SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
เอกสารสําหรับเผยแพรประกอบ
                                               การเลื่อนวิทยฐานะ




                   นางสุจรรยา ชาญสูงเนิน
                 ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการ
โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ๒ อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
      สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครราชสีมา เขต ๓๑
1



                                          คํานํา

         ในการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 รายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง
แผนที่ แ ละเครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร ในกลุ ม สาระการเรี ย นรู สั ง คมศึ ก ษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม นักเรียนยังมีความเขาใจในสาระเนื้อหาวิชายังไมถูกตอง และทําให ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน คอนขางต่ํา
         ครูผูสอนจึงไดหาวิธีการที่จ ะจัดการเรียนการสอนนักเรียนใหมีความเขาใจมากขึ้น
โดยจัดทําสื่อการเรียน การสอนประเภทบทเรียนสําเร็จรูป เพื่อนํามาใชในการจัดการเรียน
การสอนกับนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
         บทเรีย นสําเร็ จ รูปนี้ป ระกอบไปดว ย สาระสําคั ญ มาตรฐานการเรี ยนรู ตัว ชี้วั ด
คําชี้แจง แบบทดสอบกอนเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน กรอบความรู กรอบคําถาม
กรอบเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน และเฉลยแบบทดสอบหลัง เรียน เปน สื่อการสอนที่มี
ประสิ ท ธิ ภ าพ นั ก เรี ย นสามารถศึ ก ษาสรุ ป องค ค วามรู ไ ด ด ว ยตนเอง บรรลุ ผ ลตาม
วัตถุประสงคของมาตรฐานตัว ชี้วัด มีกระบวนการบอกไวครบทุกขั้นตอนใหผูเรียนเขาใจ
ไดงาย เกิดความเพลิดเพลินจากบทเรียนสําเร็จรูปนี้
         ขอขอบคุณทานผูเชี่ยวชาญ ผูอํานวยการโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ๒ และคณะครู
ทุกทานที่ไดกรุณาใหคําปรึกษาแนะนํา และเปนกําลังใจในการจัดทําบทเรียนสําเร็จรูปเรื่องนี้
ดวยดีตลอดมา และหวังเปนอยางยิ่งวาบทเรียนสําเร็จรูปเรื่องนี้จะเปนประโยชนแกนักเรียน
และผูที่สนใจศึกษาแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร

                                                            นางสุจรรยา ชาญสูงเนิน
2
                                บทเรียนสําเร็จรูป
                   รายวิชา สังคมศึกษา รหัส ส 33101 เลมที่ 1
                     เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร




                                        สาระสําคัญ

         แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรมีความสําคัญอยางยิ่งในการเรียนวิชาภูมิศาสตร
อีกทั้งยังมีประโยชนกับงานดานตาง ๆ มากมาย เชน ดานการทหาร ดานการเมืองการปกครอง
ดานเศรษฐกิจและสังคม และดานการทองเที่ยว เปนตน




                            มาตรฐานการเรียนรู
                            ส 5.1 ม. 3/ 1 , 2
                            ส 5.2 ม. 3 / 1 ,2 ,3 , 4
3
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวของ



 มาตรฐาน ส 5.1 :เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ ตระหนักความสัม พัน ธของ
สรรพสิ่ง ที่ปรากฏในระวางแผนที่ซึ่งมีผลตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหาขอมูล ภูมิ- สารสนเทศ อันจะนําไปสูการใช และ
การจัดการอยางมีประสิทธิภาพ
 มาตรฐาน ส 5.2 :เขาใจปฏิสั ม พัน ธร ะหวา งมนุษยกับสภาพแวดลอ มทางกายภาพ
ที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม และมีจิตสํานึกอนุรักษทรัพยากร และสิ่งแวดลอ ม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน




                               จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด


                 1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร
                 2. สามารถใชประโยชนจากแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรได
                 3. รูและเขาใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร
คําแนะนําสําหรับครู                        4



        เมื่อครูผูสอนไดนําบทเรียนสําเร็จรูปไปใชควรปฏิบัติดังนี้


  1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนสําเร็จรูป แลวปฏิบัติตาม
  2. อธิบายถึงความสําคัญและวิธีการเรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูป
  3. สังเกตพฤติกรรมนักเรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรมและใหอิสระแกนักเรียน
     ในการทํากิจกรรม
  4. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลําดับในแผนการจัดการเรียนรู
  5. ครูแจกบทเรียนสําเร็จรูปนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 15 ขอ
  6. นักเรียนศึกษาบทเรียนแลวทําแบบทดสอบกอนเรียน
  7. นักเรียนศึกษาบทเรียนแลวทําแบบทดสอบหลังเรียน
  8. ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม
  9. บันทึกพฤติกรรมของนักเรียนขณะทํากิจกรรม




ขอเสนอแนะ     ครูตองเนนใหนักเรียนมีความซื่อสัตยและมีวินัยในตนเอง
               โดยตองไมแอบดูเฉลยกอนตอบคําถามหรือทําแบบทดสอบ
5


            คําแนะนําในการใชบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับนักเรียน


     บทเรียนสําเร็จรูปฉบับนี้เปนบทเรียนที่นักเรียนใชเรียนวัดความสามารถของนักเรียนเอง
ขอใหนักเรียนอานคําชี้แจงและทําตามคําแนะนําแตละขั้นตอน ตั้งแตตนจนจบแลวนักเรียน
จะไดรับความรูอยางครบถวน ขอใหนักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้

        1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน การทดสอบนี้ เปนการวัดความรูเดิมของนักเรียน
        2. อานจุดประสงค และทําความเขาใจ จะชวยใหนักเรียนรูวาเมื่อจบบทเรียนแลว
นักเรียนจะทําอะไรไดบาง
        3. ศึกษาบทเรียนไมควรขามกรอบ ควรอานและทําทุกกรอบตามลําดับ
        4. ตรวจคําตอบหลังจากทําแบบฝกหัดดวยตนเอง
        5. ไมเปดดูเฉลยกอนทําแบบฝกหัด
        6. ทําแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อเปนการวัดความเขาใจบทเรียนทั้งหมด นักเรียน
           ตองตั้งใจทําเพราะจะทําใหทราบวา นักเรียนไดเรียนรูบทเรียนทั้งหมดหรือไม
        7. นักเรียนทําแบบทดสอบดวยความซื่อสัตย



                                   รีบไปศึกษาบทเรียนกันดีกวา
                                   แตยังไงทําแบบทดสอบกอน
                                      เรียนกันกอนนะครับ...
6
                                 แบบทดสอบกอนเรียน


                         เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร

 คําชี้แจง    จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด แลวทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร
               ก , ข , ค หรือ ง ในกระดาษคําตอบ

1. สิ่งที่แสดงลักษณะของผิวโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
   โดยแสดงบนพื้นผิวราบ และใชเครื่องหมายแทนสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลก
   ขอความนี้หมายถึงสิ่งใด
        ก เข็มทิศ                                  ข แผนที่
        ค แผนผัง                                   ง ลูกโลก
2. แผนที่มีประโยชนตอการศึกษาวิชาใดมากที่สด   ุ
        ก รัฐศาสตร                                ข ภูมิศาสตร
        ค เศรษฐศาสตร                              ง ประวัติศาสตร
3. แผนที่ชนิดใดที่นิยมใชกันมากเพราะมีความสะดวกและงายในการแปลความหมาย
        ก แผนที่ลายเสน                            ข แผนที่ภาพถาย
        ค แผนที่แบบผสม                             ง ขอ ก และ ข ถูก
4. ถาในแผนที่ใชมาตราสวน 1 : 25,000 แสดงวาแผนที่ฉบับนี้เปนแผนที่มาตราสวนใด
        ก แผนที่มาตราสวนเล็ก                      ข แผนที่มาตราสวนยอย
        ค แผนที่มาตราสวนใหญ                      ง แผนที่มาตราสวนปานกลาง
5. ขอใดเปนมาตราสวนแผนที่สําหรับนักการทหาร
        ก 1 : 25,000                               ข 1 : 100,000
        ค 1 : 250,000                              ง 1 : 600,000
7


6. แผนที่ในขอใดเปนแผนที่แสดงปริมาณ
       ก แผนที่แสดงชั้นหินในประเทศไทย
       ข แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศของโลก
       ค แผนที่แสดงชนิดของปาไมของประเทศไทย
       ง แผนที่แสดงจํานวนประชากรของประเทศไทย
7. ขอใดเปนขอเสียของลูกโลก
       ก ไมสะดวกในการพกพา
       ข แสดงรายละเอียดไดนอยกวาแผนที่
       ค ไมสามารถมองเห็นไดรอบทิศทางในเวลาเดียวกัน
       ง ถูกทุกขอ
8. คาลองจิจูดและละติจูด เกี่ยวของกับองคประกอบใดของแผนที่
       ก พิกัด                                        ข ทิศทาง
       ค ชื่อระวาง                                    ง สัญลักษณ

9.                 สัญลักษณนี้ใชแทนสิ่งใดในแผนที่
        ก ถนน                                        ข ทุงนา
        ค พืชไร                                     ง แมน้ํา
10. เจากรมแผนที่ทหารคนแรกของไทยเปน คนชาติใด
        ก ไทย                                        ข อังกฤษ
        ค ฝรั่งเศส                                   ง โปรตุเกส
11. การทําแผนที่ในประเทศไทยเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระมหากษัตริยพระองคใด
        ก พอขุนรามคําแหงมหาราช
        ข สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
        ค สมเด็จพระนารายณมหาราช
        ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
8


12. ขอใดจัดเปนเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
          ก การสัมผัสระยะไกล                         ข ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
          ค ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก              ง ถูกทุกขอ
13. ขอใดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
          ก การนําเขาขอมูลรูปภาพ
          ข การจัดรูปแบบเพื่อจัดทําแผนที่
          ค การแปลงแผนที่เปนขอมูลเชิงตัวเลข
          ง การนําผลที่ไดมานําเสนอในรูปของแผนที่
14. ผูเลือกชนิดของแผนที่ที่ตองการจัดทํา เรียกวาอะไร
          ก ผูอานแผนที่                            ข ผูออกแบบแผนที่
          ค บรรณารักษแผนที่                         ง บรรณาธิการแผนที่
15. ถานักเรียนตองการสืบคนองคกรที่มีสวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ
    โลก ควรเขาไปสืบหาที่เว็บไซตใด
          ก www.unicef.org                           ข www.redcross.org
          ค www.greenpeace.org                       ง www.worldbank.org
9
              เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
       เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร




