SlideShare a Scribd company logo
หน่ว ยการเรีย นที่
                   2
         เรือ งมาตราส่ว นแผนที่
            ่



นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
รายการเรีย นการสอน

1. ความหมายของมาตราส่วนแผนที่
2. ชนิดของมาตราส่วนแผนที่
3. การแสดงสัญลักษณ์ของ
 มาตราส่วนแผนที่
4. ประโยชน์ของมาตราส่วนแผนที่


นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
จุด ประสงค์

1. อธิบายความหมายของมาตราส่วนแผนที่ได้
 อย่างถูกต้อง
2. บอกชนิดของมาตราส่วนแผนที่ได้อย่างถูก
 ต้อง
3. สามารถแสดงสัญลักษณ์ของมาตราส่วน
 แผนที่ได้อย่างถูกต้อง
4. บอกประโยชน์ของมาตราส่วนแผนที่ได้อย่าง
 ถูกต้อง

นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
1. ความหมายมาตราส่ว น (Scales)
ในการวัดระยะตามพืนภูมภาคแล้วนำามาจำาลองรูปเพื่อ
                        ้    ิ
  ทำาแผนที่ เราไม่สามารถจะทำาให้เท่าของจริงได้จำาเป็น
  ต้องย่อส่วนจากของจริงให้เล็กลงพอเหมาะสมกับแผ่น
  กระดาษ หรือตามลักษณะของแผนที่ เพือนำาติดตัวไป
                                          ่
  ใช้ได้โดยสะดวก การย่อส่วนลงเช่นนี้เรียกว่า
  “มาตราส่วน” เช่น ของจริงวัดได้ 1,000 ส่วน ย่อให้
  เหลือเพียง 1 ส่วน ก็เรียกว่ามาตราส่วน 1 : 1,000 หรือ
  มาตราส่วน 1 : 4,000 ก็คือของจริง 4,000 ส่วน ย่อลง
  เหลือ 1 ส่วน
สรุปแล้วมาตราส่วนก็คือ อัตราส่วนระหว่างระยะบน
  แผนทีต่อระยะในภูมประเทศทีตรงกัน ซึงระยะในที่นจะ
        ่             ิ          ่      ่          ี้
  ต้องเป็นระยะในแนวราบเท่านัน มีหลักสำาคัญว่าถ้า
                                   ้
  ต้องการทราบมาตราส่วนเป็นหนึงต่อเท่าช่างสำารวจ
นายมานัส ยอดทอง           อาจารย์แผนกวิชาไร จะต้อง
                                     ่
2. ชนิด ของมาตราส่ว นแผนที่ สามารถ
แบ่ง เป็น 4 ชนิด ใหญ่ ๆ คือ
2.1 มาตราส่วนเศษส่วน (Representative
 Fraction = R.F.) จะกำาหนดเป็นอัตราส่วน
 ระยะบนแบบหรือแผนที่ 1 หน่วย ต่อระยะจริง
 หรือระยะในภูมิประเทศจริงที่มีหน่วยอันเดียวกัน
 ตัวอย่างเช่น 1 :100 หรือ 1001หรือ 1/100
 การเขียนจะนิยมเขียน 1:100 (จะนิยมมาก
 ที่สด) หมายถึง 1 ซม. = 100 ซม. ในการหา
     ุ
 มาตราส่วนเราต้องทราบระยะบนแผนที่ซึ่งเรา
 เรียกว่า Map Distance หรือ M.D. และระยะ
 บนพื้นดินหรือในภูมิประเทศเราเรียกว่า Groun
นายมานัส ยอดทอง    อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ตัว อย่า งที่ 1 วัดระยะระหว่างจุด ก. – ข. บนแผนที่ฉบับหนึ่ง
ได้ 3.5 ซม. แล้ววัดระยะ ก. – ข.
ในภูมิประเทศได้เท่ากับ 140 ม. ต้องการทราบว่าแผนที่ฉบับ
นี้มีมาตราส่วนเท่าไร?

                               3.5
 ทำาให้เศษมีค่าเท่ากับ     =
          1                    ซ.ม.
                               140
                               ม.
                                3.    ซม.
 โดยเอา 3.5 หารทั้ง        =
                               140100
                                5 x
    เศษและส่วน                  3. 3. ซม.
                           =
 เพื่อให้เศษมีค่าเป็น 1        14,00
                                5 53.
                               01 5
         จะได้             =
                               4,000

 แผนที่ฉบับนีมมาตราส่วน 1 =
              ้ ี                    ;
 1:4,000 ; 1/4,000       4,000
นายมานัส ยอดทอง     อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
reaxe j
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
niralai
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
Sasiprapha Srisaeng
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
Tongsamut vorasan
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
Ritthinarongron School
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 

Similar to 02 มาตราส่วน

E-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตรE-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
Pan Kannapat Hengsawat
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
T'Rak Daip
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
9789740332930
97897403329309789740332930
9789740332930
CUPress
 
เรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติเรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติ
Palm Teenakul
 
พื้นที่ผิวของปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึมพื้นที่ผิวของปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึม
ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมchanaruk
 

