที่จุดปลาย
4

 
จากรูป ส่วนโค้ง AP = ส่วนโค้ง PB
จะทาให้ | AP | = | PB |
2 2 2 2
( 1) ( 1)
x y x y
    
2 2 2 2
( 1) ( 1)
x y x y
    
2 2 2 2
2 1 2 1
x x y x y y
      
x y


แต่สมการวงกลมหนึ่งหน่วยคือ 2 2
1
x y
 
จะได้ว่า 2 2
1
x x
  หรือ 2
2 1
x 
ดังนั้น 1
2
x  และ 1
2
y 
แสดงว่า 1
cos
4 2

 และ 1
sin
4 2


ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้
(1)
3
4
sin 

……………………………………
3
4
cos 

………………………..…….……..
(2)
5
4
sin 

……………………………………
5
4
cos 

……..…………....……..….………
(3)
7
4
sin 

……………………………………
7
4
cos 

…………………..….………….…
(4)
9
4
sin 

……………………………………
9
4
cos 

…………………..…….……….…
(5) (
4
sin )
 

………………………………… (
4
cos )
 

………………..….……………
(6)
3
(
4
sin )
 

……………………………….
3
(
4
cos )
 

………………….……………
4

 
y
B(0,1)
(-1,0) A (1,0)
(0,-1)
x
0 , 2
 

2

 
3
2

 
 






P (x , y)
12
ใบความรู้ที่ 2.2.3
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที )
3) ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ที่จุดปลาย
6

 
จากรูป ส่วนโค้ง AP =
6

ดังนั้น ส่วนโค้ง PB =
3

ให้จุด C เป็นจุดสะท้อนของจุด P โดยมีแกน X เป็น
แกนสะท้อน ทาให้ จุด C มีพิกัดเป็น (x ,- y)
และส่วนโค้ง PC =
3

ด้วย
ดังนั้น คอร์ด PC = คอร์ด PB
2 2 2
[ ( )] ( 1)
y y x y
    
2 2 2
4 2 1
y x y y
   
2
4 2 2 0
y y
  
(2 1)( 1) 0
y y
  
จะได้ว่า 2 1 0 , 1 0
y y
   
1
; 1
2
y y
  
ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้
(1)
5
6
sin 

……………………………………
5
6
cos 

………………………..…….……..
(2)
7
6
sin 

……………………………………
7
6
cos 

……..…………....……..….………
(3)
11
6
sin 

……………………………………
11
6
cos 

…………………..….………….…
(4)
5
(
6
sin )
 

…………….……………………
5
(
6
cos )
 

…….…………..….……………
(5)
7
(
6
sin )
 

………………………………….
7
(
6
cos )
 

…………………….……………
เป็นไปไม่ได้
6

 
y
B(0,1)
(-1,0) A (1,0)
(0,-1)
x
2

  




P (x , y)
C (x ,- y)
ดังนั้น 1
sin
6 2

 และ 3
cos
6 2


13
ใบความรู้ที่ 2.2.4
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที )
4) ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ที่จุดปลาย
3

 
จากรูป ส่วนโค้ง AP =
3

ให้จุด C เป็นจุดสะท้อนของจุด P โดยมีแกน Y เป็น
แกนสะท้อน ทาให้ จุด C มีพิกัดเป็น (-x , y)
และส่วนโค้ง PC =
3

ด้วย
ดังนั้น คอร์ด AP = คอร์ด PC
2 2 2
( 1) [ ( )]
x y x x
    
2 2 2
2 1 4
x y x x
   
2
2 1 0
x x
  
(2 1)( 1) 0
x x
  
จะได้ว่า 1
; 1
2
x x
  
3
2
y 
ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้
(1) 2
3
sin 

…………………………………… 2
3
cos 

…………………………..…….……..
(2) 4
3
sin 
 …………………………………… 4
3
cos 
 ……..……………...……..….………
(3) 5
3
sin 
 …………………………………… 5
3
cos 
 ……………………..….………….…
(4) 7
3
sin 
 …………………………………… 7
3
cos 
 ……………………..…….……….…
(5) (
3
sin )
 
 ………………………………… (
3
cos )
 
 ……………….…..….……………
(6) (
2
3
sin )
 
 ………………………………. (
2
3
cos )
 
 ………………….……….………
3

 
y
B(0,1)
(-1,0) A (1,0)
(0,-1)
x





P (x , y)

C (-x , y)
เป็นไปไม่ได้
ดังนั้น 3
sin
3 2

 และ 1
cos
3 2


14
ใบความรู้ที่ 2.2.5
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที )
5) ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงใด ๆ
5.1 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง 

จะได้ว่า sin( ) sin
 
   และ cos( ) cos
 
 
5.2 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มากกว่า 1 รอบ ( 2 )
 

จะได้ว่า sin sin(2 ) sin
n
   
  
s s(2 ) s
co co n co
   
  
5.3 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มีจุดปลายตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 2
จะได้ว่า sin sin( ) sin
   
   เมื่อ 0
2


 
s s( ) s
co co co
   
    เมื่อ 0
2


 
5.4 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มีจุดปลายตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 3
จะได้ว่า sin sin( ) sin
   
    เมื่อ 0
2


 
s s( ) s
co co co
   
    เมื่อ 0
2


 
5.5 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มีจุดปลายตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 4
จะได้ว่า sin sin(2 ) sin
n
   
   
s s(2 ) s
co co n co
   
  
ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้
(1) 19
cos cos(6 )
3 3
 

  (2) 27 3
sin sin(6 )
4 4
 

 
……………………………………………………………. …………………………………………………………..
……………………………………………………………. …………………………………………………………..
……………………………………………………………. …………………………………………………………..
15
ใบกิจกรรมที่ 2.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คำชี้แจง จงระบุค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงใด ๆ ที่กาหนดให้ลงในวงกลมหนึ่งหน่วย
โดยเขียนในรูปของคู่อันดับ และบอกตาแหน่งความยาวส่วนโค้งแต่ละจุด ให้ถูกต้อง
 



Y
X


 






 
16
ใบกิจกรรมที่ 2.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คำชี้แจง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง และบอกสูตรที่นามาใช้ด้วย ต่อไปนี้
1.1
29
( )
4
cos  

………………………………….………… เหตุผล……………………………
= …………………………………….……… เหตุผล……………………………
= ………………………………….………… เหตุผล……………………………
1.2
35
( )
6
sin  

……………………………………..…….… เหตุผล……………………………
= …………………………………….……… เหตุผล……………………………
= …………………………………….……… เหตุผล……………………………
1.3 5
5
3
sin( )
 
 …………………..………………….……… เหตุผล……………………………
= ……………………………………….…..… เหตุผล……………………………
= ……………………………………………… เหตุผล……………………………
1.4 67
2
( )
cos  
 …………………..…………….…………… เหตุผล……………………………
= …………………………………..………… เหตุผล……………………………
= …………………………………..………… เหตุผล……………………………
1.5 71
4
cos 

…………………..…………………….………… เหตุผล……………………………
= ………………………………………..………… เหตุผล……………………………
= …………………………………………..……… เหตุผล……………………………
1.6 88
3
sin 
 …………………..…………………….………… เหตุผล……………………………
= ………………………………………..………… เหตุผล……………………………
= …………………………………………..……… เหตุผล……………………………
1.7 77
6
( )
cos  
 ……………………………………..…….… เหตุผล……………………………
= ……………………………………..……… เหตุผล……………………………
= ……………………………………..……… เหตุผล……………………………
17
ใบกิจกรรมที่ 2.2.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  ต่อไปนี้
1.1 เมื่อ
4
3 

 จะได้ 

4
3
cos ...........……………………………………………..........
และ 

4
3
sin ............………………………………………………........
1.2 เมื่อ
4
5 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.3 เมื่อ
4
7 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.4 เมื่อ
4
15 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………….……………..
1.5 เมื่อ
4
35 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………….……………..
1.6 เมื่อ
4
5 


 จะได้ …………………………………………………………….……………..
และ …………………………………………………………………………..
1.7 เมื่อ 35
4

   จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.8 เมื่อ
4
55 


 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
18
ใบกิจกรรมที่ 2.2.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
ชื่อนักเรียน ..................………….....................................ชั้น.....…….........เลขที่........…...... กลุ่มที่ .....….....
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วย ต่อไปนี้
1.1 เมื่อ
6
5 

 จะได้ 

6
5
cos .........................................................……....................
และ 

6
5
sin .........................................................…….....................
1.2 เมื่อ
6
7 

 จะได้ ………………………………………………………….………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.3 เมื่อ
6
11 

 จะได้ …………………………………………………….……………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.4 เมื่อ
6
17 

 จะได้ ……………………………………………………….…………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.5 เมื่อ
6
35 

 จะได้ ……………………………………………………………..……………..
และ …………………………………………………………………………..
1.6 เมื่อ
6
5 


 จะได้ ………………………………………………………….………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.7 เมื่อ 35
6

   จะได้ ……………………………………………………………….…………..
และ …………………………………………………………………………..
1.8 เมื่อ
6
55 


 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
19
ใบกิจกรรมที่ 2.2.3
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วย ต่อไปนี้
1.1 เมื่อ
3
2 

 จะได้ 

3
2
cos .........................................................……...................
และ 

3
2
sin .........................................................……....................
1.2 เมื่อ
3
4 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.3 เมื่อ
3
5 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.4 เมื่อ
3
16 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.5 เมื่อ
3
35 

 จะได้ …………………………………………………………………………..
และ …………………………………………………………………………..
1.6 เมื่อ
3
85 


 จะได้ ………………………………………………………………………….
และ …………………………………………………………………………..
1.7 เมื่อ
3
155 


 จะได้ ………………………………………………………………………….
และ ………………………………………………………………………….
1.8 เมื่อ 212
3

   จะได้ ………………………………………………………………………….
และ ………………………………………………………………………….
20
ใบกิจกรรมที่ 2.2.4
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วย ต่อไปนี้
1.1 29
cos ( )
4

 …………………………………………………………………
1.2
29
sin( )
6

 ………………………………………….………………………
1.3
35
sin( )
3

 …………………..……………………………………………..
1.4
37
cos( )
2

  …………………..……………………………………………
1.5
23
cos
4

 …………………..………………………………………………..
1.6
38
sin
3

…………………..……………………………………………
1.7 6
sin( ) 
  ………………………………… 6
sin( ) 
  ……………………..……….
1.8 2
3
sin( ) 
  ……………………………… 2
3
cos( ) 
  ……..…………....……….
1.9 7
4
sin( ) 
  ……………………………… 7
4
cos( ) 
  …………………...………
1.10 (
4
3
sin )
 
 …………….………………… (
4
3
cos )
 
 ….…………..….…………
1.11 (
5
6
sin )
 
 ………………………………. (
5
6
cos )
 
 ………………………………
1.12 ( 3
4
sin )
 
 ………………………………. ( 3
4
cos )
 
 ………………………………
1.13 (
5
4
sin )
 
 ………………………………. (
5
4
cos )
 