ขอ 1 ข ขอ 2 ข ขอ 3 ค ขอ 4 ค         ขอ 5 ง

   ขอ 6 ง     ขอ 7 ง   ขอ 8 ก ขอ 9 ค

     ขอ 10 ข ขอ 11 ง ขอ 12 ง

             ขอ 13 ค ขอ 14 ง

                  ขอ 15 ค
10
   กรอบที่ 1 ความหมายของแผนที่




                 แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map1.html

       พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมายของแผนที่ไววา
“แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกทั้งที่มีอยูตามธรรมชาติและที่ปรุงแตงขึ้น โดย
                                         1
แสดงลงในพื้นแบนราบ ดวยการยอใหเล็กลงตามขนาดที่ตองการและอาศัยเครื่องหมายกับ
สัญลักษณที่กําหนดขึ้น”




                            แผนที่ หมายถึง การนําเอารูปภาพสิ่ง ตางๆ บนพื้นผิวโลก (Earth
                   surface) มายอ สว นใหเ ล็กลง แลว นํามาเขียนลงบนกระดาษแผน ราบ
                   สิ่ง ตา งๆ บนพื้น โลกประกอบไปด ว ยสิ่ง ที่เ กิด ขึ้น เองตามธรรมชาติ
                   (nature) และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น (manmade) สิ่งเหลานี้แสดงบนแผนที่
                   โดยใชสี เสนหรือรูปรางตางๆ ที่เปนสัญลักษณแทน



           คําถามกรอบที่ 1 แผนที่ คือ .....................................
                                                                              เฉลยหนาตอไป
11
                                 เฉลยกรอบที่ 1 “แผนที่ คือ สิ่งทีแสดงลักษณะของพื้นผิวโลก
                                                                   ่
                                 ทั้งที่มีอยูตามธรรมชาติและที่ปรุงแตงขึ้น โดยแสดงลงในพื้นแบนราบ
                                 ดวยการยอใหเล็กลงตามขนาดที่ตองการและอาศัยเครื่องหมายกับ
                                 สัญลักษณที่กําหนดขึ้น”



     กรอบที่ 2 การจําแนกชนิดของแผนที่


การจําแนกชนิดของแผนที่
      ปจจุบันการจําแนกชนิดของแผนที่ อาจจําแนกไดหลายแบบแลวแตจะยึดถือสิ่งใด
เปนหลักในการจําแนก เชน
    1. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามลักษณะที่ปรากฏบนแผนที่
    2. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามขนาดของมาตราสวน
    3. การจําแนกชนิดแผนที่ตามลักษณะการใชงานและชนิดของรายละเอียดที่แสดงไว
       ในแผนที่
1. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามลักษณะที่ปรากฏบนแผนที่ แบงไดเปน 3 ชนิด คือ
       1.1 แผนที่ลายเสน ( Line Map ) เปนแผนที่แสดงรายละเอียดในพื้นที่ดวยเสนและ
องคประกอบของเสน ซึ่งอาจเปนเสนตรง เสนโคง ทอนเสน หรือเสนใดๆ ที่ประกอบเปน
รูปแบบตางๆ
                         ตัวอยางแผนที่ลายเสน ( Line Map )




           แหลงที่มาของภาพ: http://www.salecommunityweb.co.uk/map.htm
12

1.2 แผนที่ภาพถาย ( Photo Map ) เปนแผนที่ซึ่งมีรายละเอียดในแผนที่ที่ไดจากการถายภาพ
ดวยกลองถายภาพ ซึ่งอาจถายภาพจากเครื่องบินหรือดาวเทียม


                                                  ตัวอยางแผนที่ภาพถายทางอากาศ




              แหลงที่มาของภาพ : http://www.kru-aoy.com/map2-13.html

1.3 แผนที่แบบผสม ( Annotated Map ) เปนแบบที่ผสมระหวางแผนที่ลายเสนกับแผนที่
ภาพถาย
  ตัวอยางแผนที่แบบผสม ( Annotated Map )




              แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map2-14.html
13

2. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามขนาดของมาตราสวน

      2.1 แบงมาตราสวนสําหรับนักภูมิศาสตร
              2.1.1 แผนที่มาตราสวนเล็ก ไดแก แผนที่มาตราสวนเล็กวา 1:1,000,000
              2.1.2 แผนที่มาตราสวนกลาง ไดแก แผนที่มาตราสวนตั้งแต 1:250,000 ถึง
              1:1,000,000
              2.1.3 แผนที่มาตราสวนใหญ ไดแก แผนที่มาตราสวนใหญกวา 1:250,000

      2.2 แบงมาตราสวนสําหรับนักการทหาร
              2.2.1 แผนที่มาตราสวนเล็ก ไดแก แผนที่มาตราสวน 1:600,000 และเล็กกวา
              2.2.2 แผนที่มาตราสวนกลาง ไดแก แผนที่มาตราสวนใหญกวา 1:600,000 แต
              เล็กกวา 1:75,000
              2.2.3 แผนที่มาตราสวนใหญ ไดแก แผนที่มาตราสวนตั้งแต 1:75,000 และ
              ใหญกวา


     ตัวอยางแผนที่ มาตราสวน 1:1,000,000




          แหลงที่มาของภาพ: http://www.tecnamaircraft.co.uk/location.htm
14

3. การจําแนกชนิดแผนที่ตามลักษณะการใชงานและชนิดของรายละเอียดที่แสดงไวในแผนที่
       3.1 แผนที่ทั่วไป (General Map) เปนแผนที่พื้นฐานที่ใชอยูทั่วไปหรือที่เรียกวา Base
map
           3.1.1 แผนที่แสดงแบนราบ (Planimetric Map)
           3.1.2 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map)
       3.2 แผนที่พิเศษ (Special Map or Thematic Map)

                        ตัวอยางแผนที่แบนราบ (Planimetric Map)




               แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map2-31.html

                      ตัวอยางแผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map)




        แหลงที่มาของภาพ: http://vulcan.wr.usgs.gov/Volcanoes/CraterLake/Maps/
                              map_crater_lake_topo.html
15

4. การจําแนกตามมาตรฐานของสมาคมคารโตกราฟฟระหวางประเทศ(ICA) สมาคม
คารโตกราฟฟระหวางประเทศ ไดจําแนกชนิดแผนที่ออกเปน 3 ชนิด
       4.1 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic map)
       4.2 ชารตและแผนที่เสนทาง (Charts and road map)
       4.3 แผนที่พิเศษ (Thematic and special map) เชน แผนที่ดิน แผนที่ประชากร แผนที่
       พืชพรรณธรรมชาติ แผนที่ธรณีวิทยา เปนตน



   ตัวอยางแผนที่เสนทาง
  (Charts and road map)




                  แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map2-41.html

ตัวอยางแผนที่พิเศษ (Thematic and special map)
แผนที่เศรษฐกิจ: แสดงการกระจายของประชากร




                                                           แหลงที่มาของภาพ:
                                              http://www.kru-aoy.com/map2-42.html
16




                 หมายเลข 1                           หมายเลข 2




                                       หมายเลข 3

คําถามกรอบที่ 2 มาทบทวนกันหนอยนะ
ครับวาภาพที่เห็นเปนแผนทีชนิดอะไร่
หมายเลข 1คือ ...................................
หมายเลข 2 คือ ....................................
หมายเลข 3 คือ....................................




                                                                 เฉลยหนาตอไป
17
                                                         เฉลยกรอบที่ 2 หมายเลข 1 คือ แผนที่ภาพถาย
                                                                        หมายเลข 2 คือ แผนที่ภูมิประเทศ
                                                                        หมายเลข 3 คือ แผนที่พิเศษ



        กรอบที่ 3 ลูกโลกจําลอง

          ลูกโลกจําลอง เปน สิ่ง ที่ม นุษยสรางขึ้น เพื่อ จําลองลักษณะของโลก แสดงที่ตั้ง
อาณาเขต พรมแดนของประเทศตางๆ และลูกโลกจําลองยังสามารถใชเ ปน สื่อ การเรียน
เกี่ ยวกั บโลก รูป ทรงของโลกมี รูป ทรงกลมคลา ยลูก ฟุ ตบอล เนื่ อ งจากโลกอยูห า งจาก
ดวงอาทิ ต ย 147,152 ล า นกิ โ ลเมตร โลกมี เ ส น ผ า นศู น ยก ลางที่ เ ส น ศูน ย สู ต รยาว12,756
กิ โ ล เม ต ร แ ล ะมี เ ส นผ า ศู น ย ก ลา ง จา ก ขั้ วโ ล กเ ห นื อถึ ง ขั้ ว โ ล ก ใ ต ยา ว 12,714
กิโ ลเมตร จึง เห็น ไดวารูปรางของโลกไมเ ปน ทรงกลมอยางแทจริง แตจ ะมีลักษณะแบน
เล็กนอย ทางดานขั้ว โลกเหนือและขั้ว โลกใต บนผิวโลกจะมีองคประกอบหลัก 2 สว น
คือ สวนที่เปนพื้นน้ํา ไดแก มหาสมุทรตางๆมีเนื้อที่รวมกัน 227 ลานตารางกิโลเมตร และ
สวนที่เปน แผนดิน ไดแก ทวีปและเกาะต างๆมีเนื้อ ที่รวมกัน 90 ลานตารางกิโลเมตร
โดยคิดสัดสวนพื้นน้ําเปน 3 ใน 4 สวนและเปนแผนดิน 1 ใน 4 สวน



                                                 องคประกอบของลูกโลกจําลอง มีหลายแบบตาม
                                           วัตถุประสงคของการแสดง ซึ่งอาจแบงไดเปน 2 แบบ
                                           คือ
                                               1. ลูกโลกแสดงลักษณะผิวโลก
                                               2. สวนที่เปนแผนดิน



แหลงที่มาของภาพ: http://school.obec.go.th/sawananan/eteacher49/kanokrat/c1.htm
18




    แหลงที่มาของภาพ: http://jakkrit-geography1.blogspot.com/

   ลูกโลกแบงไดเปน 2 แบบ แบบแรก คือ ลูกโลกที่แสดงสวนที่เปนพื้นผิวโลก
เชน แสดงสวนที่เปนพื้นน้ํา ไดแก ทะเลและมหาสมุทร แสดงสวนที่เปนพื้นดิน
ไดแก เกาะ ทวีป ประเทศ แบบที่สอง คือ ลูกโลกที่แสดงโครงสรางภายในเปลือก
โลก




                         คําถามกรอบที่ 3 ลูกโลกแบงออกไดเปนกี่แบบกันครับ
                               ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ




                                                         เฉลยหนาตอไป
19

                                                เฉลยกรอบที่ 3 ขอ ข 2 แบบ



 กรอบที่ 4 องคประกอบของแผนที่



                                      องคประกอบที่สําคัญของแผนที่
                                      มีดังนี้
                                            ชื่อชุดแผนที่

