SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการเรียนรู้ที่
ตัวชี้วัด
ส.5.1 ม.4-6/1	 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และน�ำ
					 เสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
	 สาระการเรียนรู้
	 1.	 แผนที่และการแปลความหมายแผนที่
	 2.	 เครื่องมือและอุปกรณ์ในการศึกษาข้อมูลภูมิศาสตร์
		 2.1	 รีโมตเซนซิง หรือการส�ำรวจข้อมูลระยะไกล
			 -	 รูปถ่ายทางอากาศ
			 -	 ภาพจากดาวเทียม
		 2.2	 อุปกรณ์ในการศึกษาข้อมูลภูมิศาสตร์
	 3. 	ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
1
“..ถ้าเราติดกระดุมเม็ดแรกผิด เม็ดต่อไปมันก็
ผิดหมด...” การอ่านหนังสือก็เหมือนกัน ต้องเริ่ม
ต้นให้ดีตั้งแต่หน่วยแรก แล้วหน่วยต่อไปก็จะดี
ด้วย... บอกตรง ๆ ลองมาแล้ว
2
แผนที่และการแปลความหมายแผนที่
	 ความหมายของแผนที่
	
	 พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของแผนที่ไว้ว่า “แผนที่”
คือ สื่อรูปแบบหนึ่งที่ถ่ายทอดข้อมูลของโลกในรูปของกราฟิก โดยการย่อส่วนให้เล็กลง ด้วยมาตรฐาน
ส่วนต่าง ๆ และเส้นโค้งแผนที่แบบต่าง ๆ ให้เข้าใจตรงตามวัตถุประสงค์ด้วยการใช้สัญลักษณ์
	 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า “แผนที่” คือ เครื่องมือการสื่อสารข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่แสดงถึงข้อมูล
ต�ำแหน่งที่ตั้งและการกระจายของลักษณะทางธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยน�ำองค์ประกอบ
ของลักษณะต่าง ๆ มาแสดงบนพื้นราบด้วยการย่อส่วนให้เล็กลงตามขนาดที่ต้องการ และใช้สี เส้น
เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ทิศทาง และมาตราส่วนที่ก�ำหนดขึ้นมาแทนสิ่งที่ปรากฏอยู่บนผิวโลก
	 ประเภทของแผนที่
	
	 ปัจจุบันแผนที่สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
	 •	 แผนที่ทั่วไป (General maps) เป็นแผนที่พื้นฐานที่ใช้ส�ำหรับสร้างแผนที่พิเศษและใช้ใน
การปฏิบัติงานทั่วไป มี 2 แบบ คือ
		 -	 แผนที่ทางราบ (Planimetric maps) เป็นแผนที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในลักษณะ
แบบราบเท่านั้น ใช้ในการหาต�ำแหน่งและหาระยะห่างบนพื้นที่
		 -	 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic maps) เป็นแผนที่ที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ เช่น
แม่น�้ำ ล�ำคลอง หนองบึง ทะเลสาบ ภูเขา ฯลฯ
	 •	 แผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic maps) เป็นแผนที่ที่สร้างขึ้นจากแผนที่พื้นฐาน เพื่อใช้
ในกิจกรรมเฉพาะเรื่อง มี 2 แบบ คือ
		 -	 แผนที่เชิงคุณภาพ (Qualitative maps) เช่น แผนที่แสดงแหล่งท่องเที่ยวและการ
เดินทาง แผนที่แสดงการทรุดตัวของดิน แผนที่แสดงแหล่งแร่ ฯลฯ
		 -	 แผนที่เชิงปริมาณ (Quantitative maps) เช่น แผนที่แสดงปริมาณน�้ำฝน แผนที่ แสดง
จ�ำนวนประชากร แผนทีแสดงอุณหภูมิ ฯลฯ
แผนที่...เรื่องง่าย ๆ ที่ใคร ๆ ต้องรู้...^^
3
ภาพที่ 1 แสดงภูมิภาคของประเทศไทย
เป็นแผนที่ทั่วไป
แหล่งที่มา : http://oss101.ldd.go.th/web_th_
soilseries/INDEX_th_series.htm
ภาพที่ 3 แสดงแหล่งท่องเที่ยว อ.วังน�้ำเขียว
เป็นแผนที่เฉพาะเรื่องเชิงคุณภาพ
แหล่งที่มา : http://reg2.pwa.co.th/Kathin/
travel.html
ภาพที่ 2 แสดงภูมิประเทศของทวีปเอเชีย
เป็นแผนที่ทั่วไป
แหล่งที่มา : http://www.kpsw.ac.th/
teacher/penprapa/page1.htm
ภาพที่ 4 แสดงจ�ำนวนประชากรของประเทศไทย
เป็นแผนที่เฉพาะเรื่องเชิงปริมาณ
แหล่งที่มา : http://service.nso.go.th/nso/
nsopublish/servGis/servGpop01.html
4
	 การอ่านและการแปลความหมายของแผนที่
	
