SlideShare a Scribd company logo
1


บทที่ 1 พัฒนาการของการสารวจจากระยะไกล

   1.1 ความหมายของคาว่า “Remote Sensing”
   1.2 หลักการทางานของระบบตรวจวัดจากระยะไกล
   1.3 ประเภทของการตรวจวัดจากระยะไกล
   1.4 พัฒนาการของระบบการตรวจวัดจากระยะไกล
   1.5 ประโยชน์ของการตรวจวัดจากระยะไกล
2




วัตถุประสงค์ประจาบท
1. ทราบถึงองค์ประกอบและหลักการทางานพื้นฐานของ remote sensing
2. ทราบถึงพัฒนาการโดยย่อของเทคโนโลยี remote sensing
3. ทราบถึงแนวการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี remote sensing โดยทัวไป
                                                         ่
1.1 ความหมายของคาว่า “Remote Sensing”
   การสารวจ ทางภูมิศาสตร์ (geographic surveying) โดยทัวไป อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบหลัก คือ
                                                       ่
             1. การสารวจในพื้นที่หรือสถานการณ์จริง (in situ measurement) และ
             2. การสารวจจากระยะไกล (remote sensing)
   คาว่า “Remote Sensing: RS” เริ่มถูกนามาใช้เป็ นครังแรกโดยนักวิจยในประเทศสหรัฐอเมริกาในยุค 1960s
                                                       ้             ั
      ซึ่งเป็ นช่วงที่การตรวจวัดจากระยะไกล ด้วยดาวเทียม (Satellite RS) ได้รบการพัฒนาขึ้นมาอย่างรวดเร็ว
                                                                           ั
      โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาและในสหภาพโซเวียต

   “Remote Sensing” เป็ นศาสตร์ของการศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบของพื้นผิวและชันบรรยากาศโลก
                                                                                      ้
       จากระยะไกล โดยอาศัยอุปกรณ์การตรวจวัด ซึ่งมักใช้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นสือในการได้มาซึ่งข้อมูล เช่น
                                                                                 ่
       กล้องถ่ายภาพทางอากาศ เรดาร์ หรือ เครื่องกวาดภาพบนดาวเทียม เป็ นต้น
   สาหรับชื่อเรียกคานี้ ใน ภาษาไทย ที่พบทัวไป จะมีอยู่ 4 แบบ คือ
                                           ่
            1. การรับรูจากระยะไกล (ราชบัณฑิตฯ)
                       ้                               2. การสารวจข้อมูลจากระยะไกล
            3. การตรวจวัดข้อมูลจากระยะไกล                4. ระบบสัมผัสระยะไกล


                                                                                        3
4
      1.1.1 คาจากัดความของ “Remote Sensing”
   สาหรับ คาจากัดความ ของคานี้ ที่เป็ น ภาษาไทย มีเช่น
       1. วิทยาศาสตร์และศิลปะของการได้มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับ วัตถุ พื้นที่ หรือ ปรากฏการณ์ จากเครื่องบันทึกข้อมูล
                                                      ้
           โดยปราศจากการเข้าไปสัมผัสวัตถุเป้ าหมาย ทังนี้ โดยอาศัยคุณสมบัตของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นสือ
                                                                              ิ                        ่
           ในการได้มาของข้อมูล (สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ 2536)
   สาหรับคาจากัดความซึ่งเป็ น ภาษาอังกฤษ ของ คาว่า “Remote Sensing” มีอาทิเช่น
         1. The acquisition of physical data of an object without touch or contact. (กว้างที่สด)
                                                                                              ุ
         2. Science of acquiring, processing and interpreting images that record
            the interaction between electromagnetic energy and matter.
         3. The instrumentation, techniques and methods to observe the Earth’s surface at
            a distance and to interpret the images or numerical values obtained in order to
            acquire meaningful information of particular object on Earth.
        4. Science and art of obtaining information about an object, area, or phenomenon
           through the analysis of data acquired by a device that is not in contact with
           the object, area or phenomenon under investigation.
5
      1.1.2 องค์ประกอบของระบบ RS
                     ้
    จาก คาจากัดความ ทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษดังกล่าว ทาให้เราสามารถ จาแนก องค์ประกอบของระบบ
       การตรวจวัดจากระยะไกลออกได้เป็ น 3 ส่วนหลัก คือ