                                            ทิศทางแผนที่

                                            ขอบระวางแผนที่

                                            เสนโครงแผนที่

                                            พิกัดภูมิศาสตร

                                            สัญลักษณ

                                            มาตราสวน




1. ชื่อชุดแผนที่ THAILAND ประเทศไทย 1:5,000 จะปรากฏอยูมุมซายดานบน
   ของแผนที่
20

        2. ระวางแผนที่ คือ ความกวาง ความยาวของแผนที่ ระวางแผนที่จะใหญหรือเล็ก
ขึ้นอยูกับมาตราสวนของแผนที่
        3. พิกัดทางภูมิศาสตร คือ การบอกตําแหนงของพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยใช
คาละติจูดและลองจิจูด




แหลงที่มาของภาพ: http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Map-constitution1.htm


 4. มาตราสวนของแผนที่ คือ อัตราสวนเปรียบเทียบระหวางระยะทางในแผนที่กับ
ระยะทางจริงในภูมิประเทศ
21


      5. สัญลักษณ หรือ เครื่องหมาย คือ รายละเอียดของสิ่งตาง ๆ บนพื้นผิวโลกที่แสดง
ลงบนแผนที่ แบงออกเปน 5 จําพวก
        5.1 แหลงน้ํา เชน ลําธาร แมน้ํา หนอง บึง ที่ลุมชายฝง
        5.2 สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เชน ถนน ทางรถไฟ อาคาร ฯลฯ
        5.3 ลักษณะพื้นที่สูง ๆ ต่ํา ๆ เชน เขา ภูเขา
        5.4 พืชพรรณ เชน ปา สวน ไรนา                             แทนสนามบิน
        5.5 สิ่งที่กําหนดขึ้นเปนพิเศษ เชน แหลงทรัพยากร




       แหลงที่มาของภาพ: http://202.143.144.83/~natty/map/symbol_map.htm
6. สีที่ใชในแผนที่ ที่แสดงรายละเอียดบนแผนที่ สีที่ใชเปนมาตรฐาน มี 6 สี
        6.1 สีดํา ใชแสดงรายละเอียดที่เกิดจากแรงงานของมนุษย เชน วัด โรงเรียน หมูบาน
        6.2 สีแดง ใชเปนสัญลักษณที่เปนถนน
        6.3 สีน้ําเงิน ใชเปนสัญลักษณที่เปนน้ํา เชน แมน้ํา ลําคลอง บึง ทะเล ฯลฯ
        6.4 สีน้ําตาล ใชเปนสัญลักษณที่เกี่ยวกับความสูงและทรวดทรงของพื้นที่สูงๆ ต่ําๆ
        6.5 สีเขียว ใชเปนสัญลักษณที่เกี่ยวกับที่ราบ ปาไม  บริเวณที่ทําการเพาะปลูก
พืชสวน
        6.6 สีเหลือง ใชเปนสัญลักษณที่เกี่ยวกับที่ราบสูง
        6.7 สีอื่น ๆ บางโอกาสอาจใชสีอื่นนอกจากที่กลาวมาเพื่อแสดงรายละเอียดพิเศษ
บางอยางรายละเอียดเหลานี้จะมีบงไว ในรายละเอียดในแผนที่
22

        8. ทิศ ในแผนที่จ ะระบุทิ ศเหนื อ ไว เ สมอ เพื่อ ใหอ านแผนที่ไ ดงายขึ้น ในกรณี
ที่แผนที่ไมไดระบุทิศไว ใหเขาใจวาเมื่อหันหนา เขาหาแผนที่ ดานบนทางขั้วโลกเหนือคือ
ทิศเหนือ ดานที่หัน ไปทางขั้ว โลกใตเ ปน ทิศใต ดานขวามือ เปน ทิศตะวัน ออก และดาน
ซายมือเปนทิศตะวันตก




   แหลงที่มาของภาพ: http://ecurriculum.mv.ac.th/social/social/m4/sara5/unit2/lesson1/
                     map1/geo02_4.html




                            คําถามทายกรอบที่ 4 สัญลักษณนี้              ใชแทน
                            อะไรในแผนที่
                                    ก. ถนน ข. แมน้ํา ค. เขตรถไฟ ง. อางเก็บน้ํา




                                                                    เฉลยหนาตอไป
23
                                                                        เฉลยกรอบที่ 4 ข.แมน้ํา



  กรอบที่ 5 ขอจํากัดของแผนที่

1. เนื่องจากพื้นที่โลกหลายแหงมีลักษณะที่เปน "ขอมูล" จํานวนมาก
เนื่องมีความซับซอนสูง โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตเมือง ดังนั้น การแสดงสัญลักษณ
จํานวนมาก เพื่อจําลองความซับซอนเหลานั้นลงในแผนที่นั้น จะสรางความ
สับสนในการใชแผนที่มากขึ้น เนื่องจากมี "ขอมูล" จํานวนมาก กวาที่สมองของ
มนุษยจะรับทราบและวิเคราะหได


2. เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา "ขอมูล" ทั้งสวนที่เปนขอมูลของ
สภาพธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น โดยขอมูลเหลานี้แตละประเภทมีอายุ
และวงจรของการเปลี่ยนแปลงแตกตางกัน เชน ปริมาณน้ําอาจเปลี่ยนแปลงไป
ตามฤดูกาล แตเสนทางหรือถนนมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีงบประมาณในการ
ปรับปรุงและพัฒนา เปนตน ดังนัน การที่จะรักษาความทันสมัยของแผนที่ใหตรง
                              ้
กับความเปนจริงบนผิวโลกตลอดเวลา จึงเปนไปไดยากมาก




                      คําถามทายกรอบที่ 5 อะไรเปนสาเหตุที่ทําใหแผนที่
                      ไมตรงกับความเปนจริงหรือไมเปนปจจุบัน
                      .............................................................................
                                    ไมยากเลยใชไหมครับ.....เยี่ยมจริงๆ

                                                                                เฉลยหนาตอไป
เฉลยกรอบที่ 5 การเปลี่ยนแปลง      24
                                                 ของโลกที่มีอยูตลอดเวลา

     กรอบที่ 6 ประโยชนของแผนที่

1. ประโยชนในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศ แผนที่จะทําใหผูศึกษาทราบวาพื้นที่ใด
มีลักษณะภูมิประเทศแบบใดบาง
 2. ประโยชนตอการศึกษาธรณีวิทยา เพื่อใหทราบความเปนมาของแหลงทรัพยากร
ดิน หิน แรธาตุ
3. ประโยชนดานสมุทรศาสตรและการประมง เพื่อใหทราบสภาพแวดลอมชายฝงทาง
ทะเล
4. ประโยชนดานทรัพยากรน้ํา รูขอมูลเกี่ยวกับแมน้ําและการไหล อางเก็บน้ํา ระบบ
การชลประทาน
5. ประโยชนดานปาไม เพื่อใหทราบคุณลักษณะของปาไม และการเปลี่ยนแปลงพื้นที่
ปาไม
 6. ประโยชนดานการใชที่ดิน เพื่อใหทราบปจจัยการใชประโยชนที่ดินดานตางๆ
7. ประโยชนดานการเกษตร การเกษตรมีผลตอการพัฒนาประเทศ เพื่อรูวาบริเวณใด
ควรพัฒนา
8. ประโยชนดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการจัดการทรัพยากรบริเวณตางๆ
9. ประโยชนในการวางผังเมือง เพื่อใชขอมูลทางธรรมชาติในการจัดวางผังเมืองให
เหมาะสม
10. ประโยชนตอการศึกษาโบราณคดี เพื่อคนหาแหลงชุมชนโบราณ และความรูอื่นๆ
11. ประโยชนดานอุตุนิยมวิทยา เพื่อประโยชนในการเพาะปลูก อุตสาหกรรม ประมง
การปองกันอุทกภัย


            คําถามทายกรอบที่ 6
             บอกประโยชนของแผนที่มา 2 ขอ
            ไมยากเกินความสามารถใชไหมคะ
                                                                  เฉลยหนาตอไป
25
                                             เฉลยกรอบที่ 6 ดานการศึกษาธรณีวิทยา
                                                           ดานสิ่งแวดลอม


         กรอบที่ 7 การทําแผนที่


         ในการทําแผนที่ใหถูกทิศทางนั้น จะตองหาทิศเหนือใหไดแนนอนเสียกอน โดย
การใชเข็มทิศ หรือสังเกตจากดวงอาทิตย ซึ่งจะขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศ
ตะวันตกเสมอ ทําใหหาทิศเหนือได
         มาตราสวน เนื่องจากเราตองจําลองเนื้อที่ภูมิประเทศจริงมายอลงบนแผนกระดาษ
ที่เล็กกวา จึงจําเปนตองใชมาตราสวนยอภูมิประเทศจริงลงมาใหเหมาะสมกับแผนกระดาษ
แผนที่อันเดียวกัน ควรใชมาตราสวนเหมือนกันทุกระยะ มาตราสวนจะตองแสดงไวบน
แผนที่ซึ่งตามปกตินิยมเขียนไวดานลางสุดของแผนที่ เชน 1:50,000 หรือ 1/50,000 เปนตน
หมายความวา ถาวัดระยะบนแผนที่ได 1 ซม. หรือ 1 นิ้ว ระยะจริงของภูมิประเทศจะเทากับ
50,000 ซม. หรือ 50,000 นิ้ว การใชมาตราสวนจะตองใหเหมาะสมกับหนากระดาษที่ใชทํา
แผนที่
         เครื่องหมายแผนที่ เปนเครื่องหมายที่สมมติขึ้น เพื่อใชแทนของจริงที่ตองการแสดง
ไวบนแผนที่และตองมีคําอธิบายกํากับไวดวยวา เครื่องหมายนั้นๆแทนอะไรบาง เพื่อให
ผูอานเขาใจงาย ตัวอยางเครื่องหมายเชน

                             แทน แมน้ํา                     แทน สนามบิน

                             แทน อางเก็บน้ํา               แทน สถานีอนามัย
                             แทน ทางรถยนต                   แทน บอน้ําถูกสุขลักษณะ
                             แทน ทางรถไฟ                     แทน บาน