	 ในการอ่านและแปลความหมายของแผนที่เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดแล้วจ�ำเป็นที่ต้องมีการศึกษา
และท�ำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนที่ ซึ่งเรียกว่า “องค์ประกอบของแผนที่”
	 •	 องค์ประกอบของแผนที่
	 องค์ประกอบของแผนที่ หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่บนแผนที่ซึ่งผู้ผลิตแผนที่จัดแสดงไว้
เพื่อเป็นเครื่องมือให้ผู้ใช้แผนที่ได้ทราบข่าวสารและรายละเอียดอย่างเพียงพอส�ำหรับการใช้แผนที่
อย่างถูกต้องและสะดวกรวดเร็ว
	 แผนที่ที่จัดท�ำขึ้นเพื่อแสดงพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเรียกว่า “ระวาง” ในแต่ละระวางมีองค์ประกอบ
ของแผนที่ 3 ส่วน คือ 1. เส้นขอบระวาง 2. องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง 3. องค์ประกอบภายใน
ขอบระวาง ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
	 1.	 เส้นขอบระวาง คือ เส้นที่แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน คือ พื้นที่ภายในขอบระวางและพื้นที่
ภายนอกขอบระวาง โดยเส้นขอบระวางแต่ละด้านจะมีตัวเลขบอกค่าพิกัดกริดและค่าพิกัดภูมิศาสตร์
หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
	 2. 	องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง คือ รายละเอียดและค�ำอธิบายสิ่งต่าง ๆ เกี่ยวกับแผนที่
และข้อมูลการผลิตแผนที่ ซึ่งอยู่นอกเส้นขอบระวางแผนที่ทั้ง 4 ด้าน ประกอบไปด้วย
		 - 	 ชื่อชุดแผนที่และมาตราส่วน
		 - 	 ชื่อระวาง
		 - 	 มาตราส่วนแผนที่คือสิ่งที่บอกให้ทราบถึงอัตราส่วนระหว่างระยะทางในแผนที่กับระยะ
ในภูมิประเทศจริง
		 - 	 ศัพทานุกรม คือ ค�ำอธิบายศัพท์ส�ำคัญที่ปรากฏในแผนที่โดยเรียงล�ำดับตามตัวอักษร
	 3. 	องค์ประกอบภายในของระวาง คือ รายละเอียดต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเส้นขอบระวางแผนที่
ส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบภายนอกขอบระวาง ซึ่งมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
		 3.1		สัญลักษณ์ (Symbol) เครื่องหมายหรือสิ่งที่คิดขึ้นใช้แทนรายละเอียดต่าง ๆ ที่ปรากฏ
อยู่บนผิวโลกเพื่อถ่ายทอดลงบนแผนที่ หรือใช้แทนข้อมูลอื่นใดที่ประสงค์จะแสดงลงบนแผ่นแผนที่
นั้น ซึ่งสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในแผนที่ จ�ำแนกออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
				-		 สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางกายภาพ (Physical Features) เช่น ภูเขา ทะเล
แม่น�้ำ ที่ราบ ฯลฯ ซึ่งอาจแสดงด้วยเส้นจุดการแรเงาหนาทึบหรือรูปร่างต่าง ๆ
				- 		 สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางวัฒนธรรม (Cultural Features) ใช้แสดงสิ่งต่าง ๆ
ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ เช่น บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตรกรรม เขื่อน อ่างเก็บน�้ำ
5
เส้นทางคมนาคมขนส่ง วัด ฯลฯ อาจใช้รูปสี่เหลี่ยม วงกลม และอื่น ๆ ที่สื่อความหมาย เพื่อให้เป็นที่
เข้าใจและจดจ�ำได้โดยง่าย
				- 		 สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะ ข้อมูลเฉพาะเรื่องหรือข้อมูลพิเศษเป็นสัญลักษณ์ที่คิด
ขึ้นเพื่อใช้แสดงแทนข้อมูลที่ผู้ผลิตต้องการแสดงเป็นพิเศษ เช่น แผนที่โครงสร้างทางธรณีวิทยา แผนที่
แสดงข้อมูลทางด้านสาธารณสุข เช่น พื้นที่แพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ โดยใช้สัญลักษณ์เป็นรูป
สัตว์หรืออื่น ๆ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจและจดจ�ำได้โดยง่าย
		 3.2		สี (Color) การใช้สีในแผนที่จ�ำแนกความแตกต่างของลักษณะภูมิประเทศ ทั้งที่เป็น
พื้นดินและพื้นน�้ำ สีที่นิยมใช้ในแผนที่ มีดังนี้
			 •	 พื้นดิน ก�ำหนดสีแสดงลักษณะภูมิประเทศได้ ดังนี้
				 - 	 สีขาว	 แสดง	 ภูเขาที่มีหิมะปกคลุม
				 - 	 สีน�้ำตาล	 แสดง	 ภูเขาสูงมาก
				 - 	 สีเหลือง	 แสดง	 เป็นเขาหรือที่สูง
				 - 	 สีเหลืองเข้ม	 แสดง	 ภูเขาสูง
				 - 	 สีเขียว	 แสดง	 ที่ราบต�่ำ	 พืช
				 - 	 สีแดงหรือด�ำ	 แสดง 	 สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
			 • 	 พื้นน�้ำ สีที่นิยมใช้เพื่อบ่งบอกความลึกของแหล่งน�้ำ ดังนี้
				 - 	 สีน�้ำเงิน 	 แสดง	 แหล่งน�้ำ ทะเลหรือมหาสมุทรลึก
				 - 	 สีฟ้าอ่อน	 แสดง	 ไหล่ทวีปหรือเขตทะเลตื้น
				 - 	 สีน�้ำเงินเข้ม	 แสดง	 น่านน�้ำที่มีความลึกมาก
		 3.3 	ชื่อภูมิศาสตร์ (Geographic name) เป็นตัวอักษรก�ำกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่แสดงไว้
ในขอบระวางแผนที่เพื่อแจ้งให้ทราบว่าสถานที่นั้นหรือสิ่งนั้นมีชื่อเรียกว่าอะไร