              1. แหล่งข้อมูลของการตรวจวัด (Target Sources) :ในที่น้ ี คอ พื้นผิวโลก และ ชันบรรยากาศโลก
                                                                       ื                  ้
              2. อุปกรณ์การตรวจวัดจากระยะไกล (Remote Sensor) : มักใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นสือในการตรวจวัด
                                                                                                ่
              3. ระบบการประมวลผลข้อมูล (Data Processing System) : ใช้ผูปฏิบตการและระบบคอมพิวเตอร์
                                                                              ้ ัิ
   ในช่วงแรก ๆ (ยุค 1960s) คาว่า “Remote Sensing” จะใช้มากในการศึกษาวิจยทางภูมิศาสตร์โดยเฉพาะการรังวัด
                                                                        ั
       ภาพถ่าย (photogrammetry) และการแปลภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสายตาเป็ นหลัก
    (เนื่ องจากระบบคอมพิวเตอร์ยงไม่ได้รบการพัฒนามากนัก)
                               ั       ั
   อย่างไรก็ตาม ตังแต่ยุค 1970s เป็ นต้นมาจนถึงปัจจุบน คานี้ มกจะถูกใช้กบงานสารวจโดยอุปกรณ์ท่ตดตังไว้บน
                   ้                                  ั        ั         ั                    ีิ ้
    ดาวเทียมสารวจแผ่นดิน (land observation satellite) เช่น Landsat หรือ SPOT และดาวเทียมสารวจสภาพอากาศ
       ของโลก (weather satellite) เช่น GOES, GMS หรือ NOAA เป็ นสาคัญ
   สังเกตว่า “ดวงตา” (eyes) ของเรา อาจถือเป็ นอุปกรณ์การสารวจระยะไกลประเภทหนึ่ ง โดยมี สมอง ของเรา
        ทางานคล้ายกับเป็ น หน่ วยประมวลผล (processing unit) หรือหน่ วยแปลความหมายของข้อมูลที่ได้รบ
                                                                                                 ั
        ผ่านสายตาของเรามา (หลักการทางานคล้ายกล้องถ่ายรูป)
6

 ภาพเปรียบเทียบการทางานของ กล้ องถ่ ายภาพ และ ดวงตามนุษย์ ซึ่งจะมีหลักการคล้ ายกันมาก
1.2 หลักการทางานของระบบตรวจวัดจากระยะไกล
      1.2.1 ผังการทางานพื้นฐาน

   โดยปกติผงการทางานพื้นฐานของระบบ RS ร่วมกับ GIS (เรียกว่า “ระบบภูมิสารสนเทศ”) จะเป็ นดังนี้
            ั


      แหล่ งข้ อมูล               เครื่องตรวจวัด              การแก้ ไขและ                การวิเคราะห์ และ
       Sources                     จากระยะไกล                 ปรับแต่ งข้ อมูล              แปลข้ อมูล


    การแสดงผลและ                 การใช้ ประโยชน์ ข้อมูล
    สร้ างฐานข้ อมูล             โดยใช้ เทคนิคทาง GIS


   ด้วยเหตุน้ ี การศึกษาทาง ภูมิสารสนเทศ (geoinformatics) จะประกอบไปด้วยเนื้ อหา 3 ส่วนหลัก คือ

     1. การตรวจวัดจากระยะไกล (remote sensing) 2. การวิเคราะห์และแปลภาพ (image processing) และ
     3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการประยุกต์ (GIS-based Applications)


                                                                                      7
8
   จะเห็นได้ว่า ผังการทางาน พื้นฐานของระบบ RS ร่วมกับ GIS จะแยกออกได้เป็ น 5 ส่วน ดังนี้

              1. การได้มาซึ่งข้อมูล (data acquisition)
           2. การแก้ไขและปรับแต่งข้อมูล (data correction and enhancement)
              3. การวิเคราะห์และแปลข้อมูล (data analysis and interpretation) และ
              4. การแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล (data presentation and database management)
              5. การประยุกต์ใช้ขอมูลร่วมกับเทคนิ คทาง GIS (GIS-based data application)
                                  ้

   ในส่วนของ การได้มาซึ่งข้อมูล จะมีองค์ประกอบหลักอยู่ 2 ส่วน คือ

            1. แหล่งข้อมูล (source) ในที่น้ ี หมายถึง พื้นที่เป้ าหมาย ของการสารวจ ซึ่งอาจอยู่บนผิวโลกหรือในบรรยากาศ
                ของโลกก็ได้ แต่ท่สาคัญ ต้องเป็ นเขตที่สามารถ สร้างหรือสะท้อน สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EM Wave)
                                 ี
                ออกมาได้ สาหรับเป็ นสือในการตรวจวัดโดยอุปกรณ์ท่ใช้งานอยู่
                                      ่                               ี

            2. เครื่องตรวจวัดจากระยะไกล (remote sensor) เป็ นอุปกรณ์ซ่ึงถูกออกแบบมาสาหรับการตรวจวัดสัญญาณ
                คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึ่งออกมาจากพื้นที่เป้ าหมาย แยกตามช่วงคลื่นที่เหมาะสม โดยมันมักถูกมักติดตังไว้บน
                                                                                                               ้
                เครื่องบิน บอลลูน หรือ บนดาวเทียม ทาให้สามารถสารวจผิวโลกได้เป็ นพื้นที่กว้าง
9

   สาหรับในส่วนของ การแก้ไขและปรับแต่งข้อมูล เป็ นการปรับแก้ขอมูลให้มีความถูกต้องและเหมาะสมสาหรับใช้
                                                              ้
       ในการประมวลผลมากยิ่งขึ้น โดยการปรับแก้จะแบ่งเป็ น 2 แบบหลัก คือ