 ………………………………
21
ใบงานที่ 2.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้
(1) จุดปลายของความยาวส่วนโค้งต่อไปนี้ตกอยู่ในควอดรันต์ใด ในวงกลมหนึ่งหน่วย
..
..........
...
.......... ตกอยู่ใน
เมื่อ
ตกอยู่ใน
เมื่อ
3
73
)
4
3
13
)
1







..
..........
...
.......... ตกอยู่ใน
เมื่อ
ตกอยู่ใน
เมื่อ
5
78
)
5
6
47
)
2







..
..........
..
.......... ตกอยู่ใน
เมื่อ
ตกอยู่ใน
เมื่อ
10
87
)
6
4
119
)
3







(2) จงหาโคออร์ดิเนต ของจุดปลายส่วนโค้งของจานวนจริงหรือมุมที่กาหนดให้ ต่อไปนี้
1) เมื่อ  = 25
3

…………..……… 5) เมื่อ  = 74
3

 …………..………
2) เมื่อ  = 73
4

…………..……… 6) เมื่อ  = 95
4

 …………..………
3) เมื่อ  = 106
6

…………..……… 7) เมื่อ  = 149
6

 …………..………
4) เมื่อ  = 215
2

…………..……… 8) เมื่อ  = 456
3

 …………..………
(3) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ จากข้อต่อไปนี้
1) 61 87
sin( ).cos
3 6
 
  ………..……………………………………………………………….
= ………..……………………………………………………………….
2) 11 19
sin cos
3 4
 
 …………………..………………………………………………………
= ………..…………………………………………………………………
3) 47 43
cos ( ) sin( )
2 6
 
   ………………………………………………………………
= ………..…………………………………………………….
= ………..…………………………………………………….
22
ใบความรู้ที่ 2.3.1
วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 30 นาที )
ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ นอกจากจะมีฟังก์ชันไซน์และโคไซน์แล้ว ยังมีอีก 4 ฟังก็ชัน คือ
1) ฟังก์ชันแทนเจนต์ (tangent) เขียนแทนด้วย tan
2) ฟังก์ชันเชกแคนต์ (secant) เขียนแทนด้วย sec
3) ฟังก์ชันโคเซกแคนต์ (cosecant) เขียนแทนด้วย cosec หรือ csc
4) ฟังก์ชันโคแทนเจนต์ (cotangent) เขียนแทนด้วย cot หรือ ctn
นิยาม เมื่อ  คือ จานวนจริงใด ๆ แล้ว
sin
tan ; cos 0
cos

 

 
1
sec ; cos 0
cos
 

 
s
t ; sin 0
sin
co
co

 

 
1
cos ; sin 0
sin
ec  

 
ความสัมพันธ์เพิ่มเติมของฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้ง 4 ฟังก์ชัน
1
cot
tan



1
tan
cot



2 2
1 tan sec
 
  2 2
1 cot csc
 
 
โดเมนและ เรนจ์ของฟังก์ชันทั้ง 4 ฟังก์ชัน เป็นดังนี้
1) โดเมนของฟังก์ชัน tan และ sec คือ (2 1)
{ | , }
2
n
R x R x n I


   
2) โดเมนของฟังก์ชัน cot และ cosec คือ { | , }
R x R x n n I

   
3) เรนจ์ของฟังก์ชัน tan และ cot คือ R
4) เรนจ์ของฟังก์ชัน sec และ cosec คือ { | 1 1}
R x R x
    
23
เอกสารฝึกหัดที่ 2.3.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
คาชี้แจง ให้นักเรียนในกลุ่ม ช่วยกันเติมคาตอบลงในช่องว่าง ที่กาหนดให้ถูกต้อง
กาหนด
จานวนจริง 
ค่าของ
sin 
ค่าของ
cos 
ค่าของ
tan 
ค่าของ
csc 
ค่าของ
sec 
ค่าของ
cot 
 0
 
2

  
 
3
2

 
3

 
2
3

 
4
3

 
5
3

 
4

 
3
4

 
5
4

 
7
4

 
6

 
5
6

 
7
6

24
เอกสารฝึกทักษะที่ 2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
จงหาค่าของข้อต่อไปนี้
(1) 5 3
sin cos
4 4
 
  ………………………………………………………………….…………
 ……………………………………………………………….……………
(2) 11 7
n( ) csc
6 6
 
ta
 
 ………………………………………………………………….…………
 ……………………………………………………………….……………
 …………………………………………………………………….………
(3)
8 21
s c csc
3 6
e
 
  ………………………………………………………………….…………
 ………………………………………………………………….…………
 ………………………………………………………………….…………
(4)
33 27
csc tan
3 4
 
  ………………………..……………………………………………………
 ………………………………………………………………….…………
 ……………………………………………………………….……………
(5)
35 51
sec( ) csc( )
4 6
  
 
 …………………………..…………………………………….………
 …………………………………………………………………….………
 …………………………………………………………………….………
(6) 2 2
17 32
cot tan
6 3
 
  ……………………………………………………………………….
 ……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………
25
ใบกิจกรรมที่ 2.3.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงหาค่าของข้อต่อไปนี้
1.1 5 3
sin cos
4 4
 
  ……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.2 11 7
n csc
6 6
ta
 
  …………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.3 8 21
s c csc
3 6
e
 
  …………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.4 33 27
csc tan
3 4
 
  …………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.5 35 51
sec csc
4 6
 
  …………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.6 2 2
17 32
cot tan
6 3
 
  …………………………………………………………………….
 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
26
ใบงานที่ 2.3
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้
(1) จงหาค่าของข้อต่อไปนี้
1.1 3 3 2 2
sin csc cos sec
4 4 3 3
   

 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.2 5 3 7
n csc cos sin
6 6 4 4
ta
   
  …………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.3 5 3 2 11
sin s c cot csc
4 4 3 6
e
   

 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.4 13 13 15 21
cos csc tan cot
3 6 4 4
   

 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.5 33 29 52 61
sec csc cos sin
4 4 3 6
   

 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
1.6 2 2 2 2
4 17 25 22
sin cot cos tan
3 4 6 3
   

 ……………………………………………………………………………………….…………………
 ……………………………………………………………………………………….…………………
27
ใบความรู้ที่ 2.4.1
วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม
(1) มุมและการวัดมุม
- มุมเกิดจาก ส่วนของเส้นตรงของเส้นที่แยกออกจากกัน ส่วนของเส้นตรง 2 เส้น
นั้น เส้นหนึ่งเรียกว่า ด้านเริ่มต้นของมุม อีกเส้นหนึ่งเรียกว่า ด้านสิ้นสุดของมุม
- การวัดมุม วัดได้ 2 แบบ คือ แบบทวนเข็มนาฬิกา (กาหนดให้ค่าของมุมเป็น +)
และการวัดแบบตามเข็มนาฬิกา (กาหนดค่าของมุมเป็น - )
- หน่วยของมุม มี 2 แบบ คือ
- หน่วยของมุมที่เป็นองศา ( ) โดยถือว่า มุมที่เกิด จากการหมุนส่วนของเส้น
ตรงไปครบหนึ่งรอบ มีขนาดเท่ากับ 360 องศา และแบ่งหน่วยองศาออกเป็น
หน่วยย่อย คือ ลิปดา /
( ) และ ฟิลิปดา //
( ) โดยที่ / / //
1 60 , 1 60
 
- หน่วยของมุมที่เป็นเรเดียน (radian) คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมซึ่งรอง
รับด้วยส่วนโค้งของวงกลมที่ยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมวงนั้น จะถือว่ามีขนาด
เท่ากับ 1 เรเดียน
- เนื่องจากความยาวเส้นรอบวงของวกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย ยาว 2 r
 หน่วย
ดังนั้น มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลม ซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งที่ยาว 2 r
 หน่วย
จึงมีขนาดเท่ากับ 2
2
r
r


 เรเดียน
- การเปรียบเทียบมุม ทั้ง 2 แบบ
360 องศา = 2 เรเดียน
1 องศา =
180

เรเดียน 0.01745
 เรเดียน
1 เรเดียน = 180

องศา /
57 18

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 1
2
เรเดียน เป็น องศา และเปลี่ยน 75 องศา เป็น เรเดียน
วิธีทา 1
2
เรเดียน = /
1 180 1
57 18
2 2

   75 องศา = 75 75 0.01745
180

  
/
28 39

5
1.30875
12

 
28
ใบความรู้ที่ 2.4.2
วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 20 นาที )
(2) ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
- เมื่อจุดยอดมุมของมุม ๆ หนึ่งอยู่ที่จุด ( 0 , 0 ) ด้านเริ่มต้นทาบแกน x ทางบวก
จะเรียกมุมนั้นว่า มุมในตาแหน่งมาตรฐาน
- ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย ที่รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางขนาด  เรเดียน
จึงยาวเท่ากับ  หน่วย
- เมื่อกาหนดมุมขนาด  เรเดียนให้หนึ่งมุม แล้วจุดสิ้นสุดของด้านสิ้นสุดของมุม
จะเป็นจุดเดียวกันกับ จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย ด้วย
- ไม่ว่าจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมหรือความยาวส่วนโค้ง ของวงกลมหนึ่งหน่วย
ที่รองรับมุมนั้น ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนเหล่านั้น จึงมีค่า เท่ากัน
ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม ต่อไปนี้
(1) sin 60 sin
3

 (2) cos 135 cos(180 45 )
 
3
2
 cos 45 cos
4

   
2
2
 
(3) tan( 210 )
 ………………………………. (4) sec( 405 )
 ……………………………….
= ……….……………………………………….… = ……….……………………………………….…
(x , y)
y
(1,0)
x





O
(x , -y)
y
(1,0)
x





O
 > 0  < 0
29
ใบความรู้ที่ 2.4.3
วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 20 นาที )
(3) ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
- รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่สร้างขึ้น บนวงกลมหนึ่งหนึ่งหน่วย และมีจุดยอดมุม
อยู่ที่จุด (0 , 0) มีขนาดเท่ากับ  เรเดียน หรือ  องศา จะได้ว่า
sin A = sin (ความยาวส่วนโค้ง FD) = DE
cos A = cos (ความยาวส่วนโค้ง FD) = AE
เนื่องจาก AED ACB

จะได้ว่า
DE BC AE AC
และ
AD AB AD AB
  แต่ AD = 1
ดังนั้น
BC a
DE
AB c
  และ
AC b
AE
AB c
 
นั่นคือ 
ความยาวของดา
้้
นตรงข้ามมุม A
sin
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
A
ความยาวของด้านประชดิมุม A
s
ความยาวของดา
้
้นตรงขา
้
้มมุมฉาก
co A 
ความยาวของด้านตรงขา
้้
มมมุ A
tan
ความยาวของดา
้
้นประชดิมุม A
A 
ตัวอย่าง กาหนด  มุมฉาก ABC โดยมี มุม C เป็นมุมฉาก ด้าน AC ยาว 4 หน่วย
และ มุม A = 30 องศา จงหา ความยาวด้าน AB และ BC
วิธีทา สร้างรูปประกอบ เนื่องจาก cos 30
b
c
 และ tan 30
a
b

