SlideShare a Scribd company logo
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและ
ใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
ชิงชัย หุมห้อง
chingchaih@nu.ac.th
สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยนเรศวร
Naresuan University
เกี่ยวกับหน่วยงาน
สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
ภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อย่อของเรา “GIST@NU”
สังกัดสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร
เป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวรกับสํานักงานพัฒนา
เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. หรือเรียก
สั้นๆ ว่า “GISTDA”
เป้าหมาย: มุ่งพัฒนาและส่งเสริมการใช้ข้อมูลดาวเทียม
สํารวจทรัพยากรและภูมิสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ทั้งในวงกว้าง
และเชิงลึก ต่อการค้นคว้าวิจัย การบริหารจัดการทรัพยากร
สิ่งแวดล้อม และ ภัยพิบัติ รวมทั้งการวางแผนติดตามการใช้
งบประมาณ
อาคารมหาธรรมราชา ชั้น 2 ตึก A
มหาวิทยาลัยนเรศวร อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
Tel. 055-968707
Fax. 055-968806
Website: http://www.cgistln.nu.ac.th
E-Mail : cgistln@nu.ac.th
สถานที่ตั้ง
ภาระกิจของ GIST@NU
ให้
คําปรึกษา
• ให้คําปรึกษา
ออกแบบ พัฒนา
และใช้งานระบบ
GIS
บริการ
ข้อมูล
• ให้บริการ
ข้อมูลภาพ
สํารวจจาก
ดาวเทียมและ
ข้อมูล GIS
ถ่ายทอด
เทคโนโลยี
• ถ่ายทอด
เทคโนโลยี
อวกาศและ
ภูมิสารสนเทศ
พัฒนา
• พัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลเชิง
พื้นที่และ
เครือข่ายผู้ใช้
วิจัย
• วิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยี
อวกาศและภูมิ
สารสนเทศ
ราชการ
• ทสจ. เพชรบูรณ์
“WaterPlan GIS”
• สนง. ควบคุมโรคที่ 9
“Health GIS”
• องค์การสวนพฤษศาสตร์
“Conserv GIS”
รัฐวิสาหกิจ
• การไฟฟ้าฝ่ายผลิต เหมืองแม่เมาะ
“Mine GIS”
เครือข่าย
ภาค
ประชาชน
• มูลนิธิฮักเมืองน่าน
“Community GIS”
• เครือข่ายเชียงกลาง
“Land GIS”
• เครือข่ายจัดการน้ํา ต.ดงพญา
“WaterPlan GIS”
งานที่ปรึกษา
โปรแกรมประยุกต์ภูมิสารสนเทศออนไลน์ เหมืองแม่เมาะ
MaeMoh Mine
Map Web App
gistnuGISTNU
http://www.cgistln.nu.ac.th
การประชุมวิชาการนานาชาติ The Asian Conference on Remote Sensing ครั้งที่ 33 (ACRS 2012)
รางวัลชนะเลิศ (Gold Award) นวัตกรรมการเขียนโปรแกรมด้าน Internet GIS ในงานประกวด WEBCON
ข้อมูลแผนที่จีไอเอส(GIS) คืออะไร
จีไอเอส หรือเรียกอีกชื่อว่า “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์” คือ ระบบที่ช่วยจัดการ
ข้อมูลเชิงพื้นที่ ด้วยคอมพิวเตอร์โดยมีการจัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแสดงผล
ข้อมูลเป็นแผนที่
16๐22’เหนือ 100๐31’ตะวันออก
อ่างน้ําแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ไหน
บนโลกนี้
ข้อมูลคุณลักษณะของอ่างน้ํา
- ชื่อ
- ความจุ
- การใช้ประโยชน์
- หน่วยงานที่ดูแล
- ???
ข้อมูลเชิงพื้นที่ ข้อมูลเชิงบรรยาย
ข้อมูลเชิงพื้นที่
ข้อมูลเชิงบรรยาย
ข้อมูลแผนที่จีไอเอส(GIS) คืออะไร
ข้อมูลแผนที่จีไอเอส(GIS) คืออะไร
ตําแหน่งที่ตั้งหมู่บ้านVillage
ถนน
แปลงที่ดิน
แบบจําลองความสูง
การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ลักษณะภูมิประเทศจริง
ข้อมูลจีไอเอส(GIS) คืออะไร