                1. การปรับแก้ ความคลาดเคลื่อนเชิงรังสี (radiometric correction) - ปรับแก้เชิงโทนสี และ
                2. การปรับแก้ความ คลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิ ต (geometric correction) - ปรับแก้เชิงขนาดและรูปร่าง

   สาหรับ การวิเคราะห์และแปลข้อมูล (data analysis and interpretation) เป็ นการวิเคราะห์ขอมูลอย่างละเอียด
                                                                                         ้
      เพื่อใช้งานตามวัตถุประสงค์ของสิงที่ตองการทา ที่สาคัญคือเทคนิ ค การจาแนกองค์ประกอบ ของภาพดาวเทียม
                                     ่ ้
       หรือภาพถ่ายทางอากาศ เป็ นต้น (เรียกว่า image classification)

                                                         ้
    สาหรับในส่วนของ การแสดงผล และ การจัดเก็บข้อมูล เป็ นขันตอนของการเผยแพร่ผลการศึกษาต่อผูสนใจ้
        รวมไปถึงการจัดเก็บข้อมูลและผลการศึกษาดังกล่าว สาหรับใช้เป็ น ฐานข้อมูล ของงานในอนาคต ในรูปของ
    ผลิตภัณฑ์สารสนเทศ (IT product) เช่น บันทึก รายงาน หรือ สิงตีพมพ์ เป็ นต้น
                                                              ่ ิ

   ขันสุดท้าย คือการนาเอาข้อมูลและผลการศึกษาที่ได้จากกระบวนการทาง RS ไปใช้ ในการศึกษาวิจยอืน ๆ โดย
      ้                                                                                        ั ่
        ใช้เทคนิ คทาง GIS (geographic information system) เข้ามาช่วย ซึ่งเราจะได้เรียนมากขึ้นในวิชา GIS
10

 ผังการทางานพืนฐานของระบบตรวจวัดจากระยะไกล (RS system)
               ้
11




ที่มา: Lillesand and Kiefer (2000)
1.2.2 รูปแบบของการตรวจวัดรังสี

   ในการ ตรวจวัดข้อมูล ของพื้นผิวโลกหรือชันบรรยากาศ จากระยะไกล มักทาโดยใช้ อุปกรณ์การตรวจวัดที่
                                           ้
            ้             ิ ้
       ติดตังไว้บน สถานี ตดตัง (platform) ซึ่งโคจรอยู่สูงจากผิวโลกพอควร เช่น เครื่องบิน บอลลูน หรือ ดาวเทียม
       ทาให้มนสามารถสารวจผิวโลกได้เป็ นพื้นที่ กว้างกว่า การสารวจจากพื้นดิน
              ั

   ในการทางาน อุปกรณ์ดงกล่าวจะตรวจวัด ความเข้ม ของรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EM Wave) ที่ ออกมา จาก
                          ั
      วัตถุท่มนกาลังมองดูอยู่เป็ นหลัก ซึ่งค่าที่ได้จะเป็ น ความเข้มเฉลี่ย ของรังสีในกรอบการมองของอุปกรณ์
             ี ั
      แต่ละครัง (IFOV) บนวัตถุหรือพื้นผิวเป้ าหมาย (target area)
                 ้

   ทังนี้ รังสี ที่ออกมาจากพื้นที่สารวจ ซึ่งเครื่องวัดได้ ในแต่ละครัง ดังกล่าว จะมีท่มาจาก 3 แหล่ง หลัก คือ
      ้                                                              ้                ี

                  1. รังสีท่ตววัตถุแผ่ออกมาเองตามธรรมชาติ (radiation หรือ emission)
                            ี ั
                  2. แสงอาทิตย์ท่สะท้อนออกมาจากผิวของวัตถุ (reflected sunlight) และ
                                   ี
                  3. รังสีสะท้อนจากตัววัตถุ ที่สงมาจากตัวเครื่องตรวจวัดเอง (reflected sensor’s signal)
                                                ่




                                                                                              12
13
 ลักษณะของการตรวจวัด รังสี คลื่นแม่ เหล็กไฟฟา ในระบบการตรวจวัดจากระยะไกล
                                              ้
14


   โดยทัวไป อุปกรณ์ตรวจวัดแต่ละตัว มักจะถูกออกแบบมาให้ตรวจวัดได้ ดีท่สด ในช่วงความยาวคลืนแคบ ๆ
          ่                                                                   ีุ                  ่
       ช่วงหนึ่ งเท่านั้น เรียกว่าเป็ น ช่วงคลื่นของการตรวจวัด (spectral range) หรือ แบนด์ (band) ของอุปกรณ์

   แบนด์ตรวจวัดที่พบทัวไป มักอยู่ใน ช่วง UV ช่วงแสงขาว ช่วงอินฟราเรด และ ช่วงไมโครเวฟ ของสเปกตรัม
                        ่
      คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยที่ พบมากที่สด คือช่วงแสงขาวและอินฟราเรดใกล้ (VIS/NIR)
                                          ุ
      คาถาม: (เครื่อง X-Ray ควรถือเป็ นอุปกรณ์ตรวจวัดจากระยะไกลหรือไม่)