ดังนั้น
cos30
b
c  tan 30
a b

4 8
3 3
2
 
3
4 ( )
3

4.618
 2.309




(1,0)
X
Y
A C
D
E F
B
A C
B
30
a
c
4
30
ใบกิจกรรมที่ 2.4.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงเปลี่ยนมุมเรเดียนต่อไปนี้เป็นมุมองศา
1.1 2 เรเดียน =…………………………………………………..……………………………..
1.2 1
3
เรเดียน =…………………………………………………..……………………………..
1.3 1
4
เรเดียน =…………………………………………………..……………………………..
1.4 2
3
เรเดียน =…………………………………………………..……………………………..
1.5 3
4

เรเดียน =…………………………………………………..……………………………..
1.6 17
6

เรเดียน =…………………………………………………..……………………………..
1.7 22
5

เรเดียน =…………………………………………………..……………………………..
(2) จงเปลี่ยนมุมองศา ต่อไปนี้เป็นมุมเรเดียน
2.1 15 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.2 75 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.3 105 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.4 120 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.5 135 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.6 150 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.7 210 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.8 225 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.9 240 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.10 300 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.11 315 องศา =…………………………………………………..……………………………..
2.12 330 องศา =…………………………………………………..……………………………..
31
ใบกิจกรรมที่ 2.4.2
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
ชื่อนักเรียน .......................................…………................ชั้น.......…........เลขที่............... กลุ่มที่ ............
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม ต่อไปนี้
1.1 sin 135 ………………………….….. 1.2 cos 120  ……………………………..
= ……….……………………….…….……… = ……….…………………………………….
1.3 tan 150 ………………….…………… 1.4 sec 225 …………………..………….
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
1.5 csc 240 ………………….………….. 1.6 cot 300  ………………………………
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
1.7 sin( 210 )
 ………………………….. 1.8 cos( 315 )
 …………………………
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
1.9 tan( 450 )
 ………………….………1.10 sec( 240 )
 …………………..…….
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
1.11 csc( 480 )
 ………………….………1.12 cot( 510 )
 …………………………
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
= ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
32
ใบกิจกรรมที่ 2.4.3
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที )
(1) จงหาความยาวของด้านที่เหลือของสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC เมื่อกาหนด มุมและ
ด้านบางด้านมาให้ จากข้อต่อไปนี้
1.1 มีมุม C เป็นมุมฉาก มุม A = 45 องศา และด้าน AC ยาว 3 หน่วย
วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….…….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
1.2 มีมุม C เป็นมุมฉาก มุม A = 60 องศา และด้าน AB ยาว 8 หน่วย
วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….…….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
(2) กาหนดให้ 3
cos , 0 90
5
 
   จงหา sin  และ tan 
วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….…….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
33
ใบงานที่ 2.4
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันของมุม 850 องศา
วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….…….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
(2) สามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม C เป็นมุมฉาก ด้าน AC = 1 ด้าน AB = 3
จงหามุมและด้านที่เหลือ
วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….…….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
(3) กาหนดให้ tan 2 , 0 90
A A
   จงหา ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม A
วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….…….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
34
ใบความรู้ที่ 2.5.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 15 นาที )
การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
จากหัวข้อที่กล่าวมาแล้ว ได้ทราบค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริงหรือมุม
บางมุมมาบ้างแล้ว และทราบด้วยว่า ไม่ว่าจะกาหนดจานวนจริง  ( หรือมุม ) ใด ๆ ที่อยู่ใน
โดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้นมาให้ จะสามารถหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง
หรือมุมนั้นได้เสมอ
สาหรับค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง เป็นค่าที่หาจากจานวนจริง หรือมุมตั้งแต่
0 ถึง
2

หรือ 00
ถึง 900
ถ้ามุมหรือจานวนจริงที่มากกว่านี้ ให้ใช้วิธีการหาค่าฟังก์ชันที่เป็น
จุดสมมาตรของมุมหรือจานวนจริงตั้งแต่ 00
ถึง 900
หรือ 0 ถึง
2

ตัวอย่างตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Degree Radians Sine tangent cotangent cosine
27๐
00/
0.4712 .4540 .5095 1.9626 .8910 63๐
00/
1.0996
10/
0.4741 .4566 .5132 1.9486 .8897 50/
1.0966
20/
0.4771 .4592 .5169 1.9347 .8884 40/
1.0937
30/
0.4800 .4617 .5206 1.9210 .8870 30/
1.0908
40/
0.4829 .4643 .5243 1.9074 .8857 20/
1.0879
50/
0.4858 .4669 .5280 1.8940 .8843 10/
1.0850
28๐
00/
0.4887 .4695 .5317 1.8807 .8829 62๐
00/
1.0821
10/
0.4916 .4720 .5354 1.8676 .8816 50/
1.0792
20/
0.4945 .4746 .5392 1.8546 .8802 40/
1.0763
30/
0.4974 .4772 .5430 1.8418 .8788 30/
1.0734
40/
0.5003 .4797 .5467 1.8291 .8774 20/
1.0705
50/
0.5032 .4823 .5505 1.8165 .8760 10/
1.0676
cosine cotangent tangent Sine Radians Degree
35
ใบความรู้ที่ 2.5.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง เป็นค่าที่หาจากมุมหรือจานวนจริงตั้งแต่ 00
ถึง 900
หรือ 0 ถึง
2

ถ้ามุมหรือจานวนจริงที่มากกว่านี้ ให้ใช้วิธีการหาค่าฟังก์ชันที่เป็นจุดสมมาตร
ของมุมหรือจานวนจริงตั้งแต่ 00
ถึง 900
หรือ 0 ถึง
2

ตัวอย่างที่ 1 จงใช้ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง มาหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้
(1) cos 125 (2) sin 226
วิธีทา cos 125 cos(180 55 )
  วิธีทา sin 226 sin (180 46 )
 
cos 55
  sin 46
 
เปิดตาราง จะได้ 0.5736
  เปิดตารางจะได้
(3) tan( 306 )
 (4) /
sin 100 20
วิธีทา tan( 306 ) tan 306
   วิธีทา / /
sin 100 20 sin(180 79 40 )
 
tan(360 54 )
   /
sin 79 40

( tan 54 )
   1.3764
 0.9838

ตัวอย่างที่ 2 จงใช้ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง มาหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้
(1) /
cos 77 44 (2) /
sin 32 28
วิธีทา หาโดยวิธีเทียบสัดส่วน ดังนี้ วิธีทา หาโดยวิธีเทียบสัดส่วน ดังนี้
 44
0.0171 60
x
  28
0.0147 60
x

x = 0.0125 x = 0.0069
ดังนั้น /
cos 77 44 = 0.2250 - 0.0125 ดังนั้น /
sin 32 28 = 0.5299 + 0.0069
= 0.2125 = 0.5368
/
cos 77 44
/
cos 77 00
/
cos 78 00
0.2250
0.2079
+ 44/
+ 60/
- x
- 0.0171
+ x
/
sin 32 28
/
sin 32 00
/
sin 33 00
+ 28/
+ 60/
+ 0.0147
0.5299
0.5446
36
เอกสารฝึกหัดที่ 2.5.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
คาสั่ง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าง ให้ถูกต้อง
(1) จงใช้ค่าจากตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ ตอบคาถามต่อไปนี้
1.1 '
cos 11 10 =……………………… 1.7 sin 0.5091 =…………..…….……..…
1.2 '
sin 16 20 =………………….…… 1.8 sin 1.1868 =…………..…….…..……
1.3 '
cos 32 30 =……………………… 1.9 cos 0.0785 =…………..……….……
1.4 '
sin 40 50 =………………….…… 1.10 cos 1.4515 =…………..……..………
1.5 '
tan 31 20 =……………….……… 1.11 tan 0.1338 =…………..……..……..
1.6 '
cot 44 40 =…………………….… 1.12 cot 0.1658 =…………..……..………
(2) จงใช้ค่าจากตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ ในการประยุกต์ ตอบคาถามต่อไปนี้
2.1 '
cos 135 20 =……………………… 2.5 '
sin 98 50 =…………..…….………
=…………………………………………… =…………..………………………..………
=…………………………………………… =…………..………………………..………
2.2 '
cos 241 30 =……………………… 2.6 '
tan 120 50 =…………..…….…….
=…………………………………………… =…………..………………………..………
=…………………………………………… =…………..………………………..………
2.3 '
s 131 40
in =……………………… 2.7 '
tan 248 30 =…………..…….……
=…………………………………………… =…………..………………………..………
=…………………………………………… =…………..………………………..………
2.4 '
sin278 10 =………………….…… 2.8 '
cot 134 20 =…………..……..…….
=…………………………………………… =…………..………………………..………
=…………………………………………… =…………..………………………..………
37
ใบกิจกรรมที่ 2.5.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที)
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้โดยใช้ตาราง
1.1 '
20
31
cos  =…………….…………..…. 1.2 '
50
48
sin  =……………..…….………
1.3 '
50
73
tan  =…………….………….….. 1.4 '
30
148
sin  =…………….……………
1.5 '
10
330
cos  =…………….……….…… 1.6 '
40
448
tan  =…………….……….….
1.7 )
20
62
(
cos '

 =…………….…………. 1.8 )
50
84
(
sin '

 =…………….……….…
1.9 cos 0.3840=…………….………………. 1.10 tan 4.3546 =……………….….….…..
(2) จงหาค่าของ  เมื่อ 0 90

  เมื่อกาหนดค่าของฟังก์ชันดังนี้
2.1 cos 0.9194
  ……….….…………… 2.2 sin 0.8732
  ……………….………
2.3 cos 0.7660
  ……….….…………… 2.4 tan 3.4124
  ………..….….………
2.5 cos 0.8631
  …………………..……. 2.6 sin 0.3090
  ……………….………
2.7 tan 0.5280
  ……………….….……. 2.8 tan 1.0913
  ……………….….……
2.9 cos 0.5592
  ……………….………. 2.10 sin 0.1190
  ……………….…….…
(3) จงหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้โดยใช้ตาราง
3.1 '
24
42
cos  =…………….……..……… 3.2 '
45
78
sin  =……………….……………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
……………………………………………….………… …………………………….……………………………
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
38
ใบงานที่ 2.5
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้
(1) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติต่อไปนี้โดยใช้ตาราง
1.1 
'
30
28
sin  .............….......……......... 1.2 
'
20
100
sin  ..........................…........
1.3 
'
10
66
tan  ............................……… 1.4 
'
50
136
cos  ............................…….
1.5 
'
40
44
cos  .……............................. 1.6 
'
30
243
tan  ............................…….
(2) จงหาค่ามุม A เมื่อ 
 180
0 
 A เมื่อกาหนดค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติมาให้
2.1 cos 0.9872
A  2.2 sin 0.9520
A 
.....................................….......................... ...............................................…................
2.3 tan 0.5206
A  2.4 sin 0.4540
A  
.....................................….......................... ...............................................…................
2.5 cos 0.8760
A   2.6 tan 0.6830
A  
.....................................….......................... ...............................................…................
(3) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติต่อไปนี้โดยอาศัยค่าจาตาราง
3.1 '
24
36
cos 
วิธีทา .....................................................................….........................……………..............................
.....................................................................................….........................……………..............................
.....................................................................................….........................……………..............................
.....................................................................................….........................……………..............................
.....................................................................................….........................……………..............................
3.2 '
33
48
tan 
วิธีทา .....................................................................….........................……………..............................
.....................................................................................….........................……………..............................
.....................................................................................….........................……………..............................
.....................................................................................….........................……………..............................
39
ใบความรู้ที่ 2.7.1
วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 )
บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจานวนจริงหรือมุม
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 15 นาที )
(1) การหาความสัมพันธ์ของ cos( )
A B
 และ cos( )
A B