		 3.4 	ระบบอ้างอิงในการก�ำหนดต�ำแหน่ง (Position Reference System) ได้แก่ เส้นหรือ
ตารางที่แสดงไว้ในแผ่นแผนที่ เพื่อใช้ในการก�ำหนดค่าพิกัดของต�ำแหน่งต่าง ๆ ที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ
	 		 - 	 พิกัดภูมิศาสตร์(GeographicCoordinates)เป็นการบอกต�ำแหน่งบนพื้นโลกด้วย
วิธีการอ้างอิงต�ำแหน่งเป็นค่าระยะเชิงมุมของละติจูด (Latitude) และลองจิจูด (Longitude) ซึ่งอาจ
แสดงเป็นเส้นยาวจดขอบระวางแผนที่หรือเป็นเส้นกากบาท
	 		 - 	 ละติจูด (Latitude) เกิดจากมุมที่วัดจากระนาบในแนวนอนที่ศูนย์สูตรของโลก
ไปตามระนาบแนวตั้ง เมื่อสมมติให้ระนาบในแนวนอนติดกับผิวโลกท�ำให้เกิดรอยตัดที่ผิวโลกเป็น
ศูนย์สูตร ละติจูดแต่ละเส้นมีความยาวไม่เท่ากัน เส้นที่ยาวที่สุดคือ เส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีค่าเท่ากับ
0 องศา ส่วนละติจูดที่อยู่ใกล้ขั้วโลก ซึ่งมีค่าเท่ากับ 90 องศา เส้นละติจูดที่อยู่ใกล้ขั้วโลกจะสั้นมาก
จนเป็นจุดที่ขั้วโลก ซึ่งมีค่าเท่ากับ 90 องศา เส้นละติจูดที่อยู่ทางซีกโลกเหนือมีหน่วยเป็นองศาเหนือ
ส่วนเส้นละติจูดที่อยู่ซีกโลกใต้มีหน่วยเป็นองศาใต้
6
		 	 - 	 ลองจิจูด (Longitude) เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ เกิด
จากมุมที่วัดจากระนาบแนวตั้งไปตามระนาบแนวนอนที่ศูนย์สูตรของโลก เมื่อสมมติให้ระนาบแนวตั้ง
ติดกับผิวโลก ท�ำให้เกิดรอยตัดที่ผิวโลกเป็นเส้นวงกลมในแนวตั้ง เรียกว่า เส้นเมริเดียน ซึ่งแต่ละเส้น
จะมีความยาวเท่ากันหมด แต่ในการอ่านค่าให้ก�ำหนดเส้นเมริเดียนที่ลากผ่านเมืองกรีนิช ประเทศ
อังกฤษ ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0 องศา เป็นเส้นเมริเดียนเริ่มแรก (Prime Meridian) เส้นเมริเดียนด้าน
ตะวันออกของเมืองกรีนิช เรียกว่า เส้นเมริเดียนตะวันออก มีค่า 0-180 องศา ส่วนเมริเดียนด้าน
ตะวันตกของเมืองกรีนิช เรียกว่า เส้นเมริเดียนตะวันตก มีค่า 0-180 องศาเท่ากัน ดังนั้น เส้นเมริเดียน
180 องศาตะวันตกและเส้นเมริเดียน 180 องศาตะวันออก จึงเป็นเส้นเดียวกัน และอยู่ตรงข้าม
เส้นเมริเดียนหลักพอดี เรียกว่า “เส้นวันที่สากล”
			 - 	 พิกัดฉาก (Rectangular Coordinates) ได้แก่ เส้นขนาน 2 ชุด ที่มีระยะห่าง
เท่า ๆ กัน ตัดกันเป็นสี่เหลี่ยมมุมฉาก
	 4. 	ชื่อของแผนที่ คือ ชื่อที่บอกให้ทราบถึงชนิดของแผนที่นั้น ๆ เช่น แผนที่แสดงภูมิภาคของ
ประเทศไทย
	 5. 	ทิศ ซึ่งโดยปกติจะก�ำหนดให้ส่วนบนของแผนที่เป็นทิศเหนือ ส่วนล่างเป็นทิศใต้ ด้านขวา
ของแผนที่เป็นทิศตะวันออก และด้านซ้ายของแผนที่เป็นทิศตะวันตก
	 •	 ประโยชน์ของแผนที่
	 แผนที่มีประโยชน์ในการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ดังนี้
		 - 	 ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น ใช้แสดงเส้นทางคมนาคม
		 - 	 ใช้อธิบายลักษณะทางกายภาพ เช่น ภูเขา แม่น�้ำ ทะเล มหาสมุทร เพื่อศึกษาลักษณะ
และกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนเปลือกโลก เช่น การกัดกร่อน การทับถม
		 - 	 ใช้ในการรายงานปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น แผนที่แสดงอุณหภูมิ
		 - 	 ใช้เพื่อศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ความสัมพันธ์ของลักษณะทาง
กายภาพกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ รวมถึงลักษณะของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม 	
		 - 	 ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนสร้างระบบสาธารณูปโภค เช่น การวางสายไฟการสร้าง
เขื่อน วางท่อประปา
		 - 	 ใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น แผนที่แสดงความหนาแน่น
ของประชากร แผนที่แสดงแหล่งปลูกพืชเศรษฐกิจ
		 - 	 ใช้ในกิจการทหาร โดยน�ำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์ เช่น การเลือกที่ตั้ง
ค่ายทหาร การทิ้งระเบิดโจมตีทางอากาศ
		 - 	 ใช้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเช่นใช้เป็นข้อมูลในการส�ำรวจและปักปันเขตแดน
7
		 - 	 ใช้ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพื้นที่ เช่น ศึกษาชนิด คุณภาพและการกระจายดิน ธรณี
วิทยา ป่าไม้
		 - 	 ใช้ในด้านการท่องเที่ยว ด้านการวางแผนเดินทางหรือเลือกสถานที่ท่องเที่ยวได้สะดวก
		 - 	 ใช้ในด้านการเรียนการสอน เป็นเครื่องมือหรือสื่อการเรียนรู้ที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดความ
สนใจในบทเรียนทางด้านภูมิศาสตร์
เครื่องมือและอุปกรณ์ในการศึกษาข้อมูลภูมิศาสตร์
	 รีโมตเซนซิง (Remote Sensing) หรือการส�ำรวจข้อมูลระยะไกล
		