                            การทําแผนที่นี่นาสนุกจังเลย….
                            ตองนําไปทําบางแลวละ
26

        วัน เดือน ป วันเดือนปที่เขียนแผนที่เพื่อเปนหลักฐาน เพราะวาหลาย ๆ ปตอไป
ลักษณะภูมิประเทศอาจเปลี่ยนแปลงได หรือมีไวเพื่อความสะดวกในการเปรียบเทียบการ
เปลี่ยนแปลงของผลงาน เปนตน
        กรอบแผนที่ กรอบแผนที่มีไวเพื่อความสวยงาม และตองใสชื่อผูเขียนแผนที่ไวดวย
เพื่อจะไดทราบวาใครรับผิดชอบ
                        อุปกรณการทําแผนที่
                        1. กระดาษ กระดาษธรรมดาใชทําแผนที่จริง
                        กระดาษแข็งใชรองเขียน และกระดาษกราฟใชทําแผนที่สังเขป
                        2. ดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด ไมฉาก สี ฯลฯ
                        3. เข็มทิศ
                        4. เทปวัดระยะ
    การหาระยะทาง ทําไดดังนี้
    1. ใชเทปวัดระยะ ซึ่งเปนวิธีที่เที่ยงตรงที่สุด
    2. เดินนับกาว วิธีนี้จะตองทราบวา 1 กาวเปนระยะเทาไร
    ควรหาโดยวิธีเฉลี่ยเพื่อความสะดวกในการเขียนแผนที่
    3. ใชรูปสามเหลี่ยมคลาย วิธีนี้เปนการคํานวณหาระยะทาง
    ระหวางจุดสองจุดที่ไมสามารถ จะใชวิธีเดินนับกาวหรือ
    ใชเทปวัดระยะได เชน ความกวางของแมน้ํา ลําคลอง ฯลฯ

        วิธีทําแผนที่ ควรทําตามลําดับดังนี้
        ก. การทําแผนที่หยาบ
        ข. การทําแผนที่จริง
                                              คําถามกรอบที่ 7 การหาระยะทางในการทํา
        ค. การขยายแผนที่
                                              แผนที่วิธีใดที่ถือวาแมนยําและเทียงตรงที่สุด
                                                                                   ่
        ง. การยอแผนที่
                                              นับกาว....ใชรูปสามเหลี่ยม....ใชเทปวัดระยะ
                                              ............ไมยากเลยใชไหมครับ............

                                                                  เฉลยหนาตอไป
เฉลยกรอบที่ 7 ใชเทปวัดระยะ            27


         กรอบที่ 8 เทคโนโลยีทางภูมิศาสตรกับแผนที่


      นอกจากการใชแผนที่ทั่วไปเพื่อศึกษาพื้นที่ในแตละบริเวณแลว ยังมีเครื่องมือ
 ทางภูมิศาสตร และเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่สามารถนํามาใชประโยชนในการหาขอมูล
 เชน การศึกษาภาพถายทางอากาศ ภาพถายจากดาวเทียม เราสามารถคนหาขอมูล
 และสภาวะแวดลอมตางๆ ที่ตองการไดจากเว็บไซตตาง ๆ หรือหาขอมูล จากระบบ
 GIS (Geographic Information System)

ภาพถายทางอากาศ หมายถึง รูปถายของภูมิประเทศที่ไดจากการถายรูปโดยนํากลอง
ถายรูป ขึ้นไปกับอากาศยาน แลวเปดหนากลองปลอยใหแสงสะทอนจากสิ่งทั้งหลายที่
ปรากฏอยูเบื้องลางเขาสูเลนส กลองถายรูป และผานกรรมวิธีลางและอัดภาพ จะไดรูป
ถายที่มีภาพของรายละเอียดอยูบนพื้นผิวภูมิประเทศ ความเขมของสิ่งตางๆ ในรูปถาย
ทางอากาศ จะบอกถึงความแตกตางกันทั้งทางดานภูมิศาสตรกายภาพ พืชพรรณ
ธรรมชาติ และก็จะเปลี่ยนไปตามฤดูกาล

ภาพถายจากดาวเทียม หมายถึง ภาพถายที่ไดจากการบันทึกขอมูลของดาวเทียม ดวย
อุปกรณ บันทึกขอมูล (Sensor) ดวยการใชคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนสื่อบันทึกขอมูลใน
ลักษณะของชวงคลื่น ขอมูลที่ได จากภาพถายดาวเทียมจะมีประโยชนตอการพัฒนา
ประเทศ และสามารถนําไปประยุกตใชไดในหลาย ๆ สาขา เชน ลักษณะภูมิประเทศ
ธรณีวิทยา การเกษตร สิ่งแวดลอม การวางผังเมือง โบราณคดี อุตุนิยมวิทยา การแกไข
แผนที่ และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร



        คําถามทายกรอบที่ 8 ใหนักเรียนบอกเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่สามารถนํามาใช
        ประโยชนในการหาขอมูลมา 2 วิธี ................................................................
                                                                                  เฉลยหนาตอไป
28
                            เฉลยกรอบที่ 8 การศึกษาภาพถายทางอากาศ
                            ภาพถาย จากดาวเทียม




ศึกษาจบกรอบการเรียนทั้งหมดแลว
ก็ไปทําแบบทดสอบหลังเรียนกันเลยนะ
29
                                 แบบทดสอบหลังเรียน


                         เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร

 คําชี้แจง    จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด แลวทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร
               ก , ข , ค หรือ ง ในกระดาษคําตอบ

1. สิ่งที่แสดงลักษณะของผิวโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
   โดยแสดงบนพื้นผิวราบ และใชเครื่องหมายแทนสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลก
   ขอความนี้หมายถึงสิ่งใด
        ก แผนที่                                   ข เข็มทิศ
        ค แผนผัง                                   ง ลูกโลก
2. แผนที่มีประโยชนตอการศึกษาวิชาใดมากที่สุด
        ก รัฐศาสตร                                ข ภูมิศาสตร
        ค เศรษฐศาสตร                              ง ประวัติศาสตร
3. แผนที่ชนิดใดที่นิยมใชกันมากเพราะมีความสะดวกและงายในการแปลความหมาย
        ก แผนที่ลายเสน                            ข แผนที่ภาพถาย
        ค แผนที่แบบผสม                             ง ขอ ก และ ข ถูก
4. ถาในแผนที่ใชมาตราสวน 1 : 25,000 แสดงวาแผนที่ฉบับนี้เปนแผนที่มาตราสวนใด
        ก แผนที่มาตราสวนเล็ก                      ข แผนที่มาตราสวนยอย
        ค แผนที่มาตราสวนใหญ                      ง แผนที่มาตราสวนปานกลาง
5. ขอใดเปนมาตราสวนแผนที่สําหรับนักการทหาร
        ก 1 : 25,000                               ข 1 : 100,000
        ค 1 : 250,000                              ง 1 : 600,000
30

6. แผนที่ในขอใดเปนแผนที่แสดงปริมาณ
       ก แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศของโลก
       ข แผนที่แสดงชั้นหินในประเทศไทย
       ค แผนที่แสดงชนิดของปาไมของประเทศไทย
       ง แผนที่แสดงจํานวนประชากรของประเทศไทย
7. ขอใดเปนขอเสียของลูกโลก
       ก ไมสะดวกในการพกพา
       ข แสดงรายละเอียดไดนอยกวาแผนที่
       ค ไมสามารถมองเห็นไดรอบทิศทางในเวลาเดียวกัน
       ง ถูกทุกขอ
8. คาลองจิจูดและละติจูด เกี่ยวของกับองคประกอบใดของแผนที่
       ก พิกัด                                   ข ทิศทาง
       ค ชื่อระวาง                               ง สัญลักษณ

9.                  สัญลักษณนี้ใชแทนสิ่งใดในแผนที่
        ก ถนน                                    ข ทุงนา
        ค พืชไร                                 ง แมน้ํา
10. เจากรมแผนที่ทหารคนแรกของไทยเปน คนชาติใด
        ก ไทย                                    ข อังกฤษ
        ค ฝรั่งเศส                               ง โปรตุเกส
11. การทําแผนที่ในประเทศไทยเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระมหากษัตริยพระองคใด
        ก พอขุนรามคําแหงมหาราช
        ข สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
        ค สมเด็จพระนารายณมหาราช
        ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
31

12. ขอใดจัดเปนเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
          ก การสัมผัสระยะไกล                         ข ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
          ค ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก              ง ถูกทุกขอ
13. ขอใดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
          ก การนําเขาขอมูลรูปภาพ
          ข การจัดรูปแบบเพื่อจัดทําแผนที่
          ค การแปลงแผนที่เปนขอมูลเชิงตัวเลข
          ง การนําผลที่ไดมานําเสนอในรูปของแผนที่
14. ผูเลือกชนิดของแผนที่ที่ตองการจัดทํา เรียกวาอะไร
          ก ผูอานแผนที่                            ข ผูออกแบบแผนที่
          ค บรรณาธิการแผนที่                         ง บรรณารักษแผนที่
15. ถานักเรียนตองการสืบคนองคกรที่มีสวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ
    โลก ควรเขาไปสืบหาที่เว็บไซตใด
          ก www.unicef.org                           ข www.redcross.org
          ค www.greenpeace.org                       ง www.worldbank.org




                    เปนไงกันบางครับ!... หวังวาเพื่อน ๆ
                    คงทําแบบทดสอบผานกันหมดทุกคน...
                    เยี่ยมมากเลยนะครับ.....
32
              เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
       เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร




ขอ 1 ก ขอ 2 ข ขอ 3 ค ขอ 4 ค         ขอ 5 ง

   ขอ 6 ง     ขอ 7 ง   ขอ 8 ก ขอ 9 ค

     ขอ 10 ข ขอ 11 ง ขอ 12 ง

             ขอ 13 ค ขอ 14 ค

                  ขอ 15 ค
33
                                   หนังสืออางอิง

กระมล ทองธรรมชาติและคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรู
       สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ม.3. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน,
        2549.
ผองศรี จั่นหาว และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคม
       ศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
       ไทยวัฒนาพานิช, 2549.
ลักขณา คําตรง และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคม
       ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ม.3. กรุงเทพฯ: แม็ค, 2549.
วิชาการ,กรม. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม.
       สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน: กรุงเทพฯ, 2547.
สมมต สมบูรณ, นึก ทองมีเพชร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานภูมิศาสตร ม.3.
       กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2548.
สุคนธ สินธพานนท, จิราภรณ นวลมี. คูมือและแผนการจัดการเรียนรู ส 33101 สังคมศึกษา
       ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน,
        2548.