   ข้อมูลทีได้จากเครื่องตรวจวัด จะเก็บไว้ในรูปของ ข้อมูลภาพ (image data) ซึ่งแบ่งเป็ น 2 ประเภท หลัก คือ
           ่

              1. ข้อมูลอนาลอก (analog data) คือ ข้อมูลที่แสดงความเข้มของรังสีซ่ึงมีค่า ต่อเนื่ อง ตลอดพื้นที่
                  ที่ศึกษา เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ (ซึ่งยังไม่ถกแปลงเป็ นภาพดิจตอล) และ
                                                            ู               ิ

              2. ข้อมูลเชิงตัวเลข (digital data) คือ ข้อมูลแสดงความเข้มของรังสี ซึ่งถูก แบ่ง ออกเป็ นระดับ (level)
                     ย่อย ๆ ในการจัดเก็บ เรียกว่าค่า บิท (bit) โดย ข้อมูล n บิท จะแบ่งเป็ น 2n ระดับความเข้ม
             ทังนี้ ภาพทัวไปมักจะแบ่งออกเป็ น 256 ระดับความเข้ม (เรียกว่าเป็ นข้อมูล 8 บิท)
               ้          ่
   ทังนี้ ขอมูล เชิงตัวเลข ที่ได้การตรวจวัดจากระยะไกล มักถูกเก็บไว้ใน 2 รูปแบบ ที่สาคัญคือ
      ้ ้

               1. ในรูปของ ภาพเชิงตัวเลข (digital image) เช่นภาพดาวเทียมส่วนใหญ่ท่เี ห็น ซึ่งมันจะแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูล
                   บนภาพ ออกเป็ นชิ้นสีเ่ หลี่ยมเล็ก ๆ จานวนมาก เรียกว่า เซลล์ภาพ หรือ จุดภาพ (pixel) ซึ่งแต่ละชิ้น
                   จะเป็ นตัวแทนพื้นที่ในกรอบการมอง แต่ละครัง บนผิวโลก (IFOV) ของเครื่องตรวจวัด หรือ
                                                              ้

               2. ในรูปของ แฟ้ มข้อมูลเชิงตัวเลข (digital file) ใน 3 มิติ สาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ต่อไป

   ในกรณี หลังนี้ มกพบในการศึกษาชันบรรยากาศจากระยะไกล (atmospheric RS) โดยข้อมูลเชิงตัวเลขที่เก็บไว้
                    ั               ้
       มักอ้างอิงเทียบกับ ตาแหน่ งและความสูง ของตาแหน่ งที่ตรวจวัดจากผิวโลก ทาให้ได้เป็ นแฟ้ มข้อมูลใน 3 มิติ
       (3-D data) ออกมา สาหรับใช้ในการประมวลผลต่อไป




                                                                                              15
16
 ลักษณะของการจัดเก็บข้ อมูลภาพ แบบอนาลอก (ต่ อเนื่อง) และ แบบดิจิตอล (ไม่ ต่อเนื่อง)
17
 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลภาพไว้ในแบบ ข้ อมูลเชิงตัวเลข แบบ 8 บิท (256 ระดับความเข้ม)
18
 ตัวอย่ างภาพถ่ ายทางอากาศ ที่เห็นคือภาพของ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในปี พ.ศ. 2489
19
 รู ปพืนที่ ปลูกพืชไร่ ในประเทศแอฟริกาใต้ ช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ. 2002 และ 2003 จากเครื่อง MODIS
        ้
20

1.3 ประเภทของการตรวจวัดจากระยะไกล
                                                      ้
    หากพิจารณาตามรูปแบบของ สถานี (platform) สาหรับติดตังอุปกรณ์ เราอาจแบ่งการตรวจวัดจากระยะไกล
       ออกได้เป็ น 3 ประเภท หลัก คือ

       1. การตรวจวัดจากภาคพื้นดิน (Ground-based RS)

                 ตัวอย่างอุปกรณ์ 1. เรดาร์ (radar) 2. ไลดาร์ (lidar) 3. โซนาร์ (sonar)

       โดยที่ เรดาร์และไลดาร์ มักใช้ในการสารวจบรรยากาศ ส่วน โซนาร์ สาหรับสารวจลักษณะพื้นผิวก้นทะเล

        2. การตรวจวัดจากทางอากาศ (Airborne RS)

              ตัวอย่างสถานี      1. เครื่องบิน 2. บอลลูน 3. ว่าว 4. จรวด 5. นกพิราบ
              ตัวอย่างอุปกรณ์    1. เครื่องถ่ายภาพทางอากาศ 2. เครื่องตรวจวัดการแผ่รงสี 3. เรดาร์
                                                                                   ั
              ระดับความสูง       ประมาณ 100 เมตร ถึง 40 กิโลเมตร จากผิวโลก
21