	 •	 รีโมตเซนซิง (Remote Sensing) หรือการส�ำรวจข้อมูลระยะไกล คือ ระบบส�ำรวจบันทึก
ข้อมูลเกี่ยวกับผิวโลกด้วยเครื่องรับรู้ที่ติดไว้กับจานดาวเทียมหรือเครื่องบิน เครื่องรับรู้ตรวจจับคลื่น
พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อนจากวัตถุบนผิวโลกหรือตรวจจับคลื่นที่ส่งไปและสะท้อนกลับมา หลัง
จากนั้นมีการแปลงข้อมูลเชิงตัวเลขซึ่งน�ำไปใช้แสดงเป็นภาพและท�ำแผนที่
ภาพที่ 5 แสดงกระบวนการรีโมตเซนซิง
แหล่งที่มา : http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=2641
8
	 ซึ่งข้อมูลที่ได้จากรีโมตเซนซิงในที่นี้หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายภาพทางเครื่องบินในระดับ
ต�่ำที่เรียกว่า “รูปถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograph)” และข้อมูลที่ได้จากการบันทึกภาพจาก
ดาวเทียมในระดับสูง เรียกกว่า “ภาพจากดาวเทียม (Satellite Image)”
	 •	 รูปถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograph)
	 รูปถ่ายทางอากาศ หมายถึง ภาพพื้นผิวโลกที่ถ่ายหรือบันทึกในระยะไกล โดยใช้เครื่องบินใน
การถ่ายภาพเป็นหลัก แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของข้อมูลในพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้าง (หน่วยงานที่
รับผิดชอบการผลิตรูปถ่ายทางอากาศคือ กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม)
	 รูปถ่ายทางอากาศ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
	 - 	 รูปถ่ายดิ่ง เป็นรูปถ่ายโดยใช้แกนกล้องอยู่ในแนวดิ่ง หรือเกือบจะดิ่งกับพื้นผิวของลักษณะ
บนพื้นโลก สามารถน�ำมาศึกษาหรือดูภาพในลักษณะ 3 มิติได้
ภาพที่ 6 แสดงรูปถ่ายทางอากาศแนวดิ่ง
แหล่งที่มา : http://portal.rotfaithai.com/modules.php?
name=Forums&file=viewtopic&t=2953&postdays=0&postorder=asc&start=190
	 - 	 รูปถ่ายเฉียง เป็นรูปที่ถ่ายโดยให้แกนกล้องเอียงจากแนวดิ่ง มี 2 ชนิด คือ รูปถ่ายเฉียงสูง
เป็นรูปถ่ายที่สามารถมองเห็นขอบฟ้าบนรูปถ่ายและรูปถ่ายเฉียงต�่ำเป็นรูปถ่ายที่ไม่ปรากฏขอบฟ้าบน
รูปถ่าย
9
	 - 	 ลักษณะของรูปถ่ายทางอากาศ
		 - 	 รูปถ่ายทางอากาศโดยทั่วไปมีขนาด 9 x 9 นิ้ว มีทั้งภาพสีและขาวด�ำ
		 - 	 รูปถ่ายทางอากาศถ่ายจากเครื่องบิน โดยมีกล้องถ่ายรูปติดอยู่ใต้เครื่องบิน
		 - 	 รูปถ่ายทางอากาศทุกภาพจะมีส่วนเหลื่อมหน้า (Overlap) ประมาณร้อยละ 60 และมี
ส่วนเหลื่อมข้าง (Side lap) ประมาณร้อยละ 20-30 ของรูป เพื่อให้สามารถใช้ศึกษาข้อมูลด้วยกล้อง
3 มิติได้
	 - 	 วิธีการศึกษาข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศ
	 การศึกษาข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศ สามารถท�ำได้ 2 วิธี คือ
		 - 	 ศึกษาด้วยตาเปล่า โดยเหมาะกับการศึกษาพื้นที่ที่ไม่ซับซ้อน มีลักษณะเป็นพื้นราบ
และมีมาตราส่วนขนาดใหญ่
		 - 	 ศึกษาด้วยกล้อง 3 มิติ เป็นกล้องประเภทเลนส์คู่ ผู้ใช้สามารถปรับระยะเลนส์ให้
เหมาะสมกับสายตาของแต่ละคนได้ โดยใช้รูปถ่าย 2 ใบที่ถ่ายต่อเนื่องกันและถ่ายซ้อนกัน ท�ำให้เห็น
ความสูง-ต�่ำของข้อมูล เหมาะกับการศึกษาลักษณะภูมิประเทศที่มีความสูง-ต�่ำ
ภาพที่ 7 แสดงรูปถ่ายทางอากาศแนวเฉียง
แหล่งที่มา : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2503106100/01.htm
10
	 - 	 หลักเกณฑ์ในการแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศ
		 - 	 รูปถ่ายทางอากาศที่ใช้ต้องเป็นรูปถ่ายที่ถ่ายต่อเนื่องกันและบนแนวบินเดียวกัน ถ่าย
ตอนท้องฟ้าโปร่ง ไม่มีเมฆบัง
		 - 	 การใช้กล้อง 3 มิติ ต้องเป็นผู้ที่มีสายตาปกติ
		 - 	 โต๊ะหรือพื้นที่ที่วางกล้อง 3 มิติต้องเป็นแนวราบ และมีแสงสว่าง
		 - 	 หลักการแปลความหมายต้องให้ผลใกล้เคียงกับสภาพจริงบนพื้นที่ให้มากที่สุด
		 - 	 ต้องอาศัยความรู้จากหลาย ๆ ด้านมาช่วยในการแปลภาพและวิเคราะห์ เช่น ปริมาณ
ฝน ลักษณะอากาศ
		 - 	 ต้องมีการออกสนามเพื่อนตรวจสอบความถูกต้องตามพื้นที่จริงในปัจจุบัน
	 - 	 ประโยชน์ของรูปถ่ายทางอากาศ
		 - 	 ด้านการวางผังเมือง ท�ำให้เห็นรายละเอียดภาพรวมของการใช้ที่ดินในเมือง เช่น ตึก
อาคารบ้านเมือง สถานที่ราชการ รวมถึงพื้นที่รกร้างว่างเปล่า
		 - 	 ด้านเกษตรกรรม ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ที่ดินในด้านเกษตรกรรมในรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น ท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำส่วน ท�ำให้สามารถตรวจสอบพืชแต่ละชนิดในแต่ละพื้นที่ได้
		 - 	 ด้านอุตสาหกรรม ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมในเขต
พื้นที่ต่างๆที่อาจน�ำไปใช้เป็นแนวทางเพื่อก�ำหนดการพัฒนาหรือแก้ปัญหาต่างๆด้านอุตสาหกรรมได้
		 - 	 ด้านบริการ ท�ำให้ได้ข้อมูลของสถานที่และสิ่งก่อสร้าง สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ห้าง
สรรพสินค้า ศูนย์การค้า ศูนย์บริการด้านการท่องเที่ยว สถานีต�ำรวจ ฯลฯ เพื่อใช้ข้อมูลการก�ำหนด
ขอบเขตในการวางแผนพัฒนาสถานที่ต่าง ๆ ต่อไป
		 - 	 ด้านป่าไม้ ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดป่าไม้ ชนิดพืช สภาวะของป่าไม้ ขนาดพื้นที่ป่าไม้
ฯลฯ
		 - 	 ด้านแหล่งน�้ำ ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับขนาดพื้นที่แหล่งน�้ำ ปริมาณน�้ำ มลพิษในน�้ำ
ความอุดมสมบูรณ์ของน�้ำ (สัตว์และพืชน�้ำ) รวมทั้งการค้นหาแหล่งน�้ำใต้ดิน
		 - 	 ด้านการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการใช้ที่ดินและสิ่งแวดล้อม
ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อท�ำไร่เลื่อนลอย ผลเสียจากธรรมชาติ (แผ่นดินถล่ม
อุทกภัย แผนดินไหว สินามิ ฯลฯ)
		 - 	 ใช้ในการท�ำแผนที่ ท�ำข้อมูลไปใช้ท�ำแผนที่ใหม่หรือปรับปรุงแผนที่เก่า
	 •	 ภาพถ่ายจากดาวเทียม (Satellite Image)
	 ภาพถ่ายจากดาวเทียม หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลพื้นผิวโลกเป็นการถ่ายภาพใน
ระยะไกล โดยเฉพาะการส�ำรวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก การพัฒนาด้านยานพาหนะดาวเทียม
การสื่อสารและเทคโนโลยีต่าง ๆ ช่วยให้ภาพถ่ายดาวเทียมมีความละเอียดสูงขึ้น สามารถศึกษาได้ด้วย