เว็บไซต
http://www.eduplace.com/ss/maps/s_america.html
http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Ex-america-north.htm
http://www.nationmaster.com/region/NAM#
http://www.worldatlas.com/webimage/countrys/namaps.htm
เล่มที่ 1เผยแพร่

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์FlookBoss Black
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่Freedom Soraya
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือsuchinmam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 

What's hot (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 203 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
 
ความรอบรู้ทั่วไป เตรียมสอบ
ความรอบรู้ทั่วไป เตรียมสอบความรอบรู้ทั่วไป เตรียมสอบ
ความรอบรู้ทั่วไป เตรียมสอบ
 
ความรอบรู้ทั่วไป ยังไม่เฉลย
ความรอบรู้ทั่วไป ยังไม่เฉลยความรอบรู้ทั่วไป ยังไม่เฉลย
ความรอบรู้ทั่วไป ยังไม่เฉลย
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 

Viewers also liked

Scan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScanScan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScanCapture Components LLC
 
Share point 2010 enterprise single server farm installation
Share point 2010 enterprise single server farm installationShare point 2010 enterprise single server farm installation
Share point 2010 enterprise single server farm installationparallelminder
 
Defeating Online Destraction
Defeating Online DestractionDefeating Online Destraction
Defeating Online DestractionRambo Ruiz
 
Digital asset management sharepoint 2010
Digital asset management sharepoint 2010Digital asset management sharepoint 2010
Digital asset management sharepoint 2010parallelminder
 
“Sweetest Love, I do not go” By John Donne
“Sweetest Love, I do not go” By John Donne“Sweetest Love, I do not go” By John Donne
“Sweetest Love, I do not go” By John DonneVadher Ankita
 

Viewers also liked (14)

Scan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScanScan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SharePoint with ccScan
 
Organización de equipos
Organización de equiposOrganización de equipos
Organización de equipos
 
Share point 2010 enterprise single server farm installation
Share point 2010 enterprise single server farm installationShare point 2010 enterprise single server farm installation
Share point 2010 enterprise single server farm installation
 
Score m4 2555(1)
Score m4 2555(1)Score m4 2555(1)
Score m4 2555(1)
 
Cbcs2
Cbcs2Cbcs2
Cbcs2
 
Details all55
Details all55Details all55
Details all55
 
Score test55.2
Score test55.2Score test55.2
Score test55.2
 
Defeating Online Destraction
Defeating Online DestractionDefeating Online Destraction
Defeating Online Destraction
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Digital asset management sharepoint 2010
Digital asset management sharepoint 2010Digital asset management sharepoint 2010
Digital asset management sharepoint 2010
 
Score m456
Score m456Score m456
Score m456
 
“Sweetest Love, I do not go” By John Donne
“Sweetest Love, I do not go” By John Donne“Sweetest Love, I do not go” By John Donne
“Sweetest Love, I do not go” By John Donne
 
Datastudent
DatastudentDatastudent
Datastudent
 
Saraswati - The Mythical River
Saraswati - The Mythical RiverSaraswati - The Mythical River
Saraswati - The Mythical River
 

Similar to เล่มที่ 1เผยแพร่

อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
เกม+แผนที่
เกม+แผนที่เกม+แผนที่
เกม+แผนที่0619874120
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 

Similar to เล่มที่ 1เผยแพร่ (20)

อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
P73240631522
P73240631522P73240631522
P73240631522
 
11
1111
11
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
เกม+แผนที่
เกม+แผนที่เกม+แผนที่
เกม+แผนที่
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 