จากรูป กาหนดวงกลมหนึ่งหน่วยบนระนาบพิกัดฉาก
และให้ 2 1
,
P P A P P B
 
ดังนั้น 3 1 2
P P P P A B
  
และจะได้ว่า 3 1 2
| | | |
PP P P

3 3 2 1 2 1
2 2 2 2
( 1) ( ) ( ) ( )
x y x x y y
     
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
ดังนั้น cos( ) cos cos sin sin
A B A B A B
  
ถ้าลองนาค่าของ cos( )
A B
 ไปหาค่าของ cos( )
A B
 จะได้ดังนี้
cos( )
A B
 cos[ ( )]
A B
  
 ……………………………………………………………………………………………..
 ……………………………………………………………………………………………..
สรุปเป็นสูตรได้ว่า cos( ) cos cos sin sin
A B A B A B
  
cos( ) cos cos sin sin
A B A B A B
  
P(1,0)




X
Y

P1(x1,y1)
P2(x2,y2) P3(x3,y3)
40
ใบความรู้ที่ 2.7.2
วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 )
บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจานวนจริงหรือมุม
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 20 นาที )
(2) การหาความสัมพันธ์ของ sin ( )
A B
 และ sin ( )
A B

เนื่องจาก sin( ) cos[ ( )]
2
A B A B

    cos[( ) ]
2
A B

  
= ……………………………………………….…………………………….
= ……………………………………………….…………………………….
= ……………………………………………….…………………………….
ดังนั้น sin( ) sin cos s sin
A B A B co A B
  
ในลักษณะเดียวกัน จะได้ว่า sin( ) sin cos s sin
A B A B co A B
  
(3) การหาความสัมพันธ์ของ )
B
A
tan(  และ )
B
A
tan( 
)
B
A
tan(  = = ……………………………….……………………..……….
= ……………………………….…………………..………….
= ……………………………….…………………..………….
= ……………………………….…………………..………….
= ……………………………….…………………..………….
ดังนั้น
tan tan
tan( )
1 tan tan
A B
A B
A B

 

ในลักษณะเดียวกัน จะได้ว่า
tan tan
tan( )
1 tan tan
A B
A B
A B

 

sin( )
cos( )
A B
A B


41
ใบงานที่ 2.8
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและ
ผลต่างของจานวนจริงหรือมุม
จงเติมคาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง
(1) มุมที่มีหน่วยเป็นองศา ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย เช่น ………………......................…………..
2) มุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียน ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย เช่น ....................…………….………...…
(3) จงแยกมุมที่กาหนดให้ให้อยู่ในรูปผลบวก หรือผลต่างของมุม 2 มุม ที่สามารถหาค่าของ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย โดยใช้มุมในข้อ (1) หรือ ข้อ (2)
กาหนดมุมที่จะหาค่าของ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
แยกมุมให้อยู่ในรูปผลต่างของมุม
ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย
แยกมุมให้อยู่ในรูปผลบวกของมุม
ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย
15 45 30
 –
75 – 45 30

105
135
165
390
435
12

5
12

7
12

42
ใบงานที่ 2.8.1
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและ
ผลต่างของจานวนจริงหรือมุม
จงหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้ ในรูปแบบของ ( )
cos 
A B และ ( )
cos 
A B
1) 15
cos = ………….………….…………….…… 2) 165
cos =…………………………...………….
……………………………….……………………. …………………..……………………………….
……………………………….……………………. …………………..……………………………….
……………………………….……………………. …………………..……………………………….
3) ( 105 )
cos  = …………………………...……. 4)
17
12
cos

=…...…………………………………
……………………………….……………………. …………………..……………………………….
……………………………….……………………. …………………..……………………………….
……………………………….……………………. …………………..……………………………….
……………………………….……………………. …………………..……………………………….
5) ให้






 B
cos
,
A
sin โดยที่ 0 A 90
  , 90 B 180
  จงหา
5.1 cos( )
A B
 =…………………………………………………………………………….
=…………………………………………………….………………………
=…………………………………………………….………………………
=…………………………………………………….………………………
5.2 cos( )
A B
 =…………………………………………………………………………….
=…………………………………………………….………………………
=…………………………………………………….………………………
=…………………………………………………….………………………
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf
trigo1.pdf

More Related Content

What's hot

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 64Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 649GATPAT1
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าkanjana2536
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 64Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 64
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to trigo1.pdf

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANNan's Tippawan
 
Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52Ploy Gntnd
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...Akimoto Akira
 
คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มขaom08
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2Destiny Nooppynuchy
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09witthawat silad
 
Ch3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esWk Kal
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1Unity' Aing
 

Similar to trigo1.pdf (20)

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
Ctms15912
Ctms15912Ctms15912
Ctms15912
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)
 
Pat15210
Pat15210Pat15210
Pat15210
 
Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
 
คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มข
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09
 
Ch3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_es
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Pat15903
Pat15903Pat15903
Pat15903
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25599 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 