 ตัวอย่ างของ จรวดขนาดเล็ก ซึ่งใช้ สาหรับการถ่ ายภาพจากทางอากาศ ในปี ค.ศ.1904
22
3. การตรวจวัดจากอวกาศ (Spaceborne RS)
       ตัวอย่างสถานี 1. ดาวเทียม 2. สถานี อวกาศ (space station) 3. ยานขนส่งอวกาศ (space shuttle)
       ตัวอย่างอุปกรณ์ 1. เครื่องกวาดภาพช่วงคลื่นหยาบ (MS) 2. เครื่องตรวจวัดการแผ่รงสี (radiometer)
                                                                                    ั
                                 3. เครื่องกวาดภาพช่วงเทอร์มอล IR (thermal scanner) 4. เรดาร์
                                                                                      ้
       ระดับความสูง ประมาณ 300-1000 กม. สาหรับดาวเทียมสารวจ ที่โคจรในแนวผ่านขัวโลกหรือใกล้ขวโลก   ้ั
                                เช่น Landsat หรือ SPOT และประมาณ 36,500 กม. สาหรับพวกดาวเทียมสถิตต่าง ๆ
                                เช่น ดาวเทียม GOES ของสหรัฐฯ หรือ Meteosat ของสหภาพยุโรป เป็ นต้น
   ข้อมูลเพิ่มเติม
       1. พวก ดาวเทียมสถิต (geostationary satellite: GEO) จะมี คาบ การโคจรรอบโลกเท่ากับ 24 ชัวโมง พอดี ทาให้
                                                                                                  ่
          ดูเสมือน อยู่น่ิ ง บนท้องฟ้ า ส่วนใหญ่ในกลุมนี้ จะเป็ นพวก ดาวเทียมตรวจสภาพอากาศ (weather satellite)
                                                    ่
          หรือ ดาวเทียมสือสาร (communication satellite) – บางครังเรียกว่า ดาวเทียมค้างฟ้ า
                             ่                                          ้
    2. ดาวเทียมที่โคจรในระดับความสูง 300-1000 กิโลเมตรจากผิวโลก มักถูกเรียกว่าเป็ น ดาวเทียมวงโคจรตา
                                                                                                   ่
           (low-earth-orbit satellite: LEO)
23

 ตัวอย่ างของภาพถ่ ายที่ได้ จาก จรวด V-2 ของกองทัพสหรัฐฯ ในปี ค.ศ.1946
24
   แต่หากพิจารณาตามลักษณะของรังสีท่ี เครื่องตรวจวัด วัดได้ดี จะแบ่งการตรวจวัดได้เป็ น 2 แบบ คือ

             1. การตรวจวัดแบบแพสซีฟ (Passive RS) หรือ แบบเฉื่ อย

                   เครื่องตรวจวัดในกลุ่มนี้ จะคอยวัดความเข้มของรังสีทแผ่ออกมาจากวัตถุ หรือ ของแสงอาทิตย์ท่สะท้อน
                                                                     ่ี                                   ี
                   ออกมาจากตัววัตถุเท่านั้น แต่มนจะ ไม่มี การสร้างสัญญาณขึ้นมาใช้เอง ตัวอย่างของอุปกรณ์ในกลุ่มนี้
                                                 ั
                   มีอาทิเช่น พวกกล้องถ่ายภาพทางอากาศ หรือ เครื่องกวาดภาพของดาวเทียม Landsat เป็ นต้น

              2. การตรวจวัดแบบแอกทีฟ (Active RS) หรือ แบบกัมมันต์

                    เครื่องตรวจวัดในกลุ่มนี้ จะวัดความเข้มของสัญญาณที่ตวมันเอง สร้างและส่งออกไป ซึ่งสะท้อนกลับมา
                                                                          ั
                    จากตัววัตถุเป็ นหลัก โดยอุปกรณ์สาคัญในกลุ่มนี้ ได้แก่ พวกเรดาร์ ไลดาร์ และ โซนาร์

     ข้อมูลเพิ่มเติม

          เครื่องตรวจวัด แบบเฉื่ อย จะมีทงแบบที่วดรังสีในช่วง แสงขาว (visible light) ช่วงอินฟราเรด (IR) และ
                                         ้ั      ั
          ช่วงไมโครเวฟ (microwave) ขณะทีเครื่องตรวจวัด แบบกัมมันต์ เช่นเรดาร์ จะทางานช่วง ไมโครเวฟ
                                            ่
          ส่วน ไลดาร์ ทางานช่วง VIS/NIR และจะทางานได้ ตลอดเวลา ทังกลางวันและกลางคืน
                                                                        ้
25

1.4 พัฒนาการของระบบการตรวจวัดจากระยะไกล
   โดยทัวไป ความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีการตรวจวัดจากระยะไกล จะขึ้นกับพัฒนาการของตัวแปรหลัก 3 ตัว คือ
         ่

               1. สถานี ตดตัง (platform) 2. เครื่องตรวจวัด (remote sensor) และ
                         ิ ้
                3. ระบบการประมวลผลข้อมูล (processing system)