การใช้จีพีเอสกับการทําแผนที่
เช่น ใช้จีพีเอสในการเก็บ
ตําแหน่งฝายน้ําล้น หรือคลอง
ส่งน้ํา
ข้อมูลเวกเตอร์ (Vector format)
ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) มี 2 ประเภท
ข้อมูลจุด ข้อมูลเส้น ข้อมูลพื้นที่
ข้อมูลราสเตอร์ (Raster format)
ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) มี 2 ประเภท
ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และ
ข้อมูลภาพถ่าพจากดาวเทียม
NSDI (National Spatial Data Infrastructure)
โครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศระดับประเทศ หมายถึงระบบ
เครือข่าย Internet/Intranet ใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลและข่าวสารด้านภูมิ
สารสนเทศ (Web Map Service) เพื่อ วัตถุประสงค์การใช้ข้อมูลร่วมกัน
อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาระบบงานประยุกต์ใน
อุตสาหกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับนโยบาย และความต้องการข้อมูล
ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศ ประกอบด้วย
 ระบบเครือข่ายให้บริการข้อมูล (Clearinghouse)
 ข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน (Fundamental Geographic Data Set)
 ข้อมูลคําอธิบายข้อมูล (Metadata)
 มาตรฐานการจัดทําข้อมูล (Standard)
 ความร่วมมือ (Partnership) ระหว่างหน่วยงานต่างๆ
เป็นข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐานของประเทศ ที่มีความสําคัญต้องได้รับ
การพิจารณาเป็นพิเศษ เนื่องจากมีความถี่ของการใช้งานสูงหรือมีการใช้
งานอย่างกว้างขวางในผู้ใช้กลุ่มต่างๆ และเป็นแผนที่พื้นฐานให้กับกลุ่ม
ข้อมูลอื่นๆ ตัวอย่างเช่น ขอบเขตการปกครอง ถนน เส้นทางน้ํา ภาพถ่าย
ดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ เป็นต้น
ข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน (FGDS)
ข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน (FGDS) 13 ชั้นข้อมูล
ชั้นข้อมูล หน่วยงานที่ดูแล
1. ชั้นข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศออร์โท กรมพัฒนาที่ดิน
2. ชั้นข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมออร์โท สทอภ.
3. ชั้นข้อมูลหมุดหลักฐานและสถานีเครือข่ายกําหนดตําแหน่งด้วยดาวเทียม กรมแผนที่ทหาร
4. ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข (DEM) กรมแผนที่ทหาร
5. ชั้นข้อมูลเขตการปกครอง กรมการปกครอง
6. ชั้นข้อมูลเส้นทางคมนาคม สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม
7. ชั้นข้อมูลแม่น้ํา ลําธาร แหล่งน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา
8. ชั้นข้อมูลเขตชุมชน ตัวเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง
9. ชั้นข้อมูลการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
10. ชั้นข้อมูลป่าไม้ กรมป่าไม้
11. ชั้นข้อมูลแผนที่ภูมิประเทศ กรมแผนที่ทหาร
12. ชั้นข้อมูลแปลงที่ดิน กรมที่ดิน
13. ชั้นข้อมูลอุทกศาสตร์ทางทะเล กรมอุทกศาสตร์
หน่วยงานท้องถิ่น สามารถนําข้อมูล
ข้อมูลเหล่านี้ มาใช้เป็นแผนที่ฐาน
(Base Map) หรือเป็นข้อมูลต้นน้ํา
เพื่อจัดทําแผนที่เพิ่มเติมในท้องถิ่น
ของตนเองได้
ข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน (FGDS) 13 ชั้นข้อมูล
บทเรียนการใช้ข้อมูลเส้นลําน้ําจากหน่วยงานส่วนกลาง:
เส้นลําน้ําที่ชุมชนใช้แต่ยังไม่มีอยู่ในข้อมูลกลาง