เล่มที่ 1เผยแพร่

  • 1. เอกสารสําหรับเผยแพรประกอบ การเลื่อนวิทยฐานะ นางสุจรรยา ชาญสูงเนิน ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ๒ อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครราชสีมา เขต ๓๑
  • 2. 1 คํานํา ในการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 รายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง แผนที่ แ ละเครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร ในกลุ ม สาระการเรี ย นรู สั ง คมศึ ก ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม นักเรียนยังมีความเขาใจในสาระเนื้อหาวิชายังไมถูกตอง และทําให ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน คอนขางต่ํา ครูผูสอนจึงไดหาวิธีการที่จ ะจัดการเรียนการสอนนักเรียนใหมีความเขาใจมากขึ้น โดยจัดทําสื่อการเรียน การสอนประเภทบทเรียนสําเร็จรูป เพื่อนํามาใชในการจัดการเรียน การสอนกับนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 บทเรีย นสําเร็ จ รูปนี้ป ระกอบไปดว ย สาระสําคั ญ มาตรฐานการเรี ยนรู ตัว ชี้วั ด คําชี้แจง แบบทดสอบกอนเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน กรอบความรู กรอบคําถาม กรอบเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน และเฉลยแบบทดสอบหลัง เรียน เปน สื่อการสอนที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ นั ก เรี ย นสามารถศึ ก ษาสรุ ป องค ค วามรู ไ ด ด ว ยตนเอง บรรลุ ผ ลตาม วัตถุประสงคของมาตรฐานตัว ชี้วัด มีกระบวนการบอกไวครบทุกขั้นตอนใหผูเรียนเขาใจ ไดงาย เกิดความเพลิดเพลินจากบทเรียนสําเร็จรูปนี้ ขอขอบคุณทานผูเชี่ยวชาญ ผูอํานวยการโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ๒ และคณะครู ทุกทานที่ไดกรุณาใหคําปรึกษาแนะนํา และเปนกําลังใจในการจัดทําบทเรียนสําเร็จรูปเรื่องนี้ ดวยดีตลอดมา และหวังเปนอยางยิ่งวาบทเรียนสําเร็จรูปเรื่องนี้จะเปนประโยชนแกนักเรียน และผูที่สนใจศึกษาแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร นางสุจรรยา ชาญสูงเนิน
  • 3. 2 บทเรียนสําเร็จรูป รายวิชา สังคมศึกษา รหัส ส 33101 เลมที่ 1 เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร สาระสําคัญ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรมีความสําคัญอยางยิ่งในการเรียนวิชาภูมิศาสตร อีกทั้งยังมีประโยชนกับงานดานตาง ๆ มากมาย เชน ดานการทหาร ดานการเมืองการปกครอง ดานเศรษฐกิจและสังคม และดานการทองเที่ยว เปนตน มาตรฐานการเรียนรู ส 5.1 ม. 3/ 1 , 2 ส 5.2 ม. 3 / 1 ,2 ,3 , 4
  • 4. 3 ตัวชี้วัดที่เกี่ยวของ  มาตรฐาน ส 5.1 :เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ ตระหนักความสัม พัน ธของ สรรพสิ่ง ที่ปรากฏในระวางแผนที่ซึ่งมีผลตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหาขอมูล ภูมิ- สารสนเทศ อันจะนําไปสูการใช และ การจัดการอยางมีประสิทธิภาพ  มาตรฐาน ส 5.2 :เขาใจปฏิสั ม พัน ธร ะหวา งมนุษยกับสภาพแวดลอ มทางกายภาพ ที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม และมีจิตสํานึกอนุรักษทรัพยากร และสิ่งแวดลอ ม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด 1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร 2. สามารถใชประโยชนจากแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรได 3. รูและเขาใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร
  • 5. คําแนะนําสําหรับครู 4 เมื่อครูผูสอนไดนําบทเรียนสําเร็จรูปไปใชควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนสําเร็จรูป แลวปฏิบัติตาม 2. อธิบายถึงความสําคัญและวิธีการเรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูป 3. สังเกตพฤติกรรมนักเรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรมและใหอิสระแกนักเรียน ในการทํากิจกรรม 4. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลําดับในแผนการจัดการเรียนรู 5. ครูแจกบทเรียนสําเร็จรูปนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 15 ขอ 6. นักเรียนศึกษาบทเรียนแลวทําแบบทดสอบกอนเรียน 7. นักเรียนศึกษาบทเรียนแลวทําแบบทดสอบหลังเรียน 8. ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม 9. บันทึกพฤติกรรมของนักเรียนขณะทํากิจกรรม ขอเสนอแนะ ครูตองเนนใหนักเรียนมีความซื่อสัตยและมีวินัยในตนเอง โดยตองไมแอบดูเฉลยกอนตอบคําถามหรือทําแบบทดสอบ
  • 6. 5 คําแนะนําในการใชบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับนักเรียน บทเรียนสําเร็จรูปฉบับนี้เปนบทเรียนที่นักเรียนใชเรียนวัดความสามารถของนักเรียนเอง ขอใหนักเรียนอานคําชี้แจงและทําตามคําแนะนําแตละขั้นตอน ตั้งแตตนจนจบแลวนักเรียน จะไดรับความรูอยางครบถวน ขอใหนักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ 1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน การทดสอบนี้ เปนการวัดความรูเดิมของนักเรียน 2. อานจุดประสงค และทําความเขาใจ จะชวยใหนักเรียนรูวาเมื่อจบบทเรียนแลว นักเรียนจะทําอะไรไดบาง 3. ศึกษาบทเรียนไมควรขามกรอบ ควรอานและทําทุกกรอบตามลําดับ 4. ตรวจคําตอบหลังจากทําแบบฝกหัดดวยตนเอง 5. ไมเปดดูเฉลยกอนทําแบบฝกหัด 6. ทําแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อเปนการวัดความเขาใจบทเรียนทั้งหมด นักเรียน ตองตั้งใจทําเพราะจะทําใหทราบวา นักเรียนไดเรียนรูบทเรียนทั้งหมดหรือไม 7. นักเรียนทําแบบทดสอบดวยความซื่อสัตย รีบไปศึกษาบทเรียนกันดีกวา แตยังไงทําแบบทดสอบกอน เรียนกันกอนนะครับ...
  • 7. 6 แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด แลวทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก , ข , ค หรือ ง ในกระดาษคําตอบ 1. สิ่งที่แสดงลักษณะของผิวโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น โดยแสดงบนพื้นผิวราบ และใชเครื่องหมายแทนสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลก ขอความนี้หมายถึงสิ่งใด ก เข็มทิศ ข แผนที่ ค แผนผัง ง ลูกโลก 2. แผนที่มีประโยชนตอการศึกษาวิชาใดมากที่สด ุ ก รัฐศาสตร ข ภูมิศาสตร ค เศรษฐศาสตร ง ประวัติศาสตร 3. แผนที่ชนิดใดที่นิยมใชกันมากเพราะมีความสะดวกและงายในการแปลความหมาย ก แผนที่ลายเสน ข แผนที่ภาพถาย ค แผนที่แบบผสม ง ขอ ก และ ข ถูก 4. ถาในแผนที่ใชมาตราสวน 1 : 25,000 แสดงวาแผนที่ฉบับนี้เปนแผนที่มาตราสวนใด ก แผนที่มาตราสวนเล็ก ข แผนที่มาตราสวนยอย ค แผนที่มาตราสวนใหญ ง แผนที่มาตราสวนปานกลาง 5. ขอใดเปนมาตราสวนแผนที่สําหรับนักการทหาร ก 1 : 25,000 ข 1 : 100,000 ค 1 : 250,000 ง 1 : 600,000
  • 8. 7 6. แผนที่ในขอใดเปนแผนที่แสดงปริมาณ ก แผนที่แสดงชั้นหินในประเทศไทย ข แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศของโลก ค แผนที่แสดงชนิดของปาไมของประเทศไทย ง แผนที่แสดงจํานวนประชากรของประเทศไทย 7. ขอใดเปนขอเสียของลูกโลก ก ไมสะดวกในการพกพา ข แสดงรายละเอียดไดนอยกวาแผนที่ ค ไมสามารถมองเห็นไดรอบทิศทางในเวลาเดียวกัน ง ถูกทุกขอ 8. คาลองจิจูดและละติจูด เกี่ยวของกับองคประกอบใดของแผนที่ ก พิกัด ข ทิศทาง ค ชื่อระวาง ง สัญลักษณ 9. สัญลักษณนี้ใชแทนสิ่งใดในแผนที่ ก ถนน ข ทุงนา ค พืชไร ง แมน้ํา 10. เจากรมแผนที่ทหารคนแรกของไทยเปน คนชาติใด ก ไทย ข อังกฤษ ค ฝรั่งเศส ง โปรตุเกส 11. การทําแผนที่ในประเทศไทยเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระมหากษัตริยพระองคใด ก พอขุนรามคําแหงมหาราช ข สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ค สมเด็จพระนารายณมหาราช ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
  • 9. 8 12. ขอใดจัดเปนเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร ก การสัมผัสระยะไกล ข ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ค ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ง ถูกทุกขอ 13. ขอใดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ก การนําเขาขอมูลรูปภาพ ข การจัดรูปแบบเพื่อจัดทําแผนที่ ค การแปลงแผนที่เปนขอมูลเชิงตัวเลข ง การนําผลที่ไดมานําเสนอในรูปของแผนที่ 14. ผูเลือกชนิดของแผนที่ที่ตองการจัดทํา เรียกวาอะไร ก ผูอานแผนที่ ข ผูออกแบบแผนที่ ค บรรณารักษแผนที่ ง บรรณาธิการแผนที่ 15. ถานักเรียนตองการสืบคนองคกรที่มีสวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ โลก ควรเขาไปสืบหาที่เว็บไซตใด ก www.unicef.org ข www.redcross.org ค www.greenpeace.org ง www.worldbank.org
  • 10. 9 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร ขอ 1 ข ขอ 2 ข ขอ 3 ค ขอ 4 ค ขอ 5 ง ขอ 6 ง ขอ 7 ง ขอ 8 ก ขอ 9 ค ขอ 10 ข ขอ 11 ง ขอ 12 ง ขอ 13 ค ขอ 14 ง ขอ 15 ค
  • 11. 10 กรอบที่ 1 ความหมายของแผนที่ แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map1.html พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมายของแผนที่ไววา “แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกทั้งที่มีอยูตามธรรมชาติและที่ปรุงแตงขึ้น โดย 1 แสดงลงในพื้นแบนราบ ดวยการยอใหเล็กลงตามขนาดที่ตองการและอาศัยเครื่องหมายกับ สัญลักษณที่กําหนดขึ้น” แผนที่ หมายถึง การนําเอารูปภาพสิ่ง ตางๆ บนพื้นผิวโลก (Earth surface) มายอ สว นใหเ ล็กลง แลว นํามาเขียนลงบนกระดาษแผน ราบ สิ่ง ตา งๆ บนพื้น โลกประกอบไปด ว ยสิ่ง ที่เ กิด ขึ้น เองตามธรรมชาติ (nature) และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น (manmade) สิ่งเหลานี้แสดงบนแผนที่ โดยใชสี เสนหรือรูปรางตางๆ ที่เปนสัญลักษณแทน คําถามกรอบที่ 1 แผนที่ คือ ..................................... เฉลยหนาตอไป