More Related Content

What's hot

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
nasomyon13
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่Freedom Soraya
 
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
FlookBoss Black
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
parinya poungchan
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
I30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้าI30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้า
คุณครูพี่อั๋น
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่นการขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
Chingchai Humhong
 
แนวปฏิบัติการจัดงาน
แนวปฏิบัติการจัดงานแนวปฏิบัติการจัดงาน
แนวปฏิบัติการจัดงานkrutip
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือsuchinmam
 
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
FURD_RSU
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....นายจักราวุธ คำทวี
 
คำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.docคำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.docPochchara Tiamwong
 
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบสังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบThanawat Krajaejun
 

What's hot (20)

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
 
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
I30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้าI30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้า
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่นการขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
 
แนวปฏิบัติการจัดงาน
แนวปฏิบัติการจัดงานแนวปฏิบัติการจัดงาน
แนวปฏิบัติการจัดงาน
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 203 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
 
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
 
คำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.docคำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
 
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบสังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 

Similar to 9789740332930

ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySunt Uttayarath
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
Projection
ProjectionProjection
Projection
lakth
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศmungmat
 
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
KruNistha Akkho
 
เกม+แผนที่
เกม+แผนที่เกม+แผนที่
เกม+แผนที่0619874120
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วนNut Seraphim
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
ทับทิม เจริญตา
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
warayut promrat
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
SAKANAN ANANTASOOK
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
Chonlakan Kuntakalang
 

Similar to 9789740332930 (20)

ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum Library
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
Projection
ProjectionProjection
Projection
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
 
เกม+แผนที่
เกม+แผนที่เกม+แผนที่
เกม+แผนที่
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
TRAPPIST-1
TRAPPIST-1TRAPPIST-1
TRAPPIST-1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