trigo1.pdf

  • 1. 1 ใบความรู้ที่ 2.1.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง วงกลมหนึ่งหน่วย คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมเพิ่มเติมตามที่กาหนด เป็นกลุ่ม (15 นาที) (1) วงกลมหนึ่งหน่วย ในระบบแกนพิกัดฉาก เป็นวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด (0,0) จุดกาเนิด รัศมียาว 1 หน่วย และมีความสัมพันธ์ว่า 2 2 ( , ) | 1 { } x y R R x y     จากรูป เมื่อกาหนดจานวนจริง  (ทีตา) ให้ แล้วระยะจากจุด (1,0) ไปตามความยาว ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย ให้ยาว |  | หน่วย จะถึงจุด (x , y) ซึ่งอยู่บน วงกลมหนึ่งหน่วย และมีข้อตกลงดังนี้ - ถ้า  > 0 จะวัดส่วนโค้งจากจุด (1,0) ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา - ถ้า  < 0 จะวัดส่วนโค้งจากจุด (1,0) ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา - ถ้า  = 0 แล้ว จุดปลายส่วนโค้ง คือจุด (1,0) ตัวอย่างที่ 1 จงหาว่า จุดปลายส่วนโค้ง  หน่วยที่กาหนดให้จะตกอยู่บนส่วนโค้ง ในควอดรันด์ใด ของวงกลมหนึ่งหน่วย (1) เมื่อ  19 3   (2) เมื่อ  59 6   วิธีทา  19 3   6 3 3       วิธีทา  59 6   11 11 8 6 6       ตอบ จุดปลายส่วนโค้ง อยู่ในควอดรันด์ที่ 1 ตอบ จุดปลายส่วนโค้ง อยู่ในควอดรันด์ที่ 4  < 0  > 0 O    ( x , y ) Y X O    ( x , y ) Y X (1 , 0 ) (1 , 0 )
  • 2. 2 ใบความรู้ที่ 2.1.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง วงกลมหนึ่งหน่วย คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมเพิ่มเติมตามที่กาหนด เป็นกลุ่ม (20 นาที) (2) การแบ่งความยาวส่วนโค้ง ของวงกลมหนึ่งหน่วย ความยาว 1 รอบ 2    ความยาวครึ่งรอบ    ความยาว 1 4 ของรอบ 2    ความยาว 3 2 ของรอบ 3 2    ความยาว 1 6 รอบ 3    ความยาว 1 8 ของรอบ 4    ข้อตกลง ค่าของ x คือ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ เขียนแทนด้วย y = cos  ค่าของ y คือ ค่าของฟังก์ชันไซน์ เขียนแทนด้วย y = sin  3    3 2    X Y (1 ,0 )  O X Y (1 ,0 )  O X Y (1 ,0 )  O (0 , -1)  (0, 1) 2       X Y 2    (1 ,0 )  O X Y (1 ,0 )  O X Y (1 ,0 )  O (-1 ,0 )     4   
  • 3. 3 ใบความรู้ที่ 2.1.3 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง วงกลมหนึ่งหน่วย คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมเพิ่มเติมตามที่กาหนด เป็นกลุ่ม (15 นาที) ข้อสังเกต เกี่ยวกับความยาวส่วนโค้งและวงกลมหนึ่งหน่วย 1) ถ้าความยาวส่วนโค้ง  หน่วยที่กาหนดให้ ยาวมากกว่า 1 รอบ ( 2  ) ความยาว ที่มากกว่านั้นก็จะวนกลับมาเริ่มต้นวัดที่จุด (1,0) เป็นรอบต่อไปเรื่อย ๆ และจุดสิ้นสุด ก็จะตกอยู่ที่จุดใดจุดหนึ่งบนส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย นั่นเอง ดังนั้น ถ้า  ยาวมากกว่า 1 รอบ แล้ว 2 ; , 0 2 n n I             2) วงกลมหนึ่งหน่วย มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกาเนิด เป็นกราฟของความสัมพันธ์ 2 2 ( , ) | 1 { } x y R R x y     จะเห็นว่า 1 1 , 1 1 x y       ดังนั้น ค่าของฟังก์ชันไซน์ และ โคไซน์ จะเป็นจานวนจริง ตั้งแต่ - 1 ถึง 1 นั่นคือ เรนจ์ ของฟังก์ชันทั้งสองคือ เซตของจานวนจริง ตั้งแต่ –1 ถึง 1 โดเมน ของฟังก์ชันทั้งสองคือ เซตของจานวนจริง 3) จากสมการวงกลมหนึ่งหน่วย 2 2 1 x y   แทนค่าด้วย x = cos  , y = sin  จะได้ความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันใหม่ว่า 2 2 (cos ) (sin ) 1     หรือเขียนตามความนิยม ได้ว่า 2 2 cos sin 1     7 2 3 3 3           7 2 3 3 3          (1 , 0 ) X Y   (1 , 0 ) X Y 
  • 4. 4 เอกสารฝึกหัดที่ 2.1.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าง เกี่ยวกับการวัดความยาวส่วนโค้ง ความยาวส่วนโค้ง ที่กาหนด ให้ใน วงกลมหนึ่งหน่วย ถ้าความยาวเกิน 1 รอบ ให้แจกแจงอยู่ในรูป 2n      เมื่อตัดความยาว ครบรอบออกแล้ว จะเหลือ =  จุดปลายส่วนโค้ง จะตกอยู่ในควอด รันต์ใด หรือจุดใด 2    - - จุด ( 0 , 1 ) 2            3 2    3 2     2    2     6    3 4    4 3    11 6    15 2    29 3    41 3     67 4    
  • 5. 5 ใบกิจกรรมที่ 2.1.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) ให้นักเรียน แบ่งวงกลมหนึ่งหน่วย ใน 1 รอบ ออกเป็น 4 , 6 , 8 , 12 ส่วน พร้อมระบุที่จุด ปลายของแต่ละส่วนโค้งว่า เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาวเท่าไร X      Y
  • 6. 6 ใบงานที่ 2.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงแสดงวิธีหา จุดปลายส่วนโค้ง  หน่วยที่กาหนดให้ว่า จะตกอยู่บนส่วนโค้ง ในควอดรันด์ใด ของวงกลมหนึ่งหน่วย 1.1) เมื่อ  33 4   1.2) เมื่อ  57 3   วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ……………………………………………… ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. 1.3) เมื่อ  87 6   1.4) เมื่อ  101 3   วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ……………………………………………… ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. 1.5) เมื่อ  17 6    1.6) เมื่อ  21 4    วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ……………………………………………… ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. 1.7) เมื่อ  29 3   1.8) เมื่อ  38 4    วิธีทา …………………………………………… วิธีทา ……………………………………………… ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ……………………………………………………….. ………………………………………………………..
  • 7. 7 ใบงานที่ 2.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ 1. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3    ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 2. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 6     ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 3. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 5 2    ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 4. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3 4    ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 5. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 5 3    ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 6. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 7 6    ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 7. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3 2     ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 8. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 5 6     ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 9. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 3 4     ควรอยู่ที่ใด …………………………..…………. 10. จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 11 6    ควรอยู่ที่ใด …………………………..………….
  • 8. 8 แบบทดสอบรายจุดประสงค์ (ก่อนเรียน) รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์ คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกกากบาท ( x ) เพียงข้อละ 1 ตัวเลือก ลงในกระดาษคาตอบ (1) จุดปลายของความยาวส่วนโค้ง 4  บนวงกลมหนึ่งหน่วย จะตกอยู่ในควอดรันต์ใด ก. ควอดรันต์ที่ 1 ข. ควอดรันต์ที่ 2 ค. ควอดรันต์ที่ 3 ง. ควอดรันต์ที่ 4 (2) ข้อใดคือค่าของ 2 sin 3  ก. 1 2 ข. 3 2 ค. 3 2  ง. 2 3 (3) ข้อใดคือค่าของ 5 cos 6  ก. 1 2 ข. 3 2 ค. 3 2  ง. 1 2  (4) ข้อใดคือค่าของ tan( 150 )  ก. 3 ข. 3 2  ค. 1 3 ง. 1 3  (5) ข้อใดคือค่าของ sin120 cos210 tan180 cot90  ก. 3 2 ข. 3 4 ค. 4 3 ง. ไม่มีข้อใดถูก (6) ) x 90 sin( 0  มีค่าเท่ากับข้อใด ก. sin x ข. cos x ค. - sin x ง. - cos x (7) 0 0 15 sin 75 sin  มีค่าเท่ากับข้อใด ก. 2 3 ข. 2 2 ค. 4 6 ง. 2 6
  • 9. 9 (8) ถ้า 2 1 A cos   เมื่อ 90 0 <A<180 0 แล้ว cos 2A จะเท่ากับข้อใด ก. - 2 1 ข. 2 1 ค. -1 ง. 2 3  (9) ข้อใดคือค่าของ ) 2 3 ( sin 1  ก. 6  ข. 4  ค. 3  ง. 2  (9) ข้อใดคือค่าของ 1 1 cos ( ) 2   ก. 5 6  ข. 3 4  ค. 3  ง. 2 3  (10) ข้อใดคือเซตคาตอบของสมการ 0 1 x sin 2 2   เมื่อ ] , 0 [ x   ก. } 4 3 , 4 {   ข. } 3 2 , 3 {   ค. } 6 5 , 6 {   ง. ไม่มีข้อถูก (11) กาหนด  ABC มีด้าน a = 3 3 , A = 30 0 , C = 120 0 แล้ว b จะยาวเท่าไร ก. 3 3 ข. 2 4 ค. 9 ง. 12 (12) ชายคนหนึ่งขับรถจากจุด ก. ลงไปทางทิศใต้เป็นระยะทาง 6 ก.ม. ต่อจากนั้นขับรถต่อไป ในทิศ 210 0 ถึงจุด เป็นระยะทาง 10 ก.ม. จงหาระยะห่างระหว่างจุด ก. และจุด ข. ก. 8 ก.ม. ข. 12 ก.ม. ค. 14 ก.ม. ง. 16 ก.ม.
  • 10. 10 ใบความรู้ที่ 2.2.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 15 นาที ) 1) ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ บนพิกัดจุดปลายของแกนพิกัดฉาก - เมื่อ 0   จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (1,0) ดังนั้น cos 0 1  และ sin 0 0  - เมื่อ 2    จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (0,1) ดังนั้น cos 0 sin 1 2 2     - เมื่อ    จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (-1,0) ดังนั้น cos 1 sin 0      - เมื่อ 3 2    จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (0,-1) ดังนั้น 3 3 cos 0 sin 1 2 2      - เมื่อ 2    จะมีจุดปลายอยู่ที่จุด (1,0) ดังนั้น cos2 1 sin2 0     ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้ (1) 5 sin 2   ……………………………………………………………………………….……..….………. (2) sin ( ) 2    ……………………………………………..………….……….…….…………….……… (3) sin 5  …………………………………..…………………………………………………………….. (4) 5 cos 2   ………………………………………………..………….………….…..…………..……….. (5) cos( 8 )    ……………….…………………………………………………………………..……….. (6) 3 cos ( ) 2    ………………………….……..…………………………………………………………. y (0,1) (-1,0) (1,0) (0,-1) x 0 , 2    2    3 2           และ และ และ และ
  • 11. 11 ใบความรู้ที่ 2.2.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที ) 2) ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ที่จุดปลาย 4    จากรูป ส่วนโค้ง AP = ส่วนโค้ง PB จะทาให้ | AP | = | PB | 2 2 2 2 ( 1) ( 1) x y x y      2 2 2 2 ( 1) ( 1) x y x y      2 2 2 2 2 1 2 1 x x y x y y        x y   แต่สมการวงกลมหนึ่งหน่วยคือ 2 2 1 x y   จะได้ว่า 2 2 1 x x   หรือ 2 2 1 x  ดังนั้น 1 2 x  และ 1 2 y  แสดงว่า 1 cos 4 2   และ 1 sin 4 2   ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้ (1) 3 4 sin   …………………………………… 3 4 cos   ………………………..…….…….. (2) 5 4 sin   …………………………………… 5 4 cos   ……..…………....……..….……… (3) 7 4 sin   …………………………………… 7 4 cos   …………………..….………….… (4) 9 4 sin   …………………………………… 9 4 cos   …………………..…….……….… (5) ( 4 sin )    ………………………………… ( 4 cos )    ………………..….…………… (6) 3 ( 4 sin )    ………………………………. 3 ( 4 cos )    ………………….…………… 4    y B(0,1) (-1,0) A (1,0) (0,-1) x 0 , 2    2    3 2            P (x , y)
  • 12. 12 ใบความรู้ที่ 2.2.3 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที ) 3) ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ที่จุดปลาย 6    จากรูป ส่วนโค้ง AP = 6  ดังนั้น ส่วนโค้ง PB = 3  ให้จุด C เป็นจุดสะท้อนของจุด P โดยมีแกน X เป็น แกนสะท้อน ทาให้ จุด C มีพิกัดเป็น (x ,- y) และส่วนโค้ง PC = 3  ด้วย ดังนั้น คอร์ด PC = คอร์ด PB 2 2 2 [ ( )] ( 1) y y x y      2 2 2 4 2 1 y x y y     2 4 2 2 0 y y    (2 1)( 1) 0 y y    จะได้ว่า 2 1 0 , 1 0 y y     1 ; 1 2 y y    ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้ (1) 5 6 sin   …………………………………… 5 6 cos   ………………………..…….…….. (2) 7 6 sin   …………………………………… 7 6 cos   ……..…………....……..….……… (3) 11 6 sin   …………………………………… 11 6 cos   …………………..….………….… (4) 5 ( 6 sin )    …………….…………………… 5 ( 6 cos )    …….…………..….…………… (5) 7 ( 6 sin )    …………………………………. 7 ( 6 cos )    …………………….…………… เป็นไปไม่ได้ 6    y B(0,1) (-1,0) A (1,0) (0,-1) x 2         P (x , y) C (x ,- y) ดังนั้น 1 sin 6 2   และ 3 cos 6 2  