  • 12. 11 เฉลยกรอบที่ 1 “แผนที่ คือ สิ่งทีแสดงลักษณะของพื้นผิวโลก ่ ทั้งที่มีอยูตามธรรมชาติและที่ปรุงแตงขึ้น โดยแสดงลงในพื้นแบนราบ ดวยการยอใหเล็กลงตามขนาดที่ตองการและอาศัยเครื่องหมายกับ สัญลักษณที่กําหนดขึ้น” กรอบที่ 2 การจําแนกชนิดของแผนที่ การจําแนกชนิดของแผนที่ ปจจุบันการจําแนกชนิดของแผนที่ อาจจําแนกไดหลายแบบแลวแตจะยึดถือสิ่งใด เปนหลักในการจําแนก เชน 1. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามลักษณะที่ปรากฏบนแผนที่ 2. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามขนาดของมาตราสวน 3. การจําแนกชนิดแผนที่ตามลักษณะการใชงานและชนิดของรายละเอียดที่แสดงไว ในแผนที่ 1. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามลักษณะที่ปรากฏบนแผนที่ แบงไดเปน 3 ชนิด คือ 1.1 แผนที่ลายเสน ( Line Map ) เปนแผนที่แสดงรายละเอียดในพื้นที่ดวยเสนและ องคประกอบของเสน ซึ่งอาจเปนเสนตรง เสนโคง ทอนเสน หรือเสนใดๆ ที่ประกอบเปน รูปแบบตางๆ ตัวอยางแผนที่ลายเสน ( Line Map ) แหลงที่มาของภาพ: http://www.salecommunityweb.co.uk/map.htm
  • 13. 12 1.2 แผนที่ภาพถาย ( Photo Map ) เปนแผนที่ซึ่งมีรายละเอียดในแผนที่ที่ไดจากการถายภาพ ดวยกลองถายภาพ ซึ่งอาจถายภาพจากเครื่องบินหรือดาวเทียม ตัวอยางแผนที่ภาพถายทางอากาศ แหลงที่มาของภาพ : http://www.kru-aoy.com/map2-13.html 1.3 แผนที่แบบผสม ( Annotated Map ) เปนแบบที่ผสมระหวางแผนที่ลายเสนกับแผนที่ ภาพถาย ตัวอยางแผนที่แบบผสม ( Annotated Map ) แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map2-14.html
  • 14. 13 2. การจําแนกชนิดของแผนที่ตามขนาดของมาตราสวน 2.1 แบงมาตราสวนสําหรับนักภูมิศาสตร 2.1.1 แผนที่มาตราสวนเล็ก ไดแก แผนที่มาตราสวนเล็กวา 1:1,000,000 2.1.2 แผนที่มาตราสวนกลาง ไดแก แผนที่มาตราสวนตั้งแต 1:250,000 ถึง 1:1,000,000 2.1.3 แผนที่มาตราสวนใหญ ไดแก แผนที่มาตราสวนใหญกวา 1:250,000 2.2 แบงมาตราสวนสําหรับนักการทหาร 2.2.1 แผนที่มาตราสวนเล็ก ไดแก แผนที่มาตราสวน 1:600,000 และเล็กกวา 2.2.2 แผนที่มาตราสวนกลาง ไดแก แผนที่มาตราสวนใหญกวา 1:600,000 แต เล็กกวา 1:75,000 2.2.3 แผนที่มาตราสวนใหญ ไดแก แผนที่มาตราสวนตั้งแต 1:75,000 และ ใหญกวา ตัวอยางแผนที่ มาตราสวน 1:1,000,000 แหลงที่มาของภาพ: http://www.tecnamaircraft.co.uk/location.htm
  • 15. 14 3. การจําแนกชนิดแผนที่ตามลักษณะการใชงานและชนิดของรายละเอียดที่แสดงไวในแผนที่ 3.1 แผนที่ทั่วไป (General Map) เปนแผนที่พื้นฐานที่ใชอยูทั่วไปหรือที่เรียกวา Base map 3.1.1 แผนที่แสดงแบนราบ (Planimetric Map) 3.1.2 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) 3.2 แผนที่พิเศษ (Special Map or Thematic Map) ตัวอยางแผนที่แบนราบ (Planimetric Map) แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map2-31.html ตัวอยางแผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) แหลงที่มาของภาพ: http://vulcan.wr.usgs.gov/Volcanoes/CraterLake/Maps/ map_crater_lake_topo.html
  • 16. 15 4. การจําแนกตามมาตรฐานของสมาคมคารโตกราฟฟระหวางประเทศ(ICA) สมาคม คารโตกราฟฟระหวางประเทศ ไดจําแนกชนิดแผนที่ออกเปน 3 ชนิด 4.1 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic map) 4.2 ชารตและแผนที่เสนทาง (Charts and road map) 4.3 แผนที่พิเศษ (Thematic and special map) เชน แผนที่ดิน แผนที่ประชากร แผนที่ พืชพรรณธรรมชาติ แผนที่ธรณีวิทยา เปนตน ตัวอยางแผนที่เสนทาง (Charts and road map) แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map2-41.html ตัวอยางแผนที่พิเศษ (Thematic and special map) แผนที่เศรษฐกิจ: แสดงการกระจายของประชากร แหลงที่มาของภาพ: http://www.kru-aoy.com/map2-42.html
  • 17. 16 หมายเลข 1 หมายเลข 2 หมายเลข 3 คําถามกรอบที่ 2 มาทบทวนกันหนอยนะ ครับวาภาพที่เห็นเปนแผนทีชนิดอะไร่ หมายเลข 1คือ ................................... หมายเลข 2 คือ .................................... หมายเลข 3 คือ.................................... เฉลยหนาตอไป
  • 18. 17 เฉลยกรอบที่ 2 หมายเลข 1 คือ แผนที่ภาพถาย หมายเลข 2 คือ แผนที่ภูมิประเทศ หมายเลข 3 คือ แผนที่พิเศษ กรอบที่ 3 ลูกโลกจําลอง ลูกโลกจําลอง เปน สิ่ง ที่ม นุษยสรางขึ้น เพื่อ จําลองลักษณะของโลก แสดงที่ตั้ง อาณาเขต พรมแดนของประเทศตางๆ และลูกโลกจําลองยังสามารถใชเ ปน สื่อ การเรียน เกี่ ยวกั บโลก รูป ทรงของโลกมี รูป ทรงกลมคลา ยลูก ฟุ ตบอล เนื่ อ งจากโลกอยูห า งจาก ดวงอาทิ ต ย 147,152 ล า นกิ โ ลเมตร โลกมี เ ส น ผ า นศู น ยก ลางที่ เ ส น ศูน ย สู ต รยาว12,756 กิ โ ล เม ต ร แ ล ะมี เ ส นผ า ศู น ย ก ลา ง จา ก ขั้ วโ ล กเ ห นื อถึ ง ขั้ ว โ ล ก ใ ต ยา ว 12,714 กิโ ลเมตร จึง เห็น ไดวารูปรางของโลกไมเ ปน ทรงกลมอยางแทจริง แตจ ะมีลักษณะแบน เล็กนอย ทางดานขั้ว โลกเหนือและขั้ว โลกใต บนผิวโลกจะมีองคประกอบหลัก 2 สว น คือ สวนที่เปนพื้นน้ํา ไดแก มหาสมุทรตางๆมีเนื้อที่รวมกัน 227 ลานตารางกิโลเมตร และ สวนที่เปน แผนดิน ไดแก ทวีปและเกาะต างๆมีเนื้อ ที่รวมกัน 90 ลานตารางกิโลเมตร โดยคิดสัดสวนพื้นน้ําเปน 3 ใน 4 สวนและเปนแผนดิน 1 ใน 4 สวน องคประกอบของลูกโลกจําลอง มีหลายแบบตาม วัตถุประสงคของการแสดง ซึ่งอาจแบงไดเปน 2 แบบ คือ 1. ลูกโลกแสดงลักษณะผิวโลก 2. สวนที่เปนแผนดิน แหลงที่มาของภาพ: http://school.obec.go.th/sawananan/eteacher49/kanokrat/c1.htm
  • 19. 18 แหลงที่มาของภาพ: http://jakkrit-geography1.blogspot.com/ ลูกโลกแบงไดเปน 2 แบบ แบบแรก คือ ลูกโลกที่แสดงสวนที่เปนพื้นผิวโลก เชน แสดงสวนที่เปนพื้นน้ํา ไดแก ทะเลและมหาสมุทร แสดงสวนที่เปนพื้นดิน ไดแก เกาะ ทวีป ประเทศ แบบที่สอง คือ ลูกโลกที่แสดงโครงสรางภายในเปลือก โลก คําถามกรอบที่ 3 ลูกโลกแบงออกไดเปนกี่แบบกันครับ ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ เฉลยหนาตอไป
  • 20. 19 เฉลยกรอบที่ 3 ขอ ข 2 แบบ กรอบที่ 4 องคประกอบของแผนที่ องคประกอบที่สําคัญของแผนที่ มีดังนี้  ชื่อชุดแผนที่  ทิศทางแผนที่  ขอบระวางแผนที่  เสนโครงแผนที่  พิกัดภูมิศาสตร  สัญลักษณ  มาตราสวน 1. ชื่อชุดแผนที่ THAILAND ประเทศไทย 1:5,000 จะปรากฏอยูมุมซายดานบน ของแผนที่
  • 21. 20 2. ระวางแผนที่ คือ ความกวาง ความยาวของแผนที่ ระวางแผนที่จะใหญหรือเล็ก ขึ้นอยูกับมาตราสวนของแผนที่ 3. พิกัดทางภูมิศาสตร คือ การบอกตําแหนงของพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยใช คาละติจูดและลองจิจูด แหลงที่มาของภาพ: http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Map-constitution1.htm 4. มาตราสวนของแผนที่ คือ อัตราสวนเปรียบเทียบระหวางระยะทางในแผนที่กับ ระยะทางจริงในภูมิประเทศ
  • 22. 21 5. สัญลักษณ หรือ เครื่องหมาย คือ รายละเอียดของสิ่งตาง ๆ บนพื้นผิวโลกที่แสดง ลงบนแผนที่ แบงออกเปน 5 จําพวก 5.1 แหลงน้ํา เชน ลําธาร แมน้ํา หนอง บึง ที่ลุมชายฝง 5.2 สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เชน ถนน ทางรถไฟ อาคาร ฯลฯ 5.3 ลักษณะพื้นที่สูง ๆ ต่ํา ๆ เชน เขา ภูเขา 5.4 พืชพรรณ เชน ปา สวน ไรนา แทนสนามบิน 5.5 สิ่งที่กําหนดขึ้นเปนพิเศษ เชน แหลงทรัพยากร แหลงที่มาของภาพ: http://202.143.144.83/~natty/map/symbol_map.htm 6. สีที่ใชในแผนที่ ที่แสดงรายละเอียดบนแผนที่ สีที่ใชเปนมาตรฐาน มี 6 สี 6.1 สีดํา ใชแสดงรายละเอียดที่เกิดจากแรงงานของมนุษย เชน วัด โรงเรียน หมูบาน 6.2 สีแดง ใชเปนสัญลักษณที่เปนถนน 6.3 สีน้ําเงิน ใชเปนสัญลักษณที่เปนน้ํา เชน แมน้ํา ลําคลอง บึง ทะเล ฯลฯ 6.4 สีน้ําตาล ใชเปนสัญลักษณที่เกี่ยวกับความสูงและทรวดทรงของพื้นที่สูงๆ ต่ําๆ 6.5 สีเขียว ใชเปนสัญลักษณที่เกี่ยวกับที่ราบ ปาไม  บริเวณที่ทําการเพาะปลูก พืชสวน 6.6 สีเหลือง ใชเปนสัญลักษณที่เกี่ยวกับที่ราบสูง 6.7 สีอื่น ๆ บางโอกาสอาจใชสีอื่นนอกจากที่กลาวมาเพื่อแสดงรายละเอียดพิเศษ บางอยางรายละเอียดเหลานี้จะมีบงไว ในรายละเอียดในแผนที่
  • 23. 22 8. ทิศ ในแผนที่จ ะระบุทิ ศเหนื อ ไว เ สมอ เพื่อ ใหอ านแผนที่ไ ดงายขึ้น ในกรณี ที่แผนที่ไมไดระบุทิศไว ใหเขาใจวาเมื่อหันหนา เขาหาแผนที่ ดานบนทางขั้วโลกเหนือคือ ทิศเหนือ ดานที่หัน ไปทางขั้ว โลกใตเ ปน ทิศใต ดานขวามือ เปน ทิศตะวัน ออก และดาน ซายมือเปนทิศตะวันตก แหลงที่มาของภาพ: http://ecurriculum.mv.ac.th/social/social/m4/sara5/unit2/lesson1/ map1/geo02_4.html คําถามทายกรอบที่ 4 สัญลักษณนี้ ใชแทน อะไรในแผนที่ ก. ถนน ข. แมน้ํา ค. เขตรถไฟ ง. อางเก็บน้ํา เฉลยหนาตอไป
  • 24. 23 เฉลยกรอบที่ 4 ข.แมน้ํา กรอบที่ 5 ขอจํากัดของแผนที่ 1. เนื่องจากพื้นที่โลกหลายแหงมีลักษณะที่เปน "ขอมูล" จํานวนมาก เนื่องมีความซับซอนสูง โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตเมือง ดังนั้น การแสดงสัญลักษณ จํานวนมาก เพื่อจําลองความซับซอนเหลานั้นลงในแผนที่นั้น จะสรางความ สับสนในการใชแผนที่มากขึ้น เนื่องจากมี "ขอมูล" จํานวนมาก กวาที่สมองของ มนุษยจะรับทราบและวิเคราะหได 2. เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา "ขอมูล" ทั้งสวนที่เปนขอมูลของ สภาพธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น โดยขอมูลเหลานี้แตละประเภทมีอายุ และวงจรของการเปลี่ยนแปลงแตกตางกัน เชน ปริมาณน้ําอาจเปลี่ยนแปลงไป ตามฤดูกาล แตเสนทางหรือถนนมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีงบประมาณในการ ปรับปรุงและพัฒนา เปนตน ดังนัน การที่จะรักษาความทันสมัยของแผนที่ใหตรง ้ กับความเปนจริงบนผิวโลกตลอดเวลา จึงเปนไปไดยากมาก คําถามทายกรอบที่ 5 อะไรเปนสาเหตุที่ทําใหแผนที่ ไมตรงกับความเปนจริงหรือไมเปนปจจุบัน ............................................................................. ไมยากเลยใชไหมครับ.....เยี่ยมจริงๆ เฉลยหนาตอไป