9789740332930

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ ตัวชี้วัด ส.5.1 ม.4-6/1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และน�ำ เสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สาระการเรียนรู้ 1. แผนที่และการแปลความหมายแผนที่ 2. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการศึกษาข้อมูลภูมิศาสตร์ 2.1 รีโมตเซนซิง หรือการส�ำรวจข้อมูลระยะไกล - รูปถ่ายทางอากาศ - ภาพจากดาวเทียม 2.2 อุปกรณ์ในการศึกษาข้อมูลภูมิศาสตร์ 3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ 1 “..ถ้าเราติดกระดุมเม็ดแรกผิด เม็ดต่อไปมันก็ ผิดหมด...” การอ่านหนังสือก็เหมือนกัน ต้องเริ่ม ต้นให้ดีตั้งแต่หน่วยแรก แล้วหน่วยต่อไปก็จะดี ด้วย... บอกตรง ๆ ลองมาแล้ว
  • 2. 2 แผนที่และการแปลความหมายแผนที่ ความหมายของแผนที่ พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของแผนที่ไว้ว่า “แผนที่” คือ สื่อรูปแบบหนึ่งที่ถ่ายทอดข้อมูลของโลกในรูปของกราฟิก โดยการย่อส่วนให้เล็กลง ด้วยมาตรฐาน ส่วนต่าง ๆ และเส้นโค้งแผนที่แบบต่าง ๆ ให้เข้าใจตรงตามวัตถุประสงค์ด้วยการใช้สัญลักษณ์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า “แผนที่” คือ เครื่องมือการสื่อสารข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่แสดงถึงข้อมูล ต�ำแหน่งที่ตั้งและการกระจายของลักษณะทางธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยน�ำองค์ประกอบ ของลักษณะต่าง ๆ มาแสดงบนพื้นราบด้วยการย่อส่วนให้เล็กลงตามขนาดที่ต้องการ และใช้สี เส้น เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ทิศทาง และมาตราส่วนที่ก�ำหนดขึ้นมาแทนสิ่งที่ปรากฏอยู่บนผิวโลก ประเภทของแผนที่ ปัจจุบันแผนที่สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ • แผนที่ทั่วไป (General maps) เป็นแผนที่พื้นฐานที่ใช้ส�ำหรับสร้างแผนที่พิเศษและใช้ใน การปฏิบัติงานทั่วไป มี 2 แบบ คือ - แผนที่ทางราบ (Planimetric maps) เป็นแผนที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในลักษณะ แบบราบเท่านั้น ใช้ในการหาต�ำแหน่งและหาระยะห่างบนพื้นที่ - แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic maps) เป็นแผนที่ที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ เช่น แม่น�้ำ ล�ำคลอง หนองบึง ทะเลสาบ ภูเขา ฯลฯ • แผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic maps) เป็นแผนที่ที่สร้างขึ้นจากแผนที่พื้นฐาน เพื่อใช้ ในกิจกรรมเฉพาะเรื่อง มี 2 แบบ คือ - แผนที่เชิงคุณภาพ (Qualitative maps) เช่น แผนที่แสดงแหล่งท่องเที่ยวและการ เดินทาง แผนที่แสดงการทรุดตัวของดิน แผนที่แสดงแหล่งแร่ ฯลฯ - แผนที่เชิงปริมาณ (Quantitative maps) เช่น แผนที่แสดงปริมาณน�้ำฝน แผนที่ แสดง จ�ำนวนประชากร แผนทีแสดงอุณหภูมิ ฯลฯ แผนที่...เรื่องง่าย ๆ ที่ใคร ๆ ต้องรู้...^^
  • 3. 3 ภาพที่ 1 แสดงภูมิภาคของประเทศไทย เป็นแผนที่ทั่วไป แหล่งที่มา : http://oss101.ldd.go.th/web_th_ soilseries/INDEX_th_series.htm ภาพที่ 3 แสดงแหล่งท่องเที่ยว อ.วังน�้ำเขียว เป็นแผนที่เฉพาะเรื่องเชิงคุณภาพ แหล่งที่มา : http://reg2.pwa.co.th/Kathin/ travel.html ภาพที่ 2 แสดงภูมิประเทศของทวีปเอเชีย เป็นแผนที่ทั่วไป แหล่งที่มา : http://www.kpsw.ac.th/ teacher/penprapa/page1.htm ภาพที่ 4 แสดงจ�ำนวนประชากรของประเทศไทย เป็นแผนที่เฉพาะเรื่องเชิงปริมาณ แหล่งที่มา : http://service.nso.go.th/nso/ nsopublish/servGis/servGpop01.html
  • 4. 4 การอ่านและการแปลความหมายของแผนที่ ในการอ่านและแปลความหมายของแผนที่เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดแล้วจ�ำเป็นที่ต้องมีการศึกษา และท�ำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนที่ ซึ่งเรียกว่า “องค์ประกอบของแผนที่” • องค์ประกอบของแผนที่ องค์ประกอบของแผนที่ หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่บนแผนที่ซึ่งผู้ผลิตแผนที่จัดแสดงไว้ เพื่อเป็นเครื่องมือให้ผู้ใช้แผนที่ได้ทราบข่าวสารและรายละเอียดอย่างเพียงพอส�ำหรับการใช้แผนที่ อย่างถูกต้องและสะดวกรวดเร็ว แผนที่ที่จัดท�ำขึ้นเพื่อแสดงพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเรียกว่า “ระวาง” ในแต่ละระวางมีองค์ประกอบ ของแผนที่ 3 ส่วน คือ 1. เส้นขอบระวาง 2. องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง 3. องค์ประกอบภายใน ขอบระวาง ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. เส้นขอบระวาง คือ เส้นที่แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน คือ พื้นที่ภายในขอบระวางและพื้นที่ ภายนอกขอบระวาง โดยเส้นขอบระวางแต่ละด้านจะมีตัวเลขบอกค่าพิกัดกริดและค่าพิกัดภูมิศาสตร์ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง 2. องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง คือ รายละเอียดและค�ำอธิบายสิ่งต่าง ๆ เกี่ยวกับแผนที่ และข้อมูลการผลิตแผนที่ ซึ่งอยู่นอกเส้นขอบระวางแผนที่ทั้ง 4 ด้าน ประกอบไปด้วย - ชื่อชุดแผนที่และมาตราส่วน - ชื่อระวาง - มาตราส่วนแผนที่คือสิ่งที่บอกให้ทราบถึงอัตราส่วนระหว่างระยะทางในแผนที่กับระยะ ในภูมิประเทศจริง - ศัพทานุกรม คือ ค�ำอธิบายศัพท์ส�ำคัญที่ปรากฏในแผนที่โดยเรียงล�ำดับตามตัวอักษร 3. องค์ประกอบภายในของระวาง คือ รายละเอียดต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเส้นขอบระวางแผนที่ ส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบภายนอกขอบระวาง ซึ่งมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 3.1 สัญลักษณ์ (Symbol) เครื่องหมายหรือสิ่งที่คิดขึ้นใช้แทนรายละเอียดต่าง ๆ ที่ปรากฏ อยู่บนผิวโลกเพื่อถ่ายทอดลงบนแผนที่ หรือใช้แทนข้อมูลอื่นใดที่ประสงค์จะแสดงลงบนแผ่นแผนที่ นั้น ซึ่งสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในแผนที่ จ�ำแนกออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ - สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางกายภาพ (Physical Features) เช่น ภูเขา ทะเล แม่น�้ำ ที่ราบ ฯลฯ ซึ่งอาจแสดงด้วยเส้นจุดการแรเงาหนาทึบหรือรูปร่างต่าง ๆ - สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางวัฒนธรรม (Cultural Features) ใช้แสดงสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ เช่น บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตรกรรม เขื่อน อ่างเก็บน�้ำ