  • 13. 13 ใบความรู้ที่ 2.2.4 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที ) 4) ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ที่จุดปลาย 3    จากรูป ส่วนโค้ง AP = 3  ให้จุด C เป็นจุดสะท้อนของจุด P โดยมีแกน Y เป็น แกนสะท้อน ทาให้ จุด C มีพิกัดเป็น (-x , y) และส่วนโค้ง PC = 3  ด้วย ดังนั้น คอร์ด AP = คอร์ด PC 2 2 2 ( 1) [ ( )] x y x x      2 2 2 2 1 4 x y x x     2 2 1 0 x x    (2 1)( 1) 0 x x    จะได้ว่า 1 ; 1 2 x x    3 2 y  ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้ (1) 2 3 sin   …………………………………… 2 3 cos   …………………………..…….…….. (2) 4 3 sin   …………………………………… 4 3 cos   ……..……………...……..….……… (3) 5 3 sin   …………………………………… 5 3 cos   ……………………..….………….… (4) 7 3 sin   …………………………………… 7 3 cos   ……………………..…….……….… (5) ( 3 sin )    ………………………………… ( 3 cos )    ……………….…..….…………… (6) ( 2 3 sin )    ………………………………. ( 2 3 cos )    ………………….……….……… 3    y B(0,1) (-1,0) A (1,0) (0,-1) x      P (x , y)  C (-x , y) เป็นไปไม่ได้ ดังนั้น 3 sin 3 2   และ 1 cos 3 2  
  • 14. 14 ใบความรู้ที่ 2.2.5 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นกลุ่ม ( เวลา 20 นาที ) 5) ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงใด ๆ 5.1 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง   จะได้ว่า sin( ) sin      และ cos( ) cos     5.2 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มากกว่า 1 รอบ ( 2 )    จะได้ว่า sin sin(2 ) sin n        s s(2 ) s co co n co        5.3 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มีจุดปลายตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 2 จะได้ว่า sin sin( ) sin        เมื่อ 0 2     s s( ) s co co co         เมื่อ 0 2     5.4 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มีจุดปลายตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 3 จะได้ว่า sin sin( ) sin         เมื่อ 0 2     s s( ) s co co co         เมื่อ 0 2     5.5 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง ที่มีจุดปลายตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 4 จะได้ว่า sin sin(2 ) sin n         s s(2 ) s co co n co        ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง ต่อไปนี้ (1) 19 cos cos(6 ) 3 3      (2) 27 3 sin sin(6 ) 4 4      ……………………………………………………………. ………………………………………………………….. ……………………………………………………………. ………………………………………………………….. ……………………………………………………………. …………………………………………………………..
  • 15. 15 ใบกิจกรรมที่ 2.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คำชี้แจง จงระบุค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงใด ๆ ที่กาหนดให้ลงในวงกลมหนึ่งหน่วย โดยเขียนในรูปของคู่อันดับ และบอกตาแหน่งความยาวส่วนโค้งแต่ละจุด ให้ถูกต้อง      Y X            
  • 16. 16 ใบกิจกรรมที่ 2.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คำชี้แจง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง และบอกสูตรที่นามาใช้ด้วย ต่อไปนี้ 1.1 29 ( ) 4 cos    ………………………………….………… เหตุผล…………………………… = …………………………………….……… เหตุผล…………………………… = ………………………………….………… เหตุผล…………………………… 1.2 35 ( ) 6 sin    ……………………………………..…….… เหตุผล…………………………… = …………………………………….……… เหตุผล…………………………… = …………………………………….……… เหตุผล…………………………… 1.3 5 5 3 sin( )    …………………..………………….……… เหตุผล…………………………… = ……………………………………….…..… เหตุผล…………………………… = ……………………………………………… เหตุผล…………………………… 1.4 67 2 ( ) cos    …………………..…………….…………… เหตุผล…………………………… = …………………………………..………… เหตุผล…………………………… = …………………………………..………… เหตุผล…………………………… 1.5 71 4 cos   …………………..…………………….………… เหตุผล…………………………… = ………………………………………..………… เหตุผล…………………………… = …………………………………………..……… เหตุผล…………………………… 1.6 88 3 sin   …………………..…………………….………… เหตุผล…………………………… = ………………………………………..………… เหตุผล…………………………… = …………………………………………..……… เหตุผล…………………………… 1.7 77 6 ( ) cos    ……………………………………..…….… เหตุผล…………………………… = ……………………………………..……… เหตุผล…………………………… = ……………………………………..……… เหตุผล……………………………
  • 17. 17 ใบกิจกรรมที่ 2.2.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  ต่อไปนี้ 1.1 เมื่อ 4 3    จะได้   4 3 cos ...........…………………………………………….......... และ   4 3 sin ............………………………………………………........ 1.2 เมื่อ 4 5    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.3 เมื่อ 4 7    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.4 เมื่อ 4 15    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ …………………………………………………………….…………….. 1.5 เมื่อ 4 35    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ …………………………………………………………….…………….. 1.6 เมื่อ 4 5     จะได้ …………………………………………………………….…………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.7 เมื่อ 35 4     จะได้ ………………………………………………………………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.8 เมื่อ 4 55     จะได้ ………………………………………………………………………….. และ …………………………………………………………………………..
  • 18. 18 ใบกิจกรรมที่ 2.2.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ชื่อนักเรียน ..................………….....................................ชั้น.....…….........เลขที่........…...... กลุ่มที่ .....…..... คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วย ต่อไปนี้ 1.1 เมื่อ 6 5    จะได้   6 5 cos .........................................................…….................... และ   6 5 sin .........................................................……..................... 1.2 เมื่อ 6 7    จะได้ ………………………………………………………….……………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.3 เมื่อ 6 11    จะได้ …………………………………………………….…………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.4 เมื่อ 6 17    จะได้ ……………………………………………………….………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.5 เมื่อ 6 35    จะได้ ……………………………………………………………..…………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.6 เมื่อ 6 5     จะได้ ………………………………………………………….……………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.7 เมื่อ 35 6     จะได้ ……………………………………………………………….………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.8 เมื่อ 6 55     จะได้ ………………………………………………………………………….. และ …………………………………………………………………………..
  • 19. 19 ใบกิจกรรมที่ 2.2.3 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วย ต่อไปนี้ 1.1 เมื่อ 3 2    จะได้   3 2 cos .........................................................……................... และ   3 2 sin .........................................................…….................... 1.2 เมื่อ 3 4    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.3 เมื่อ 3 5    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.4 เมื่อ 3 16    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.5 เมื่อ 3 35    จะได้ ………………………………………………………………………….. และ ………………………………………………………………………….. 1.6 เมื่อ 3 85     จะได้ …………………………………………………………………………. และ ………………………………………………………………………….. 1.7 เมื่อ 3 155     จะได้ …………………………………………………………………………. และ …………………………………………………………………………. 1.8 เมื่อ 212 3     จะได้ …………………………………………………………………………. และ ………………………………………………………………………….
  • 20. 20 ใบกิจกรรมที่ 2.2.4 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ที่ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วย ต่อไปนี้ 1.1 29 cos ( ) 4   ………………………………………………………………… 1.2 29 sin( ) 6   ………………………………………….……………………… 1.3 35 sin( ) 3   …………………..…………………………………………….. 1.4 37 cos( ) 2    …………………..…………………………………………… 1.5 23 cos 4   …………………..……………………………………………….. 1.6 38 sin 3  …………………..…………………………………………… 1.7 6 sin( )    ………………………………… 6 sin( )    ……………………..………. 1.8 2 3 sin( )    ……………………………… 2 3 cos( )    ……..…………....………. 1.9 7 4 sin( )    ……………………………… 7 4 cos( )    …………………...……… 1.10 ( 4 3 sin )    …………….………………… ( 4 3 cos )    ….…………..….………… 1.11 ( 5 6 sin )    ………………………………. ( 5 6 cos )    ……………………………… 1.12 ( 3 4 sin )    ………………………………. ( 3 4 cos )    ……………………………… 1.13 ( 5 4 sin )    ………………………………. ( 5 4 cos )    ………………………………
  • 21. 21 ใบงานที่ 2.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้ (1) จุดปลายของความยาวส่วนโค้งต่อไปนี้ตกอยู่ในควอดรันต์ใด ในวงกลมหนึ่งหน่วย .. .......... ... .......... ตกอยู่ใน เมื่อ ตกอยู่ใน เมื่อ 3 73 ) 4 3 13 ) 1        .. .......... ... .......... ตกอยู่ใน เมื่อ ตกอยู่ใน เมื่อ 5 78 ) 5 6 47 ) 2        .. .......... .. .......... ตกอยู่ใน เมื่อ ตกอยู่ใน เมื่อ 10 87 ) 6 4 119 ) 3        (2) จงหาโคออร์ดิเนต ของจุดปลายส่วนโค้งของจานวนจริงหรือมุมที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ 1) เมื่อ  = 25 3  …………..……… 5) เมื่อ  = 74 3   …………..……… 2) เมื่อ  = 73 4  …………..……… 6) เมื่อ  = 95 4   …………..……… 3) เมื่อ  = 106 6  …………..……… 7) เมื่อ  = 149 6   …………..……… 4) เมื่อ  = 215 2  …………..……… 8) เมื่อ  = 456 3   …………..……… (3) จงหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ จากข้อต่อไปนี้ 1) 61 87 sin( ).cos 3 6     ………..………………………………………………………………. = ………..………………………………………………………………. 2) 11 19 sin cos 3 4    …………………..……………………………………………………… = ………..………………………………………………………………… 3) 47 43 cos ( ) sin( ) 2 6      ……………………………………………………………… = ………..……………………………………………………. = ………..…………………………………………………….
  • 22. 22 ใบความรู้ที่ 2.3.1 วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 30 นาที ) ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ นอกจากจะมีฟังก์ชันไซน์และโคไซน์แล้ว ยังมีอีก 4 ฟังก็ชัน คือ 1) ฟังก์ชันแทนเจนต์ (tangent) เขียนแทนด้วย tan 2) ฟังก์ชันเชกแคนต์ (secant) เขียนแทนด้วย sec 3) ฟังก์ชันโคเซกแคนต์ (cosecant) เขียนแทนด้วย cosec หรือ csc 4) ฟังก์ชันโคแทนเจนต์ (cotangent) เขียนแทนด้วย cot หรือ ctn นิยาม เมื่อ  คือ จานวนจริงใด ๆ แล้ว sin tan ; cos 0 cos       1 sec ; cos 0 cos      s t ; sin 0 sin co co       1 cos ; sin 0 sin ec      ความสัมพันธ์เพิ่มเติมของฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้ง 4 ฟังก์ชัน 1 cot tan    1 tan cot    2 2 1 tan sec     2 2 1 cot csc     โดเมนและ เรนจ์ของฟังก์ชันทั้ง 4 ฟังก์ชัน เป็นดังนี้ 1) โดเมนของฟังก์ชัน tan และ sec คือ (2 1) { | , } 2 n R x R x n I       2) โดเมนของฟังก์ชัน cot และ cosec คือ { | , } R x R x n n I      3) เรนจ์ของฟังก์ชัน tan และ cot คือ R 4) เรนจ์ของฟังก์ชัน sec และ cosec คือ { | 1 1} R x R x     
  • 23. 23 เอกสารฝึกหัดที่ 2.3.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนในกลุ่ม ช่วยกันเติมคาตอบลงในช่องว่าง ที่กาหนดให้ถูกต้อง กาหนด จานวนจริง  ค่าของ sin  ค่าของ cos  ค่าของ tan  ค่าของ csc  ค่าของ sec  ค่าของ cot   0   2       3 2    3    2 3    4 3    5 3    4    3 4    5 4    7 4    6    5 6    7 6 
  • 24. 24 เอกสารฝึกทักษะที่ 2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 30203 บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ จงหาค่าของข้อต่อไปนี้ (1) 5 3 sin cos 4 4     ………………………………………………………………….…………  ……………………………………………………………….…………… (2) 11 7 n( ) csc 6 6   ta    ………………………………………………………………….…………  ……………………………………………………………….……………  …………………………………………………………………….……… (3) 8 21 s c csc 3 6 e     ………………………………………………………………….…………  ………………………………………………………………….…………  ………………………………………………………………….………… (4) 33 27 csc tan 3 4     ………………………..……………………………………………………  ………………………………………………………………….…………  ……………………………………………………………….…………… (5) 35 51 sec( ) csc( ) 4 6       …………………………..…………………………………….………  …………………………………………………………………….………  …………………………………………………………………….……… (6) 2 2 17 32 cot tan 6 3     ……………………………………………………………………….  ……………………………………………………………………………  ……………………………………………………………………………  ……………………………………………………………………………