   ทังนี้ พัฒนาการของ สถานี ติดตังที่สาคัญคือการเกิดขึ้นของ เครื่องบิน (airplane) ใน ค.ศ.1903 และ ดาวเทียม
      ้                             ้
        (satellite) ในปี ค.ศ.1957 ส่วนพัฒนาการของระบบการ ประมวลผล ข้อมูลที่สาคัญคือ การเกิดขึ้นของ ระบบ
        คอมพิวเตอร์ แบบ main frame ในช่วงยุค1960s-70s และ คอมพิวเตอร์สวนบุคคลในยุค 1980s
                                                                               ่

   โดยทัวไป เราสามารถแบ่ง พัฒนาการ ของระบบ RS ออกได้เป็ น 2 ช่วงหลักคือ
         ่

                                                                                                    ิ ้
            1. ก่อนปี ค.ศ.1960 - เป็ นยุคของ การสารวจทางอากาศ โดยมี เครื่องบินและบอลลูน เป็ นสถานี ตดตังสาคัญ
                สาหรับเทคนิ คการตรวจวัดที่ใช้มากที่สดคือ การถ่ายภาพทางอากาศ (aerial photography)
                                                    ุ

            2. ตังแต่ปี ค.ศ.1960 เป็ นต้นมา - เป็ นยุคของ การสารวจจากอวกาศ (space age) หรือ ยุคดาวเทียม เนื่ องจาก
                 ้
                                            ้
            อุปกรณ์ตรวจวัดที่สาคัญมักจะติดตังไว้บน ดาวเทียม ซึ่งโคจรอยู่รอบโลกเป็ นหลัก
   ตัวอย่างเทคนิ คการตรวจวัดข้อมูลจากระยะไกล ในยุค ก่อน คริสต์ศตวรรษที่ 20 รูปซ้ายมือ คือเทคนิ คการตรวจหา
        แหล่งน้ าหรือวัตถุท่จมอยู่ใต้ดิน ส่วน รูปขวามือ เป็ นภาพวาดของ Gaspard Felix ชาวฝรัง่ เศส ซึ่งเป็ นผูบกเบิก
                            ี                                                                                ุ้
        การถ่ายภาพพื้นผิวโลกจากบอลลูนมาตังแต่ปี ค.ศ. 1859
                                                ้




                                                                                               26
27

   Gaspard Felix Tournachon, better known as Nadar
28
   ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับ ระบบ RS ในช่วง ค.ศ. 1860-1950

           ปี ค.ศ.                                              เหตุการณ์ สาคัญ
           1860s       ยุคเริ่มต้ นของการถ่ ายภาพทางอากาศจาก บอลลูน ก่ อนที่จะเริ่มมีการใช้ ว่ าว ในปี ยุค 1880s
            1903       พีน้องตระกูลไรท์ (Wilbur and Orville Wright) ประสบความสาเร็จในการบินด้ วยเครื่องบิน
                          ่
                       เป็ นครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ที่รัฐ North Carolina ของประเทศสหรัฐอเมริกา
            1908       มีการถ่ ายภาพทางอากาศจากเครื่องบินเป็ นครั้งแรกในประเทศฝรั่งเศส โดย L. P. Bonvillain จาก
                       เครื่องบินที่ควบคุมโดย Wilbur Wright
           1910s       เทคโนโลยีการ ถ่ ายภาพจาก ทางอากาศ ได้ รับการพัฒนาขึนมาใช้ งานอย่ างเป็ นระบบมากขึน
                                                                          ้                             ้
                       โดยเฉพาะเพือใช้ ประโยชน์ ทางการทหารในช่ วง WW I
                                  ่
           1920s       รัฐบาลของประเทศสหรัฐฯและแคนาดา เริ่มใช้ ข้อมูลภาพถ่ ายทางอากาศในการจัดทาแผนที่ป่าไม้
                       ของตนอย่ างเป็ นระบบ ขึนเป็ นครั้งแรก
                                              ้
           1930s       ระบบ เรดาร์ ภาคพืนดิน เริ่มได้ รับการพัฒนาขึนมาใช้ งาน ในประเทศ เยอรมัน สหรัฐฯ และ อังกฤษ
                                        ้                          ้
         1940-1950     เครื่องตรวจวัดหลายช่ วงคลื่น (MSS) ได้ รับการพัฒนาขึน สาหรับใช้ ในภารกิจทางทหารเป็ นหลัก
                                                                           ้
                       รวมไปถึงการใช้ ประโยชน์ ของ เรดาร์ ภาคพืนดิน อย่ างกว้ างขวางในช่ วง WW II
                                                                 ้
29
 ภาพถ่ ายทางอากาศเก่ าแก่ ท่สุดในปัจจุบันคือ ภาพนครบอสตัน ซึ่งถ่ ายจากบอลลูนโดย James Black ในปี ค.ศ.1860
                             ี
 ภาพการบินครั้งแรกของ พีน้องตระกูลไรท์ (The Wright Brothers) เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1903
                         ่