  • 25. เฉลยกรอบที่ 5 การเปลี่ยนแปลง 24 ของโลกที่มีอยูตลอดเวลา กรอบที่ 6 ประโยชนของแผนที่ 1. ประโยชนในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศ แผนที่จะทําใหผูศึกษาทราบวาพื้นที่ใด มีลักษณะภูมิประเทศแบบใดบาง 2. ประโยชนตอการศึกษาธรณีวิทยา เพื่อใหทราบความเปนมาของแหลงทรัพยากร ดิน หิน แรธาตุ 3. ประโยชนดานสมุทรศาสตรและการประมง เพื่อใหทราบสภาพแวดลอมชายฝงทาง ทะเล 4. ประโยชนดานทรัพยากรน้ํา รูขอมูลเกี่ยวกับแมน้ําและการไหล อางเก็บน้ํา ระบบ การชลประทาน 5. ประโยชนดานปาไม เพื่อใหทราบคุณลักษณะของปาไม และการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ ปาไม 6. ประโยชนดานการใชที่ดิน เพื่อใหทราบปจจัยการใชประโยชนที่ดินดานตางๆ 7. ประโยชนดานการเกษตร การเกษตรมีผลตอการพัฒนาประเทศ เพื่อรูวาบริเวณใด ควรพัฒนา 8. ประโยชนดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการจัดการทรัพยากรบริเวณตางๆ 9. ประโยชนในการวางผังเมือง เพื่อใชขอมูลทางธรรมชาติในการจัดวางผังเมืองให เหมาะสม 10. ประโยชนตอการศึกษาโบราณคดี เพื่อคนหาแหลงชุมชนโบราณ และความรูอื่นๆ 11. ประโยชนดานอุตุนิยมวิทยา เพื่อประโยชนในการเพาะปลูก อุตสาหกรรม ประมง การปองกันอุทกภัย คําถามทายกรอบที่ 6 บอกประโยชนของแผนที่มา 2 ขอ ไมยากเกินความสามารถใชไหมคะ เฉลยหนาตอไป
  • 26. 25 เฉลยกรอบที่ 6 ดานการศึกษาธรณีวิทยา ดานสิ่งแวดลอม กรอบที่ 7 การทําแผนที่ ในการทําแผนที่ใหถูกทิศทางนั้น จะตองหาทิศเหนือใหไดแนนอนเสียกอน โดย การใชเข็มทิศ หรือสังเกตจากดวงอาทิตย ซึ่งจะขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศ ตะวันตกเสมอ ทําใหหาทิศเหนือได มาตราสวน เนื่องจากเราตองจําลองเนื้อที่ภูมิประเทศจริงมายอลงบนแผนกระดาษ ที่เล็กกวา จึงจําเปนตองใชมาตราสวนยอภูมิประเทศจริงลงมาใหเหมาะสมกับแผนกระดาษ แผนที่อันเดียวกัน ควรใชมาตราสวนเหมือนกันทุกระยะ มาตราสวนจะตองแสดงไวบน แผนที่ซึ่งตามปกตินิยมเขียนไวดานลางสุดของแผนที่ เชน 1:50,000 หรือ 1/50,000 เปนตน หมายความวา ถาวัดระยะบนแผนที่ได 1 ซม. หรือ 1 นิ้ว ระยะจริงของภูมิประเทศจะเทากับ 50,000 ซม. หรือ 50,000 นิ้ว การใชมาตราสวนจะตองใหเหมาะสมกับหนากระดาษที่ใชทํา แผนที่ เครื่องหมายแผนที่ เปนเครื่องหมายที่สมมติขึ้น เพื่อใชแทนของจริงที่ตองการแสดง ไวบนแผนที่และตองมีคําอธิบายกํากับไวดวยวา เครื่องหมายนั้นๆแทนอะไรบาง เพื่อให ผูอานเขาใจงาย ตัวอยางเครื่องหมายเชน แทน แมน้ํา แทน สนามบิน แทน อางเก็บน้ํา  แทน สถานีอนามัย แทน ทางรถยนต แทน บอน้ําถูกสุขลักษณะ แทน ทางรถไฟ แทน บาน การทําแผนที่นี่นาสนุกจังเลย…. ตองนําไปทําบางแลวละ
  • 27. 26 วัน เดือน ป วันเดือนปที่เขียนแผนที่เพื่อเปนหลักฐาน เพราะวาหลาย ๆ ปตอไป ลักษณะภูมิประเทศอาจเปลี่ยนแปลงได หรือมีไวเพื่อความสะดวกในการเปรียบเทียบการ เปลี่ยนแปลงของผลงาน เปนตน กรอบแผนที่ กรอบแผนที่มีไวเพื่อความสวยงาม และตองใสชื่อผูเขียนแผนที่ไวดวย เพื่อจะไดทราบวาใครรับผิดชอบ อุปกรณการทําแผนที่ 1. กระดาษ กระดาษธรรมดาใชทําแผนที่จริง กระดาษแข็งใชรองเขียน และกระดาษกราฟใชทําแผนที่สังเขป 2. ดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด ไมฉาก สี ฯลฯ 3. เข็มทิศ 4. เทปวัดระยะ การหาระยะทาง ทําไดดังนี้ 1. ใชเทปวัดระยะ ซึ่งเปนวิธีที่เที่ยงตรงที่สุด 2. เดินนับกาว วิธีนี้จะตองทราบวา 1 กาวเปนระยะเทาไร ควรหาโดยวิธีเฉลี่ยเพื่อความสะดวกในการเขียนแผนที่ 3. ใชรูปสามเหลี่ยมคลาย วิธีนี้เปนการคํานวณหาระยะทาง ระหวางจุดสองจุดที่ไมสามารถ จะใชวิธีเดินนับกาวหรือ ใชเทปวัดระยะได เชน ความกวางของแมน้ํา ลําคลอง ฯลฯ วิธีทําแผนที่ ควรทําตามลําดับดังนี้ ก. การทําแผนที่หยาบ ข. การทําแผนที่จริง คําถามกรอบที่ 7 การหาระยะทางในการทํา ค. การขยายแผนที่ แผนที่วิธีใดที่ถือวาแมนยําและเทียงตรงที่สุด ่ ง. การยอแผนที่ นับกาว....ใชรูปสามเหลี่ยม....ใชเทปวัดระยะ ............ไมยากเลยใชไหมครับ............ เฉลยหนาตอไป
  • 28. เฉลยกรอบที่ 7 ใชเทปวัดระยะ 27 กรอบที่ 8 เทคโนโลยีทางภูมิศาสตรกับแผนที่ นอกจากการใชแผนที่ทั่วไปเพื่อศึกษาพื้นที่ในแตละบริเวณแลว ยังมีเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร และเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่สามารถนํามาใชประโยชนในการหาขอมูล เชน การศึกษาภาพถายทางอากาศ ภาพถายจากดาวเทียม เราสามารถคนหาขอมูล และสภาวะแวดลอมตางๆ ที่ตองการไดจากเว็บไซตตาง ๆ หรือหาขอมูล จากระบบ GIS (Geographic Information System) ภาพถายทางอากาศ หมายถึง รูปถายของภูมิประเทศที่ไดจากการถายรูปโดยนํากลอง ถายรูป ขึ้นไปกับอากาศยาน แลวเปดหนากลองปลอยใหแสงสะทอนจากสิ่งทั้งหลายที่ ปรากฏอยูเบื้องลางเขาสูเลนส กลองถายรูป และผานกรรมวิธีลางและอัดภาพ จะไดรูป ถายที่มีภาพของรายละเอียดอยูบนพื้นผิวภูมิประเทศ ความเขมของสิ่งตางๆ ในรูปถาย ทางอากาศ จะบอกถึงความแตกตางกันทั้งทางดานภูมิศาสตรกายภาพ พืชพรรณ ธรรมชาติ และก็จะเปลี่ยนไปตามฤดูกาล ภาพถายจากดาวเทียม หมายถึง ภาพถายที่ไดจากการบันทึกขอมูลของดาวเทียม ดวย อุปกรณ บันทึกขอมูล (Sensor) ดวยการใชคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนสื่อบันทึกขอมูลใน ลักษณะของชวงคลื่น ขอมูลที่ได จากภาพถายดาวเทียมจะมีประโยชนตอการพัฒนา ประเทศ และสามารถนําไปประยุกตใชไดในหลาย ๆ สาขา เชน ลักษณะภูมิประเทศ ธรณีวิทยา การเกษตร สิ่งแวดลอม การวางผังเมือง โบราณคดี อุตุนิยมวิทยา การแกไข แผนที่ และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร คําถามทายกรอบที่ 8 ใหนักเรียนบอกเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่สามารถนํามาใช ประโยชนในการหาขอมูลมา 2 วิธี ................................................................ เฉลยหนาตอไป
  • 29. 28 เฉลยกรอบที่ 8 การศึกษาภาพถายทางอากาศ ภาพถาย จากดาวเทียม ศึกษาจบกรอบการเรียนทั้งหมดแลว ก็ไปทําแบบทดสอบหลังเรียนกันเลยนะ
  • 30. 29 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด แลวทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก , ข , ค หรือ ง ในกระดาษคําตอบ 1. สิ่งที่แสดงลักษณะของผิวโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น โดยแสดงบนพื้นผิวราบ และใชเครื่องหมายแทนสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลก ขอความนี้หมายถึงสิ่งใด ก แผนที่ ข เข็มทิศ ค แผนผัง ง ลูกโลก 2. แผนที่มีประโยชนตอการศึกษาวิชาใดมากที่สุด ก รัฐศาสตร ข ภูมิศาสตร ค เศรษฐศาสตร ง ประวัติศาสตร 3. แผนที่ชนิดใดที่นิยมใชกันมากเพราะมีความสะดวกและงายในการแปลความหมาย ก แผนที่ลายเสน ข แผนที่ภาพถาย ค แผนที่แบบผสม ง ขอ ก และ ข ถูก 4. ถาในแผนที่ใชมาตราสวน 1 : 25,000 แสดงวาแผนที่ฉบับนี้เปนแผนที่มาตราสวนใด ก แผนที่มาตราสวนเล็ก ข แผนที่มาตราสวนยอย ค แผนที่มาตราสวนใหญ ง แผนที่มาตราสวนปานกลาง 5. ขอใดเปนมาตราสวนแผนที่สําหรับนักการทหาร ก 1 : 25,000 ข 1 : 100,000 ค 1 : 250,000 ง 1 : 600,000
  • 31. 30 6. แผนที่ในขอใดเปนแผนที่แสดงปริมาณ ก แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศของโลก ข แผนที่แสดงชั้นหินในประเทศไทย ค แผนที่แสดงชนิดของปาไมของประเทศไทย ง แผนที่แสดงจํานวนประชากรของประเทศไทย 7. ขอใดเปนขอเสียของลูกโลก ก ไมสะดวกในการพกพา ข แสดงรายละเอียดไดนอยกวาแผนที่ ค ไมสามารถมองเห็นไดรอบทิศทางในเวลาเดียวกัน ง ถูกทุกขอ 8. คาลองจิจูดและละติจูด เกี่ยวของกับองคประกอบใดของแผนที่ ก พิกัด ข ทิศทาง ค ชื่อระวาง ง สัญลักษณ 9. สัญลักษณนี้ใชแทนสิ่งใดในแผนที่ ก ถนน ข ทุงนา ค พืชไร ง แมน้ํา 10. เจากรมแผนที่ทหารคนแรกของไทยเปน คนชาติใด ก ไทย ข อังกฤษ ค ฝรั่งเศส ง โปรตุเกส 11. การทําแผนที่ในประเทศไทยเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระมหากษัตริยพระองคใด ก พอขุนรามคําแหงมหาราช ข สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ค สมเด็จพระนารายณมหาราช ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
  • 32. 31 12. ขอใดจัดเปนเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร ก การสัมผัสระยะไกล ข ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ค ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ง ถูกทุกขอ 13. ขอใดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ก การนําเขาขอมูลรูปภาพ ข การจัดรูปแบบเพื่อจัดทําแผนที่ ค การแปลงแผนที่เปนขอมูลเชิงตัวเลข ง การนําผลที่ไดมานําเสนอในรูปของแผนที่ 14. ผูเลือกชนิดของแผนที่ที่ตองการจัดทํา เรียกวาอะไร ก ผูอานแผนที่ ข ผูออกแบบแผนที่ ค บรรณาธิการแผนที่ ง บรรณารักษแผนที่ 15. ถานักเรียนตองการสืบคนองคกรที่มีสวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ โลก ควรเขาไปสืบหาที่เว็บไซตใด ก www.unicef.org ข www.redcross.org ค www.greenpeace.org ง www.worldbank.org เปนไงกันบางครับ!... หวังวาเพื่อน ๆ คงทําแบบทดสอบผานกันหมดทุกคน... เยี่ยมมากเลยนะครับ.....
  • 33. 32 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร ขอ 1 ก ขอ 2 ข ขอ 3 ค ขอ 4 ค ขอ 5 ง ขอ 6 ง ขอ 7 ง ขอ 8 ก ขอ 9 ค ขอ 10 ข ขอ 11 ง ขอ 12 ง ขอ 13 ค ขอ 14 ค ขอ 15 ค
  • 34. 33 หนังสืออางอิง กระมล ทองธรรมชาติและคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ม.3. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน, 2549. ผองศรี จั่นหาว และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคม ศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2549. ลักขณา คําตรง และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคม ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ม.3. กรุงเทพฯ: แม็ค, 2549. วิชาการ,กรม. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน: กรุงเทพฯ, 2547. สมมต สมบูรณ, นึก ทองมีเพชร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานภูมิศาสตร ม.3. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2548. สุคนธ สินธพานนท, จิราภรณ นวลมี. คูมือและแผนการจัดการเรียนรู ส 33101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน, 2548. เว็บไซต http://www.eduplace.com/ss/maps/s_america.html http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Ex-america-north.htm http://www.nationmaster.com/region/NAM# http://www.worldatlas.com/webimage/countrys/namaps.htm