  • 25. 25 ใบกิจกรรมที่ 2.3.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงหาค่าของข้อต่อไปนี้ 1.1 5 3 sin cos 4 4     ……………………………………………………………………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.2 11 7 n csc 6 6 ta     …………………………………………………………………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.3 8 21 s c csc 3 6 e     …………………………………………………………………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.4 33 27 csc tan 3 4     …………………………………………………………………………  ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.5 35 51 sec csc 4 6     …………………………………………………………………………  ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.6 2 2 17 32 cot tan 6 3     …………………………………………………………………….  ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….…………………
  • 26. 26 ใบงานที่ 2.3 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้ (1) จงหาค่าของข้อต่อไปนี้ 1.1 3 3 2 2 sin csc cos sec 4 4 3 3       ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.2 5 3 7 n csc cos sin 6 6 4 4 ta       …………………………………………………………  ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.3 5 3 2 11 sin s c cot csc 4 4 3 6 e       ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.4 13 13 15 21 cos csc tan cot 3 6 4 4       ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.5 33 29 52 61 sec csc cos sin 4 4 3 6       ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….………………… 1.6 2 2 2 2 4 17 25 22 sin cot cos tan 3 4 6 3       ……………………………………………………………………………………….…………………  ……………………………………………………………………………………….…………………
  • 27. 27 ใบความรู้ที่ 2.4.1 วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม (1) มุมและการวัดมุม - มุมเกิดจาก ส่วนของเส้นตรงของเส้นที่แยกออกจากกัน ส่วนของเส้นตรง 2 เส้น นั้น เส้นหนึ่งเรียกว่า ด้านเริ่มต้นของมุม อีกเส้นหนึ่งเรียกว่า ด้านสิ้นสุดของมุม - การวัดมุม วัดได้ 2 แบบ คือ แบบทวนเข็มนาฬิกา (กาหนดให้ค่าของมุมเป็น +) และการวัดแบบตามเข็มนาฬิกา (กาหนดค่าของมุมเป็น - ) - หน่วยของมุม มี 2 แบบ คือ - หน่วยของมุมที่เป็นองศา ( ) โดยถือว่า มุมที่เกิด จากการหมุนส่วนของเส้น ตรงไปครบหนึ่งรอบ มีขนาดเท่ากับ 360 องศา และแบ่งหน่วยองศาออกเป็น หน่วยย่อย คือ ลิปดา / ( ) และ ฟิลิปดา // ( ) โดยที่ / / // 1 60 , 1 60   - หน่วยของมุมที่เป็นเรเดียน (radian) คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมซึ่งรอง รับด้วยส่วนโค้งของวงกลมที่ยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมวงนั้น จะถือว่ามีขนาด เท่ากับ 1 เรเดียน - เนื่องจากความยาวเส้นรอบวงของวกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย ยาว 2 r  หน่วย ดังนั้น มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลม ซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งที่ยาว 2 r  หน่วย จึงมีขนาดเท่ากับ 2 2 r r    เรเดียน - การเปรียบเทียบมุม ทั้ง 2 แบบ 360 องศา = 2 เรเดียน 1 องศา = 180  เรเดียน 0.01745  เรเดียน 1 เรเดียน = 180  องศา / 57 18  ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 1 2 เรเดียน เป็น องศา และเปลี่ยน 75 องศา เป็น เรเดียน วิธีทา 1 2 เรเดียน = / 1 180 1 57 18 2 2     75 องศา = 75 75 0.01745 180     / 28 39  5 1.30875 12   
  • 28. 28 ใบความรู้ที่ 2.4.2 วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 20 นาที ) (2) ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม - เมื่อจุดยอดมุมของมุม ๆ หนึ่งอยู่ที่จุด ( 0 , 0 ) ด้านเริ่มต้นทาบแกน x ทางบวก จะเรียกมุมนั้นว่า มุมในตาแหน่งมาตรฐาน - ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย ที่รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางขนาด  เรเดียน จึงยาวเท่ากับ  หน่วย - เมื่อกาหนดมุมขนาด  เรเดียนให้หนึ่งมุม แล้วจุดสิ้นสุดของด้านสิ้นสุดของมุม จะเป็นจุดเดียวกันกับ จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย ด้วย - ไม่ว่าจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมหรือความยาวส่วนโค้ง ของวงกลมหนึ่งหน่วย ที่รองรับมุมนั้น ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนเหล่านั้น จึงมีค่า เท่ากัน ตัวอย่าง จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม ต่อไปนี้ (1) sin 60 sin 3   (2) cos 135 cos(180 45 )   3 2  cos 45 cos 4      2 2   (3) tan( 210 )  ………………………………. (4) sec( 405 )  ………………………………. = ……….……………………………………….… = ……….……………………………………….… (x , y) y (1,0) x      O (x , -y) y (1,0) x      O  > 0  < 0
  • 29. 29 ใบความรู้ที่ 2.4.3 วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 20 นาที ) (3) ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก - รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่สร้างขึ้น บนวงกลมหนึ่งหนึ่งหน่วย และมีจุดยอดมุม อยู่ที่จุด (0 , 0) มีขนาดเท่ากับ  เรเดียน หรือ  องศา จะได้ว่า sin A = sin (ความยาวส่วนโค้ง FD) = DE cos A = cos (ความยาวส่วนโค้ง FD) = AE เนื่องจาก AED ACB  จะได้ว่า DE BC AE AC และ AD AB AD AB   แต่ AD = 1 ดังนั้น BC a DE AB c   และ AC b AE AB c   นั่นคือ  ความยาวของดา ้้ นตรงข้ามมุม A sin ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก A ความยาวของด้านประชดิมุม A s ความยาวของดา ้ ้นตรงขา ้ ้มมุมฉาก co A  ความยาวของด้านตรงขา ้้ มมมุ A tan ความยาวของดา ้ ้นประชดิมุม A A  ตัวอย่าง กาหนด  มุมฉาก ABC โดยมี มุม C เป็นมุมฉาก ด้าน AC ยาว 4 หน่วย และ มุม A = 30 องศา จงหา ความยาวด้าน AB และ BC วิธีทา สร้างรูปประกอบ เนื่องจาก cos 30 b c  และ tan 30 a b  ดังนั้น cos30 b c  tan 30 a b  4 8 3 3 2   3 4 ( ) 3  4.618  2.309     (1,0) X Y A C D E F B A C B 30 a c 4
  • 30. 30 ใบกิจกรรมที่ 2.4.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงเปลี่ยนมุมเรเดียนต่อไปนี้เป็นมุมองศา 1.1 2 เรเดียน =…………………………………………………..…………………………….. 1.2 1 3 เรเดียน =…………………………………………………..…………………………….. 1.3 1 4 เรเดียน =…………………………………………………..…………………………….. 1.4 2 3 เรเดียน =…………………………………………………..…………………………….. 1.5 3 4  เรเดียน =…………………………………………………..…………………………….. 1.6 17 6  เรเดียน =…………………………………………………..…………………………….. 1.7 22 5  เรเดียน =…………………………………………………..…………………………….. (2) จงเปลี่ยนมุมองศา ต่อไปนี้เป็นมุมเรเดียน 2.1 15 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.2 75 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.3 105 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.4 120 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.5 135 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.6 150 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.7 210 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.8 225 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.9 240 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.10 300 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.11 315 องศา =…………………………………………………..…………………………….. 2.12 330 องศา =…………………………………………………..……………………………..
  • 31. 31 ใบกิจกรรมที่ 2.4.2 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ชื่อนักเรียน .......................................…………................ชั้น.......…........เลขที่............... กลุ่มที่ ............ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม ต่อไปนี้ 1.1 sin 135 ………………………….….. 1.2 cos 120  …………………………….. = ……….……………………….…….……… = ……….……………………………………. 1.3 tan 150 ………………….…………… 1.4 sec 225 …………………..…………. = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. 1.5 csc 240 ………………….………….. 1.6 cot 300  ……………………………… = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. 1.7 sin( 210 )  ………………………….. 1.8 cos( 315 )  ………………………… = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. 1.9 tan( 450 )  ………………….………1.10 sec( 240 )  …………………..……. = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. 1.11 csc( 480 )  ………………….………1.12 cot( 510 )  ………………………… = ……….……………………….………….… = ……….……………………………………. = ……….……………………….………….… = ……….…………………………………….
  • 32. 32 ใบกิจกรรมที่ 2.4.3 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บท ที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที ) (1) จงหาความยาวของด้านที่เหลือของสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC เมื่อกาหนด มุมและ ด้านบางด้านมาให้ จากข้อต่อไปนี้ 1.1 มีมุม C เป็นมุมฉาก มุม A = 45 องศา และด้าน AC ยาว 3 หน่วย วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….……. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. 1.2 มีมุม C เป็นมุมฉาก มุม A = 60 องศา และด้าน AB ยาว 8 หน่วย วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….……. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. (2) กาหนดให้ 3 cos , 0 90 5      จงหา sin  และ tan  วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….……. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
  • 33. 33 ใบงานที่ 2.4 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้ (1) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันของมุม 850 องศา วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….……. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. (2) สามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม C เป็นมุมฉาก ด้าน AC = 1 ด้าน AB = 3 จงหามุมและด้านที่เหลือ วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….……. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. (3) กาหนดให้ tan 2 , 0 90 A A    จงหา ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม A วิธีทา ……….…………………………………….……….……………………………………………….……. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….………………………………………………………………. ……….…………………………………….……….……………………………………………………………….
  • 34. 34 ใบความรู้ที่ 2.5.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 15 นาที ) การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ จากหัวข้อที่กล่าวมาแล้ว ได้ทราบค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริงหรือมุม บางมุมมาบ้างแล้ว และทราบด้วยว่า ไม่ว่าจะกาหนดจานวนจริง  ( หรือมุม ) ใด ๆ ที่อยู่ใน โดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้นมาให้ จะสามารถหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริง หรือมุมนั้นได้เสมอ สาหรับค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง เป็นค่าที่หาจากจานวนจริง หรือมุมตั้งแต่ 0 ถึง 2  หรือ 00 ถึง 900 ถ้ามุมหรือจานวนจริงที่มากกว่านี้ ให้ใช้วิธีการหาค่าฟังก์ชันที่เป็น จุดสมมาตรของมุมหรือจานวนจริงตั้งแต่ 00 ถึง 900 หรือ 0 ถึง 2  ตัวอย่างตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ Degree Radians Sine tangent cotangent cosine 27๐ 00/ 0.4712 .4540 .5095 1.9626 .8910 63๐ 00/ 1.0996 10/ 0.4741 .4566 .5132 1.9486 .8897 50/ 1.0966 20/ 0.4771 .4592 .5169 1.9347 .8884 40/ 1.0937 30/ 0.4800 .4617 .5206 1.9210 .8870 30/ 1.0908 40/ 0.4829 .4643 .5243 1.9074 .8857 20/ 1.0879 50/ 0.4858 .4669 .5280 1.8940 .8843 10/ 1.0850 28๐ 00/ 0.4887 .4695 .5317 1.8807 .8829 62๐ 00/ 1.0821 10/ 0.4916 .4720 .5354 1.8676 .8816 50/ 1.0792 20/ 0.4945 .4746 .5392 1.8546 .8802 40/ 1.0763 30/ 0.4974 .4772 .5430 1.8418 .8788 30/ 1.0734 40/ 0.5003 .4797 .5467 1.8291 .8774 20/ 1.0705 50/ 0.5032 .4823 .5505 1.8165 .8760 10/ 1.0676 cosine cotangent tangent Sine Radians Degree