Similar to 02 มาตราส่วน (9)

E-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตรE-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
9789740332930
97897403329309789740332930
9789740332930
 
เรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติเรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติ
 
พื้นที่ผิวของปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึมพื้นที่ผิวของปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึม
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 

More from Nut Seraphim

ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวNut Seraphim
 
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉากNut Seraphim
 
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่าNut Seraphim
 
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทปNut Seraphim
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75Nut Seraphim
 
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำNut Seraphim
 
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำNut Seraphim
 
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวางNut Seraphim
 
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวางNut Seraphim
 
05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลอง05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลองNut Seraphim
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทางNut Seraphim
 
01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจ01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจNut Seraphim
 
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1Nut Seraphim
 

More from Nut Seraphim (13)

ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
 
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
 
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75
 
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
 
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
 
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
 
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
 
05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลอง05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลอง
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง
 
01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจ01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจ
 
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
 

02 มาตราส่วน

  • 1. หน่ว ยการเรีย นที่ 2 เรือ งมาตราส่ว นแผนที่ ่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 2. รายการเรีย นการสอน 1. ความหมายของมาตราส่วนแผนที่ 2. ชนิดของมาตราส่วนแผนที่ 3. การแสดงสัญลักษณ์ของ มาตราส่วนแผนที่ 4. ประโยชน์ของมาตราส่วนแผนที่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 3. จุด ประสงค์ 1. อธิบายความหมายของมาตราส่วนแผนที่ได้ อย่างถูกต้อง 2. บอกชนิดของมาตราส่วนแผนที่ได้อย่างถูก ต้อง 3. สามารถแสดงสัญลักษณ์ของมาตราส่วน แผนที่ได้อย่างถูกต้อง 4. บอกประโยชน์ของมาตราส่วนแผนที่ได้อย่าง ถูกต้อง นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 4. 1. ความหมายมาตราส่ว น (Scales) ในการวัดระยะตามพืนภูมภาคแล้วนำามาจำาลองรูปเพื่อ ้ ิ ทำาแผนที่ เราไม่สามารถจะทำาให้เท่าของจริงได้จำาเป็น ต้องย่อส่วนจากของจริงให้เล็กลงพอเหมาะสมกับแผ่น กระดาษ หรือตามลักษณะของแผนที่ เพือนำาติดตัวไป ่ ใช้ได้โดยสะดวก การย่อส่วนลงเช่นนี้เรียกว่า “มาตราส่วน” เช่น ของจริงวัดได้ 1,000 ส่วน ย่อให้ เหลือเพียง 1 ส่วน ก็เรียกว่ามาตราส่วน 1 : 1,000 หรือ มาตราส่วน 1 : 4,000 ก็คือของจริง 4,000 ส่วน ย่อลง เหลือ 1 ส่วน สรุปแล้วมาตราส่วนก็คือ อัตราส่วนระหว่างระยะบน แผนทีต่อระยะในภูมประเทศทีตรงกัน ซึงระยะในที่นจะ ่ ิ ่ ่ ี้ ต้องเป็นระยะในแนวราบเท่านัน มีหลักสำาคัญว่าถ้า ้ ต้องการทราบมาตราส่วนเป็นหนึงต่อเท่าช่างสำารวจ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาไร จะต้อง ่
  • 5. 2. ชนิด ของมาตราส่ว นแผนที่ สามารถ แบ่ง เป็น 4 ชนิด ใหญ่ ๆ คือ 2.1 มาตราส่วนเศษส่วน (Representative Fraction = R.F.) จะกำาหนดเป็นอัตราส่วน ระยะบนแบบหรือแผนที่ 1 หน่วย ต่อระยะจริง หรือระยะในภูมิประเทศจริงที่มีหน่วยอันเดียวกัน ตัวอย่างเช่น 1 :100 หรือ 1001หรือ 1/100 การเขียนจะนิยมเขียน 1:100 (จะนิยมมาก ที่สด) หมายถึง 1 ซม. = 100 ซม. ในการหา ุ มาตราส่วนเราต้องทราบระยะบนแผนที่ซึ่งเรา เรียกว่า Map Distance หรือ M.D. และระยะ บนพื้นดินหรือในภูมิประเทศเราเรียกว่า Groun นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 6. ตัว อย่า งที่ 1 วัดระยะระหว่างจุด ก. – ข. บนแผนที่ฉบับหนึ่ง ได้ 3.5 ซม. แล้ววัดระยะ ก. – ข. ในภูมิประเทศได้เท่ากับ 140 ม. ต้องการทราบว่าแผนที่ฉบับ นี้มีมาตราส่วนเท่าไร? 3.5 ทำาให้เศษมีค่าเท่ากับ = 1 ซ.ม. 140 ม. 3. ซม. โดยเอา 3.5 หารทั้ง = 140100 5 x เศษและส่วน 3. 3. ซม. = เพื่อให้เศษมีค่าเป็น 1 14,00 5 53. 01 5 จะได้ = 4,000 แผนที่ฉบับนีมมาตราส่วน 1 = ้ ี ; 1:4,000 ; 1/4,000 4,000 นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