บทเรียนการใช้ข้อมูลเส้นลําน้ําจากหน่วยงานส่วนกลาง:
ข้อจํากัดการใช้ข้อมูลอันเนื่องจากไม่มี attribute
เส้นลําน้ําแบ่งได้เป็น 2 สีเท่านั้น !!
บอกได้แต่ประเภทเส้นลําน้ําว่าเป็นแม่น้ําหรือลํา
ห้วย แต่ไม่มีข้อมูลอื่น ๆ ที่บอกสถานภาพการใช้
น้ําระดับชุมชน
จัดทําข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้น้ําระดับชุมชน
เช่น ชื่อท้องถิ่น ปริมาณน้ํา ความต้องการใช้ฝาย
ความสําคัญ และ การมีแผนรองรับ
เส้นลําน้ําจําแนกได้หลายสีแล้ว !!
บทเรียนการใช้ข้อมูลเส้นลําน้ําจากหน่วยงานส่วนกลาง:
ข้อจํากัดการใช้ข้อมูล
ตัวอย่างการจัดทําระบบข้อมูลสนับสนุนการวางแผนจัดการ
น้ําระดับตําบลในพื้นที่ ต.ดงพญา อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
กระบวนการจัดทําข้อมูลแผนที่
แผนที่กลาง
จาก FGDS
แผนที่ทํามือ
โดยชุมชน
แผนที่ดง
พญา
ข้อมูลแผนที่ที่ได้จากการทํางานร่วมกับ อบต. ดงพญา
1. ที่ตั้งฝายน้ําล้น
2. ที่ตั้งถังน้ําประปา
3. แนวท่อประปา
4. เส้นลําห้วย
5. ป่าชุมชน
6. พื้นที่เกษตรกรรม
ท่านมีแผนที่อะไรบ้าง ที่ยังเป็นแผนที่กระดาษอยู่
เรามาจัดทําแผนที่ให้อยู่ในระบบจีไอเอสกันดีกว่า
iMAPเป็นระบบแผนที่บนอินเทอร์เน็ต (Internet GIS Map) ซึ่งผู้ใช้งาน
สามารถเรียกดู นําเข้า ปรับปรุง สืบค้น และสั่งพิมพ์ข้อมูลแผนที่ผ่านทางอินเทอร์เน็ต
โดยที่ผู้ใช้ไม่จําเป็นต้องมีความรู้หรือทักษะด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
iMAP ให้บริการข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลภาพจากดาวเทียม ข้อมูลจีไอ
เอส ผนวกเข้ากับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการ
ใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์สูงสุด
iMAP รองรับความต้องการใช้งานหลากหลายมิติ เช่น งานวางแผนและติดตาม
โครงการประจําปีงบประมาณ งานผังเมือง งานโยธา งานสาธารณูปโภค และงานภาษี
เป็นต้น
“iMAP (ไอ-แมพ)” คืออะไร
“iMAP (ไอ-แมพ)” คืออะไร
ตัวอย่างชั้นข้อมูลจีไอเอส ใน iMAP
ข้อมูลประเภทจุด ได้แก่ ที่ตั้งหมู่บ้าน, โรงเรียน, สถานีอนามัย, โรงพยาบาล และอื่นๆ
ข้อมูลประเภทเส้น ได้แก่ ถนน, เส้นลําน้ํา, ทางรถไฟ, เส้นชั้นความสูงเท่า และอื่นๆ
ข้อมูลประเภทพื้นที่ ได้แก่ ขอบเขตการปกครอง, พื้นที่แหล่งน้ํา, อาคารสิ่งปลูกสร้าง เป็นต้น
แต่ถ้าท่านมีข้อมูลเชิงพื้นที่อยู่แล้ว ท่านก็สามารถนํามาแสดงผลบนเว็บของเราได้ เช่นกัน
ข้อมูลประเภทจุด ข้อมูลประเภทเส้น ข้อมูลประเภทพื้นที่
นอกจากนี้ยังมีแผนที่เฉพาะเรื่องต่างๆ อีกมากมาย
พื้นที่เสี่ยงแล้ง พื้นที่เสี่ยงดินถล่ม
นอกจากนี้ยังมีแผนที่เฉพาะเรื่องต่างๆ อีกมากมาย
แผนที่ปริมาณน้ําฝน แผนที่ปริมาณน้ําท่า
นอกจากนี้ยังมีแผนที่เฉพาะเรื่องต่างๆ อีกมากมาย
ภาพถ่ายทางอากาศ แผนที่ภูมิประเทศ
- มีชั้นข้อมูลแผนที่เตรียมพร้อมไว้ให้ใช้งานได้ทันที
- ช่วยลดต้นทุนและระยะเวลาของการพัฒนาระบบ GIS
- ช่วยลดความเสี่ยงของหน่วยงานที่เกิดจากข้อมูลสูญหายหรือการ
เปลี่ยนแปลงบุคลากร
- ช่วยให้สามารถเข้าถึง แบ่งปัน และแลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างสะดวกและ
ง่ายดาย
ข้อดีของการใช้เว็บบริการแผนที่ “iMAP”
ลักษณะหน้าตาของ “iMAP”
พื้นที่แสดงแผนที่
ชั้นข้อมูลแผนที่
ข้อมูลตาราง
แถบเครื่องมือจัดการแผนที่
เครื่องมือควบคุมการแผนที่ แถบแสดงค่าพิกัด
มาตราส่วนแผนที่
แถบเครื่องมือการใช้งานของ “iMAP”
แผนที่ 3 มิติ
เลื่อนแผนที่
ขยายเข้าโดยลากเมาส์