  • 35. 35 ใบความรู้ที่ 2.5.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง เป็นค่าที่หาจากมุมหรือจานวนจริงตั้งแต่ 00 ถึง 900 หรือ 0 ถึง 2  ถ้ามุมหรือจานวนจริงที่มากกว่านี้ ให้ใช้วิธีการหาค่าฟังก์ชันที่เป็นจุดสมมาตร ของมุมหรือจานวนจริงตั้งแต่ 00 ถึง 900 หรือ 0 ถึง 2  ตัวอย่างที่ 1 จงใช้ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง มาหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้ (1) cos 125 (2) sin 226 วิธีทา cos 125 cos(180 55 )   วิธีทา sin 226 sin (180 46 )   cos 55   sin 46   เปิดตาราง จะได้ 0.5736   เปิดตารางจะได้ (3) tan( 306 )  (4) / sin 100 20 วิธีทา tan( 306 ) tan 306    วิธีทา / / sin 100 20 sin(180 79 40 )   tan(360 54 )    / sin 79 40  ( tan 54 )    1.3764  0.9838  ตัวอย่างที่ 2 จงใช้ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง มาหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้ (1) / cos 77 44 (2) / sin 32 28 วิธีทา หาโดยวิธีเทียบสัดส่วน ดังนี้ วิธีทา หาโดยวิธีเทียบสัดส่วน ดังนี้  44 0.0171 60 x   28 0.0147 60 x  x = 0.0125 x = 0.0069 ดังนั้น / cos 77 44 = 0.2250 - 0.0125 ดังนั้น / sin 32 28 = 0.5299 + 0.0069 = 0.2125 = 0.5368 / cos 77 44 / cos 77 00 / cos 78 00 0.2250 0.2079 + 44/ + 60/ - x - 0.0171 + x / sin 32 28 / sin 32 00 / sin 33 00 + 28/ + 60/ + 0.0147 0.5299 0.5446
  • 36. 36 เอกสารฝึกหัดที่ 2.5.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ คาสั่ง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าง ให้ถูกต้อง (1) จงใช้ค่าจากตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ ตอบคาถามต่อไปนี้ 1.1 ' cos 11 10 =……………………… 1.7 sin 0.5091 =…………..…….……..… 1.2 ' sin 16 20 =………………….…… 1.8 sin 1.1868 =…………..…….…..…… 1.3 ' cos 32 30 =……………………… 1.9 cos 0.0785 =…………..……….…… 1.4 ' sin 40 50 =………………….…… 1.10 cos 1.4515 =…………..……..……… 1.5 ' tan 31 20 =……………….……… 1.11 tan 0.1338 =…………..……..…….. 1.6 ' cot 44 40 =…………………….… 1.12 cot 0.1658 =…………..……..……… (2) จงใช้ค่าจากตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ ในการประยุกต์ ตอบคาถามต่อไปนี้ 2.1 ' cos 135 20 =……………………… 2.5 ' sin 98 50 =…………..…….……… =…………………………………………… =…………..………………………..……… =…………………………………………… =…………..………………………..……… 2.2 ' cos 241 30 =……………………… 2.6 ' tan 120 50 =…………..…….……. =…………………………………………… =…………..………………………..……… =…………………………………………… =…………..………………………..……… 2.3 ' s 131 40 in =……………………… 2.7 ' tan 248 30 =…………..…….…… =…………………………………………… =…………..………………………..……… =…………………………………………… =…………..………………………..……… 2.4 ' sin278 10 =………………….…… 2.8 ' cot 134 20 =…………..……..……. =…………………………………………… =…………..………………………..……… =…………………………………………… =…………..………………………..………
  • 37. 37 ใบกิจกรรมที่ 2.5.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ คำชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม พร้อมกับนาเสนอผลงาน (20 นาที) (1) จงหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้โดยใช้ตาราง 1.1 ' 20 31 cos  =…………….…………..…. 1.2 ' 50 48 sin  =……………..…….……… 1.3 ' 50 73 tan  =…………….………….….. 1.4 ' 30 148 sin  =…………….…………… 1.5 ' 10 330 cos  =…………….……….…… 1.6 ' 40 448 tan  =…………….……….…. 1.7 ) 20 62 ( cos '   =…………….…………. 1.8 ) 50 84 ( sin '   =…………….……….… 1.9 cos 0.3840=…………….………………. 1.10 tan 4.3546 =……………….….….….. (2) จงหาค่าของ  เมื่อ 0 90    เมื่อกาหนดค่าของฟังก์ชันดังนี้ 2.1 cos 0.9194   ……….….…………… 2.2 sin 0.8732   ……………….……… 2.3 cos 0.7660   ……….….…………… 2.4 tan 3.4124   ………..….….……… 2.5 cos 0.8631   …………………..……. 2.6 sin 0.3090   ……………….……… 2.7 tan 0.5280   ……………….….……. 2.8 tan 1.0913   ……………….….…… 2.9 cos 0.5592   ……………….………. 2.10 sin 0.1190   ……………….…….… (3) จงหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้โดยใช้ตาราง 3.1 ' 24 42 cos  =…………….……..……… 3.2 ' 45 78 sin  =……………….…………… ……………………………………………….………… …………………………….…………………………… ……………………………………………….………… …………………………….…………………………… ……………………………………………….………… …………………………….…………………………… ……………………………………………….………… …………………………….…………………………… ……………………………………………….………… …………………………….…………………………… ……………………………………………….………… …………………………….…………………………… ……………………………………………….………… …………………………….…………………………… ……………………………………………….………… …………………………….……………………………                    
  • 38. 38 ใบงานที่ 2.5 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ คาสั่ง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา / เขียนคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กาหนดให้ (1) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติต่อไปนี้โดยใช้ตาราง 1.1  ' 30 28 sin  .............….......……......... 1.2  ' 20 100 sin  ..........................…........ 1.3  ' 10 66 tan  ............................……… 1.4  ' 50 136 cos  ............................……. 1.5  ' 40 44 cos  .……............................. 1.6  ' 30 243 tan  ............................……. (2) จงหาค่ามุม A เมื่อ   180 0   A เมื่อกาหนดค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติมาให้ 2.1 cos 0.9872 A  2.2 sin 0.9520 A  .....................................….......................... ...............................................…................ 2.3 tan 0.5206 A  2.4 sin 0.4540 A   .....................................….......................... ...............................................…................ 2.5 cos 0.8760 A   2.6 tan 0.6830 A   .....................................….......................... ...............................................…................ (3) จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติต่อไปนี้โดยอาศัยค่าจาตาราง 3.1 ' 24 36 cos  วิธีทา .....................................................................….........................…………….............................. .....................................................................................….........................…………….............................. .....................................................................................….........................…………….............................. .....................................................................................….........................…………….............................. .....................................................................................….........................…………….............................. 3.2 ' 33 48 tan  วิธีทา .....................................................................….........................…………….............................. .....................................................................................….........................…………….............................. .....................................................................................….........................…………….............................. .....................................................................................….........................……………..............................
  • 39. 39 ใบความรู้ที่ 2.7.1 วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจานวนจริงหรือมุม คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 15 นาที ) (1) การหาความสัมพันธ์ของ cos( ) A B  และ cos( ) A B  จากรูป กาหนดวงกลมหนึ่งหน่วยบนระนาบพิกัดฉาก และให้ 2 1 , P P A P P B   ดังนั้น 3 1 2 P P P P A B    และจะได้ว่า 3 1 2 | | | | PP P P  3 3 2 1 2 1 2 2 2 2 ( 1) ( ) ( ) ( ) x y x x y y       ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ดังนั้น cos( ) cos cos sin sin A B A B A B    ถ้าลองนาค่าของ cos( ) A B  ไปหาค่าของ cos( ) A B  จะได้ดังนี้ cos( ) A B  cos[ ( )] A B     ……………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………….. สรุปเป็นสูตรได้ว่า cos( ) cos cos sin sin A B A B A B    cos( ) cos cos sin sin A B A B A B    P(1,0)     X Y  P1(x1,y1) P2(x2,y2) P3(x3,y3)
  • 40. 40 ใบความรู้ที่ 2.7.2 วิชาคณิตศาสตร์ ( ค 30203 ) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจานวนจริงหรือมุม คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมที่กาหนดให้ เป็นกลุ่ม ( 20 นาที ) (2) การหาความสัมพันธ์ของ sin ( ) A B  และ sin ( ) A B  เนื่องจาก sin( ) cos[ ( )] 2 A B A B      cos[( ) ] 2 A B     = ……………………………………………….……………………………. = ……………………………………………….……………………………. = ……………………………………………….……………………………. ดังนั้น sin( ) sin cos s sin A B A B co A B    ในลักษณะเดียวกัน จะได้ว่า sin( ) sin cos s sin A B A B co A B    (3) การหาความสัมพันธ์ของ ) B A tan(  และ ) B A tan(  ) B A tan(  = = ……………………………….……………………..………. = ……………………………….…………………..…………. = ……………………………….…………………..…………. = ……………………………….…………………..…………. = ……………………………….…………………..…………. ดังนั้น tan tan tan( ) 1 tan tan A B A B A B     ในลักษณะเดียวกัน จะได้ว่า tan tan tan( ) 1 tan tan A B A B A B     sin( ) cos( ) A B A B  
  • 41. 41 ใบงานที่ 2.8 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและ ผลต่างของจานวนจริงหรือมุม จงเติมคาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง (1) มุมที่มีหน่วยเป็นองศา ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย เช่น ………………......................………….. 2) มุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียน ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย เช่น ....................…………….………...… (3) จงแยกมุมที่กาหนดให้ให้อยู่ในรูปผลบวก หรือผลต่างของมุม 2 มุม ที่สามารถหาค่าของ ฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย โดยใช้มุมในข้อ (1) หรือ ข้อ (2) กาหนดมุมที่จะหาค่าของ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ แยกมุมให้อยู่ในรูปผลต่างของมุม ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย แยกมุมให้อยู่ในรูปผลบวกของมุม ที่หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติได้ง่าย 15 45 30  – 75 – 45 30  105 135 165 390 435 12  5 12  7 12 
  • 42. 42 ใบงานที่ 2.8.1 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 30203) บทที่ 2 เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและ ผลต่างของจานวนจริงหรือมุม จงหาค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้ ในรูปแบบของ ( ) cos  A B และ ( ) cos  A B 1) 15 cos = ………….………….…………….…… 2) 165 cos =…………………………...…………. ……………………………….……………………. …………………..………………………………. ……………………………….……………………. …………………..………………………………. ……………………………….……………………. …………………..………………………………. 3) ( 105 ) cos  = …………………………...……. 4) 17 12 cos  =…...………………………………… ……………………………….……………………. …………………..………………………………. ……………………………….……………………. …………………..………………………………. ……………………………….……………………. …………………..………………………………. ……………………………….……………………. …………………..………………………………. 5) ให้        B cos , A sin โดยที่ 0 A 90   , 90 B 180   จงหา 5.1 cos( ) A B  =……………………………………………………………………………. =…………………………………………………….……………………… =…………………………………………………….……………………… =…………………………………………………….……………………… 5.2 cos( ) A B  =……………………………………………………………………………. =…………………………………………………….……………………… =…………………………………………………….……………………… =…………………………………………………….………………………