  • 5. 5 เส้นทางคมนาคมขนส่ง วัด ฯลฯ อาจใช้รูปสี่เหลี่ยม วงกลม และอื่น ๆ ที่สื่อความหมาย เพื่อให้เป็นที่ เข้าใจและจดจ�ำได้โดยง่าย - สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะ ข้อมูลเฉพาะเรื่องหรือข้อมูลพิเศษเป็นสัญลักษณ์ที่คิด ขึ้นเพื่อใช้แสดงแทนข้อมูลที่ผู้ผลิตต้องการแสดงเป็นพิเศษ เช่น แผนที่โครงสร้างทางธรณีวิทยา แผนที่ แสดงข้อมูลทางด้านสาธารณสุข เช่น พื้นที่แพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ โดยใช้สัญลักษณ์เป็นรูป สัตว์หรืออื่น ๆ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจและจดจ�ำได้โดยง่าย 3.2 สี (Color) การใช้สีในแผนที่จ�ำแนกความแตกต่างของลักษณะภูมิประเทศ ทั้งที่เป็น พื้นดินและพื้นน�้ำ สีที่นิยมใช้ในแผนที่ มีดังนี้ • พื้นดิน ก�ำหนดสีแสดงลักษณะภูมิประเทศได้ ดังนี้ - สีขาว แสดง ภูเขาที่มีหิมะปกคลุม - สีน�้ำตาล แสดง ภูเขาสูงมาก - สีเหลือง แสดง เป็นเขาหรือที่สูง - สีเหลืองเข้ม แสดง ภูเขาสูง - สีเขียว แสดง ที่ราบต�่ำ พืช - สีแดงหรือด�ำ แสดง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น • พื้นน�้ำ สีที่นิยมใช้เพื่อบ่งบอกความลึกของแหล่งน�้ำ ดังนี้ - สีน�้ำเงิน แสดง แหล่งน�้ำ ทะเลหรือมหาสมุทรลึก - สีฟ้าอ่อน แสดง ไหล่ทวีปหรือเขตทะเลตื้น - สีน�้ำเงินเข้ม แสดง น่านน�้ำที่มีความลึกมาก 3.3 ชื่อภูมิศาสตร์ (Geographic name) เป็นตัวอักษรก�ำกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่แสดงไว้ ในขอบระวางแผนที่เพื่อแจ้งให้ทราบว่าสถานที่นั้นหรือสิ่งนั้นมีชื่อเรียกว่าอะไร 3.4 ระบบอ้างอิงในการก�ำหนดต�ำแหน่ง (Position Reference System) ได้แก่ เส้นหรือ ตารางที่แสดงไว้ในแผ่นแผนที่ เพื่อใช้ในการก�ำหนดค่าพิกัดของต�ำแหน่งต่าง ๆ ที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ - พิกัดภูมิศาสตร์(GeographicCoordinates)เป็นการบอกต�ำแหน่งบนพื้นโลกด้วย วิธีการอ้างอิงต�ำแหน่งเป็นค่าระยะเชิงมุมของละติจูด (Latitude) และลองจิจูด (Longitude) ซึ่งอาจ แสดงเป็นเส้นยาวจดขอบระวางแผนที่หรือเป็นเส้นกากบาท - ละติจูด (Latitude) เกิดจากมุมที่วัดจากระนาบในแนวนอนที่ศูนย์สูตรของโลก ไปตามระนาบแนวตั้ง เมื่อสมมติให้ระนาบในแนวนอนติดกับผิวโลกท�ำให้เกิดรอยตัดที่ผิวโลกเป็น ศูนย์สูตร ละติจูดแต่ละเส้นมีความยาวไม่เท่ากัน เส้นที่ยาวที่สุดคือ เส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0 องศา ส่วนละติจูดที่อยู่ใกล้ขั้วโลก ซึ่งมีค่าเท่ากับ 90 องศา เส้นละติจูดที่อยู่ใกล้ขั้วโลกจะสั้นมาก จนเป็นจุดที่ขั้วโลก ซึ่งมีค่าเท่ากับ 90 องศา เส้นละติจูดที่อยู่ทางซีกโลกเหนือมีหน่วยเป็นองศาเหนือ ส่วนเส้นละติจูดที่อยู่ซีกโลกใต้มีหน่วยเป็นองศาใต้
  • 6. 6 - ลองจิจูด (Longitude) เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ เกิด จากมุมที่วัดจากระนาบแนวตั้งไปตามระนาบแนวนอนที่ศูนย์สูตรของโลก เมื่อสมมติให้ระนาบแนวตั้ง ติดกับผิวโลก ท�ำให้เกิดรอยตัดที่ผิวโลกเป็นเส้นวงกลมในแนวตั้ง เรียกว่า เส้นเมริเดียน ซึ่งแต่ละเส้น จะมีความยาวเท่ากันหมด แต่ในการอ่านค่าให้ก�ำหนดเส้นเมริเดียนที่ลากผ่านเมืองกรีนิช ประเทศ อังกฤษ ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0 องศา เป็นเส้นเมริเดียนเริ่มแรก (Prime Meridian) เส้นเมริเดียนด้าน ตะวันออกของเมืองกรีนิช เรียกว่า เส้นเมริเดียนตะวันออก มีค่า 0-180 องศา ส่วนเมริเดียนด้าน ตะวันตกของเมืองกรีนิช เรียกว่า เส้นเมริเดียนตะวันตก มีค่า 0-180 องศาเท่ากัน ดังนั้น เส้นเมริเดียน 180 องศาตะวันตกและเส้นเมริเดียน 180 องศาตะวันออก จึงเป็นเส้นเดียวกัน และอยู่ตรงข้าม เส้นเมริเดียนหลักพอดี เรียกว่า “เส้นวันที่สากล” - พิกัดฉาก (Rectangular Coordinates) ได้แก่ เส้นขนาน 2 ชุด ที่มีระยะห่าง เท่า ๆ กัน ตัดกันเป็นสี่เหลี่ยมมุมฉาก 4. ชื่อของแผนที่ คือ ชื่อที่บอกให้ทราบถึงชนิดของแผนที่นั้น ๆ เช่น แผนที่แสดงภูมิภาคของ ประเทศไทย 5. ทิศ ซึ่งโดยปกติจะก�ำหนดให้ส่วนบนของแผนที่เป็นทิศเหนือ ส่วนล่างเป็นทิศใต้ ด้านขวา ของแผนที่เป็นทิศตะวันออก และด้านซ้ายของแผนที่เป็นทิศตะวันตก • ประโยชน์ของแผนที่ แผนที่มีประโยชน์ในการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ดังนี้ - ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น ใช้แสดงเส้นทางคมนาคม - ใช้อธิบายลักษณะทางกายภาพ เช่น ภูเขา แม่น�้ำ ทะเล มหาสมุทร เพื่อศึกษาลักษณะ และกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนเปลือกโลก เช่น การกัดกร่อน การทับถม - ใช้ในการรายงานปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น แผนที่แสดงอุณหภูมิ - ใช้เพื่อศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ความสัมพันธ์ของลักษณะทาง กายภาพกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ รวมถึงลักษณะของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม - ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนสร้างระบบสาธารณูปโภค เช่น การวางสายไฟการสร้าง เขื่อน วางท่อประปา - ใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น แผนที่แสดงความหนาแน่น ของประชากร แผนที่แสดงแหล่งปลูกพืชเศรษฐกิจ - ใช้ในกิจการทหาร โดยน�ำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์ เช่น การเลือกที่ตั้ง ค่ายทหาร การทิ้งระเบิดโจมตีทางอากาศ - ใช้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเช่นใช้เป็นข้อมูลในการส�ำรวจและปักปันเขตแดน