ขยายเข้า
พิมพ์แผนที่
ขยายออก
เลื่อนไปยังตําแหน่งก่อนหน้า
เลื่อนไปยังตําแหน่งถัดไป
ขยายเต็มขอบเขต
เพิ่มชั้นข้อมูล
ลบชั้นข้อมูล
คุณสมบัติข้อมูล
ปรับเปลี่ยนสไตล์
เข้าสู่ระบบ
การเพิ่มชั้นข้อมูลแผนที่
การเพิ่มชั้นข้อมูลแผนที่
การอัพโหลดข้อมูลแผนที่ จากหน่วยงานท้องถิ่น
การอัพโหลดข้อมูลแผนที่ จากหน่วยงานท้องถิ่น
แสดงรายละเอียดข้อมูล
การวัดระยะทาง หรือความยาว
วัดความยาวของเส้นลําน้ํา
การวัดพื้นที่
วัดเนื่อที่ของอ่างเก็บน้ํา
การสืบค้นข้อมูล
สามารถสืบค้น, เพิ่ม, แก้ไข และลบข้อมูลเชิงพื้นที่และ
ข้อมูลคุณลักษณะ จากนั้นระบบโปรแกรมจะดึงข้อมูล
คุณลักษณะมาแสดงในรูปแบบกราฟ ภาพ และข้อความ
แบบ Real-Time เชื่อมโยงกับตําแหน่งข้อมูลบนแผนที่
สืบค้นข้อมูล แสดงรูปภาพ และแสดงกราฟ
สามารถแสดงวีดิโอ หรือลิงค์กับกล้องวงจรปิด
การเพิ่มและแก้ไขข้อมูลแผนที่
การเพิ่มและแก้ไขข้อมูลแผนที่
สามารถแก้ไขหรือลบข้อมูลแผนที่ เพื่อให้ตรงกับภาพถ่ายดาวเทียมได้
ขยับจุดแผนที่ได้
ลบข้อมูลแผนที่
การพิมพ์แผนที่เพื่อประกอบรายงาน
ส่งออกแผนที่อยู่ในรูปแบบ PDF
 การวางแผนและติดตามโครงการตามงบประมาณประจําปี
 การจัดเก็บแผนที่ภาษี
 การวางระบบ การให้บริการ และการซ่อมแซมสาธารณูปโภค เช่น
แนวท่อประปา และเสาไฟฟ้า
 การพัฒนาแหล่งน้ําและพื้นที่/ครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ํา
 การแสดงพื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ/ภัยสังคม
 การจัดทําแปลงที่ดินทํากินของเกษตรกรขึ้นทะเบียนเพาะปลูก
 การร้องเรียน/แจ้งเหตุ site online
แนวทางการประยุกต์ใช้ iMAP
ขอบคุณครับ
GIST@NU
http://www.cgistln.nu.ac.th
https://www.facebook.com/gist.nu

More Related Content

More from Chingchai Humhong

พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรพฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
Chingchai Humhong
 
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Chingchai Humhong
 
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Chingchai Humhong
 
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GISSpatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
Chingchai Humhong
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Chingchai Humhong
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Chingchai Humhong
 
Geoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacherGeoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacher
Chingchai Humhong
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Chingchai Humhong
 

More from Chingchai Humhong (8)

พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรพฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
 
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
 
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
 
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GISSpatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
 
Geoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacherGeoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacher
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
 

การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น