                                                                           30
 ตัวอย่ างภาพถ่ ายทางอากาศ แสดงข้ อมูลในเขต ฐานปล่31ยจรวด V-2 ของกองทัพเยอรมัน ในช่ วง WW II
                                                    อ
 ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (1)
 ปี ค.ศ.                                         เหตุการณ์ สาคัญ
  1957       สหภาพโซเวียต ส่ ง ดาวเทียม ขึนไปโคจรรอบโลกได้ สาเร็จเป็ นครั้งแรก ชื่อว่ า Sputnik-1 ใน
                                            ้
             วันที่ 4 ตุลาคม ก่ อนที่สหรัฐฯจะส่ งดาวเทียม Explorer-1 ตามขึนไป ในอีก 4 เดือนต่ อมา
                                                                          ้
  1958       สหรัฐฯ ก่ อตั้งองค์ การ NASA ขึนมาดูแลการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศโดยตรง
                                            ้

  1960       TIROS-I ดาวเทียมสารวจดวงแรกของสหรัฐฯ เริ่มบุกเบิกการสารวจบรรยากาศของโลก
             จากระยะไกล โดยมีอุปกรณ์ สาคัญคือ กล้ องถ่ ายภาพโทรทัศน์ (TV camera) 2 ตัว
  1964       ดาวเทียมอุตนิยมวิทยา NIMBUS-I ของสหรัฐฯ เริ่มการทางาน นับเป็ นดาวเทียมดวงแรก
                           ุ
             ที่ใช้ วงโคจร ตามตะวัน (sun synchronous orbit)
  1968       สหรัฐฯ เริ่มทดสอบการถ่ ายภาพใน หลายช่ วงคลื่น (multispectral photography) ของโลก
             จากยาน Apollo-9 รวมถึงการถ่ ายภาพโลกจากยาน Apollo-8 ซึ่งกาลังโคจรรอบดวงจันทร์
  1970       สหรัฐฯ ก่ อตั้งองค์ การ NOAA ขึนมาดูแลการใช้ ประโยชน์ จากดาวเทียมของตนโดยตรง
                                            ้

  1971       สหภาพโซเวียต ส่ ง สถานีอวกาศ ขึนไปโคจรรอบโลกได้ สาเร็จเป็ นครั้งแรก ชื่อ Salyut-1
                                              ้
             ก่ อนที่สหรัฐฯ จะส่ งสถานีอวกาศ Skylab ของตน ตามขึนไปในปี ค.ศ.1973
                                                               ้
                                                                              32
 รู ปดาวเทียม Sputnik-1 ของสหภาพโซเวียต ซึ่งขึนไปโคจรรอบโลกเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957
                                               ้ 33
34

   บทกวีท่แต่งโดย G. Mennen Williams ผูว่าการรัฐ Michigan เกี่ยวกับการปล่อยดาวเทียม Sputnik-1 ของ
           ี                            ้
      สหภาพโซเวียต แสดงให้เห็นถึงความไม่พอใจในการทางานของประธานาธิบดี Eisenhower

                                     Oh little Sputnik, flying high
                                     With made-in-Moscow beep,
                                  You tell the world it's a Commie sky
                                        and Uncle Sam's asleep.
                                   You say on fairway and on rough
                                      The Kremlin knows it all,
                                   We hope our golfer knows enough
                                         To get us on the ball.
35

 รู ปดาวเทียม TIROS-I ขององค์ การนาซา ซึ่งเริ่มทางานในปี ค.ศ. 1960 และ ภาพแรก ที่มันส่ งกลับมายังโลก
 ตัวอย่ างการสร้ าง แผนที่สภาพอากาศ โดยใช้36้ อมูลที่ได้ มาจากดาวเทียม TIROS-I
                                            ข
37
 ภาพถ่ ายที่มีชื่อเสี ยงของ โลก จากยาน Apollo-8 ขณะโคจรรอบดวงจันทร์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 1968
38
 ตัวอย่ างภาพถ่ ายแต่ งสี ของ โลก จากยาน Apollo-9 ขณะโคจรรอบโลก ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1969
39
 ตัวอย่ าง ภาพถ่ ายแต่ งสี ช่ วง NIR ซึ่งถ่ ายจากยานอวกาศ Apollo-9 บริเวณรัฐแคลิฟอร์ เนีย
 รู ปสถานีอวกาศ Skylab ขององค์ การนาซา ซึ่งเริ่มทางานเมื40ปี ค.ศ.1973 ก่ อนจะยุติการทางานลงในปี ค.ศ.1979
                                                         ่อ
 ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (2)