  • 7. 7 - ใช้ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพื้นที่ เช่น ศึกษาชนิด คุณภาพและการกระจายดิน ธรณี วิทยา ป่าไม้ - ใช้ในด้านการท่องเที่ยว ด้านการวางแผนเดินทางหรือเลือกสถานที่ท่องเที่ยวได้สะดวก - ใช้ในด้านการเรียนการสอน เป็นเครื่องมือหรือสื่อการเรียนรู้ที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดความ สนใจในบทเรียนทางด้านภูมิศาสตร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการศึกษาข้อมูลภูมิศาสตร์ รีโมตเซนซิง (Remote Sensing) หรือการส�ำรวจข้อมูลระยะไกล • รีโมตเซนซิง (Remote Sensing) หรือการส�ำรวจข้อมูลระยะไกล คือ ระบบส�ำรวจบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับผิวโลกด้วยเครื่องรับรู้ที่ติดไว้กับจานดาวเทียมหรือเครื่องบิน เครื่องรับรู้ตรวจจับคลื่น พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อนจากวัตถุบนผิวโลกหรือตรวจจับคลื่นที่ส่งไปและสะท้อนกลับมา หลัง จากนั้นมีการแปลงข้อมูลเชิงตัวเลขซึ่งน�ำไปใช้แสดงเป็นภาพและท�ำแผนที่ ภาพที่ 5 แสดงกระบวนการรีโมตเซนซิง แหล่งที่มา : http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=2641
  • 8. 8 ซึ่งข้อมูลที่ได้จากรีโมตเซนซิงในที่นี้หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายภาพทางเครื่องบินในระดับ ต�่ำที่เรียกว่า “รูปถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograph)” และข้อมูลที่ได้จากการบันทึกภาพจาก ดาวเทียมในระดับสูง เรียกกว่า “ภาพจากดาวเทียม (Satellite Image)” • รูปถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograph) รูปถ่ายทางอากาศ หมายถึง ภาพพื้นผิวโลกที่ถ่ายหรือบันทึกในระยะไกล โดยใช้เครื่องบินใน การถ่ายภาพเป็นหลัก แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของข้อมูลในพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้าง (หน่วยงานที่ รับผิดชอบการผลิตรูปถ่ายทางอากาศคือ กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม) รูปถ่ายทางอากาศ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ - รูปถ่ายดิ่ง เป็นรูปถ่ายโดยใช้แกนกล้องอยู่ในแนวดิ่ง หรือเกือบจะดิ่งกับพื้นผิวของลักษณะ บนพื้นโลก สามารถน�ำมาศึกษาหรือดูภาพในลักษณะ 3 มิติได้ ภาพที่ 6 แสดงรูปถ่ายทางอากาศแนวดิ่ง แหล่งที่มา : http://portal.rotfaithai.com/modules.php? name=Forums&file=viewtopic&t=2953&postdays=0&postorder=asc&start=190 - รูปถ่ายเฉียง เป็นรูปที่ถ่ายโดยให้แกนกล้องเอียงจากแนวดิ่ง มี 2 ชนิด คือ รูปถ่ายเฉียงสูง เป็นรูปถ่ายที่สามารถมองเห็นขอบฟ้าบนรูปถ่ายและรูปถ่ายเฉียงต�่ำเป็นรูปถ่ายที่ไม่ปรากฏขอบฟ้าบน รูปถ่าย
  • 9. 9 - ลักษณะของรูปถ่ายทางอากาศ - รูปถ่ายทางอากาศโดยทั่วไปมีขนาด 9 x 9 นิ้ว มีทั้งภาพสีและขาวด�ำ - รูปถ่ายทางอากาศถ่ายจากเครื่องบิน โดยมีกล้องถ่ายรูปติดอยู่ใต้เครื่องบิน - รูปถ่ายทางอากาศทุกภาพจะมีส่วนเหลื่อมหน้า (Overlap) ประมาณร้อยละ 60 และมี ส่วนเหลื่อมข้าง (Side lap) ประมาณร้อยละ 20-30 ของรูป เพื่อให้สามารถใช้ศึกษาข้อมูลด้วยกล้อง 3 มิติได้ - วิธีการศึกษาข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศ การศึกษาข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศ สามารถท�ำได้ 2 วิธี คือ - ศึกษาด้วยตาเปล่า โดยเหมาะกับการศึกษาพื้นที่ที่ไม่ซับซ้อน มีลักษณะเป็นพื้นราบ และมีมาตราส่วนขนาดใหญ่ - ศึกษาด้วยกล้อง 3 มิติ เป็นกล้องประเภทเลนส์คู่ ผู้ใช้สามารถปรับระยะเลนส์ให้ เหมาะสมกับสายตาของแต่ละคนได้ โดยใช้รูปถ่าย 2 ใบที่ถ่ายต่อเนื่องกันและถ่ายซ้อนกัน ท�ำให้เห็น ความสูง-ต�่ำของข้อมูล เหมาะกับการศึกษาลักษณะภูมิประเทศที่มีความสูง-ต�่ำ ภาพที่ 7 แสดงรูปถ่ายทางอากาศแนวเฉียง แหล่งที่มา : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2503106100/01.htm
  • 10. 10 - หลักเกณฑ์ในการแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศ - รูปถ่ายทางอากาศที่ใช้ต้องเป็นรูปถ่ายที่ถ่ายต่อเนื่องกันและบนแนวบินเดียวกัน ถ่าย ตอนท้องฟ้าโปร่ง ไม่มีเมฆบัง - การใช้กล้อง 3 มิติ ต้องเป็นผู้ที่มีสายตาปกติ - โต๊ะหรือพื้นที่ที่วางกล้อง 3 มิติต้องเป็นแนวราบ และมีแสงสว่าง - หลักการแปลความหมายต้องให้ผลใกล้เคียงกับสภาพจริงบนพื้นที่ให้มากที่สุด - ต้องอาศัยความรู้จากหลาย ๆ ด้านมาช่วยในการแปลภาพและวิเคราะห์ เช่น ปริมาณ ฝน ลักษณะอากาศ - ต้องมีการออกสนามเพื่อนตรวจสอบความถูกต้องตามพื้นที่จริงในปัจจุบัน - ประโยชน์ของรูปถ่ายทางอากาศ - ด้านการวางผังเมือง ท�ำให้เห็นรายละเอียดภาพรวมของการใช้ที่ดินในเมือง เช่น ตึก อาคารบ้านเมือง สถานที่ราชการ รวมถึงพื้นที่รกร้างว่างเปล่า - ด้านเกษตรกรรม ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ที่ดินในด้านเกษตรกรรมในรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น ท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำส่วน ท�ำให้สามารถตรวจสอบพืชแต่ละชนิดในแต่ละพื้นที่ได้ - ด้านอุตสาหกรรม ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมในเขต พื้นที่ต่างๆที่อาจน�ำไปใช้เป็นแนวทางเพื่อก�ำหนดการพัฒนาหรือแก้ปัญหาต่างๆด้านอุตสาหกรรมได้ - ด้านบริการ ท�ำให้ได้ข้อมูลของสถานที่และสิ่งก่อสร้าง สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ห้าง สรรพสินค้า ศูนย์การค้า ศูนย์บริการด้านการท่องเที่ยว สถานีต�ำรวจ ฯลฯ เพื่อใช้ข้อมูลการก�ำหนด ขอบเขตในการวางแผนพัฒนาสถานที่ต่าง ๆ ต่อไป - ด้านป่าไม้ ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดป่าไม้ ชนิดพืช สภาวะของป่าไม้ ขนาดพื้นที่ป่าไม้ ฯลฯ - ด้านแหล่งน�้ำ ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับขนาดพื้นที่แหล่งน�้ำ ปริมาณน�้ำ มลพิษในน�้ำ ความอุดมสมบูรณ์ของน�้ำ (สัตว์และพืชน�้ำ) รวมทั้งการค้นหาแหล่งน�้ำใต้ดิน - ด้านการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการใช้ที่ดินและสิ่งแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อท�ำไร่เลื่อนลอย ผลเสียจากธรรมชาติ (แผ่นดินถล่ม อุทกภัย แผนดินไหว สินามิ ฯลฯ) - ใช้ในการท�ำแผนที่ ท�ำข้อมูลไปใช้ท�ำแผนที่ใหม่หรือปรับปรุงแผนที่เก่า • ภาพถ่ายจากดาวเทียม (Satellite Image) ภาพถ่ายจากดาวเทียม หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลพื้นผิวโลกเป็นการถ่ายภาพใน ระยะไกล โดยเฉพาะการส�ำรวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก การพัฒนาด้านยานพาหนะดาวเทียม การสื่อสารและเทคโนโลยีต่าง ๆ ช่วยให้ภาพถ่ายดาวเทียมมีความละเอียดสูงขึ้น สามารถศึกษาได้ด้วย