 ปี ค.ศ.                                        เหตุการณ์ สาคัญ
  1972      ดาวเทียม Landsat-1 เริ่มการทางาน ที่ความสู ง 920 กม.จากผิวโลก ถือเป็ นดาวเทียมสารวจ
            ทรัพยากรประสิ ทธิภาพสู ง ดวงแรกของโลก โดยมีอุปกรณ์ สาคัญคือ เครื่อง MSS และ RBV
  1975      ดาวเทียมอุตนิยมวิทยาดวงแรกของ NOAA ชื่อ GOES-1 เริ่มการทางานที่ระดับความสู ง
                        ุ
            36,000 กิโลเมตร จากผิวโลก ทาให้ สารวจผิวโลกได้ ประมาณ 35-40 เปอร์ เซ็นต์ ต่อครั้ง
  1982      ดาวเทียม Landsat-4 เริ่มการทางาน โดยมีอุปกรณ์ ที่สาคัญคือ เครื่อง MSS และ TM นับเป็ น
            การเริ่มต้ น ยุคที่สอง ของโครงการ Landsat ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ ปี ค.ศ.1972
  1984      ดาวเทียม SPOT-1 ของฝรั่งเศส เริ่มการทางาน ที่ระดับความสู ง 830 กม.จากผิวโลก โดยมี
            อุปกรณ์ ที่สาคัญคือ เครื่อง HRV (High Resolution Visible Scanner)
  1986      สถานีอวกาศ Mir ของสหภาพโซเวียตเริ่มการทางาน นับเป็ นสถานีอวกาศถาวรแห่ งแรก
            ของโลก ก่ อนที่มันจะยุติการทางานลงในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2001
  1992      ญี่ปุ่น ส่ งดาวเทียมสารวจทรัพยากรดวงแรกของตนออกสู่ อวกาศชื่อ JERS-1


                                                                              41
   ลักษณะของดาวเทียม Landsat ในยุคแรก ที่เห็นคือภาพโครงสร้างของดาวเทียม Landsat-1




                                                                      42
43
44
 ตัวอย่ างภาพขาวดาของ พืนผิวโลก ที่ได้ จากข้ อมูลต่ างแบนด์ กันของดาวเทียม Landsat ในปี ค.ศ. 1972
                         ้
45
 ตัวอย่ างภาพแต่ งสี ของ พืนผิวโลก ในช่ วงแสงขาว ที่ได้ จากดาวเทียม Landsat-5 ของสหรัฐฯ
                            ้
้ 46
 ตัวอย่ างภาพดาวเทียมของ บรรยากาศและพืนผิวโลก ที่ได้ มาจากดาวเทียมสถิต GOES-9
 ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (3)

 1995        ดาวเทียม RADARSAT-1 ของแคนาดาเริ่มการทางาน โดยมีอุปกรณ์ สาคัญคือ เครื่อง SAR
             (Synthetic Aperture Radar) สาหรับ RADARSAT-2 มีกาหนดปล่ อยในปี ค.ศ. 2004
 1999        ดาวเทียม IKONOS เริ่มการทางาน โดยมีความละเอียด 1 เมตร ในระบบขาวดา และ
             4 เมตร ในระบบสี นับเป็ นดาวเทียมเชิงพาณิชย์ ที่มีค่าความละเอียดดีที่สุดในยุคนั้น
 1999        ดาวเทียม Landsat-7 เริ่มการทางาน โดยมีอุปกรณ์ ใหม่ ท่สาคัญ คือ เครื่อง ETM+
                                                                  ี
             (Enhanced Thematic Mapper Plus)
 1999        ดาวเทียม Terra เริ่มการทางานในอวกาศ นับเป็ นดาวเทียมดวงแรก ในโครงการสารวจโลก
             (Earth Observing System: EOS) ของสหรัฐฯ ตามมาด้ วยดาว Aqua ในปี ค.ศ. 2002
             และ ดาวเทียม Aura ในปี ค.ศ. 2004
 2001        ดาวเทียม QuickBird เริ่มการทางาน นับเป็ นดาวเทียมสารวจเชิงพาณิชย์ ที่มีความละเอียด
             สู งสุ ดในปัจจุบัน คือประมาณ 61 เซนติเมตร ในระบบขาวดา และ 2.5 เมตร ในระบบสี




                                                                              47
 ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (4)

 2002        ดาวเทียม SPOT-5 เริ่มการทางาน นับเป็ นดวงล่ าสุ ดของโครงการ SPOT และดาวเทียม
             สารวจ ADEOS-2 ของญี่ปุ่นเริ่มการทางาน ทดแทนดวงแรกที่หยุดทางานไปเมื่อปี 1997
             ก่ อนจะยุตการทางานในปี ถัดมา
                       ิ
 2006        ดาวเทียมสารวจโลก ALOS ของประเทศญี่ปุ่นเริ่มการทางาน – มาแทน ADEOS-2

 2007        ดาวเทียม RADARSAT-2 ของแคนาดา เริ่มการทางาน

 2008        ดาวเทียมสารวจโลก THEOS ของประเทศไทย เริ่มการทางาน - ตอนนี้รอปล่ อยอยู่




                                                                            48
49
 ภาพจาลองดาวเทียม Landsat-7 ของสหรัฐฯ ขณะทางานในอวกาศ
50
 ภาพชุดแรกที่ได้ จากดาวเทียม IKONOS เป็ นภาพของนคร วอชิงตัน DC ความละเอียด 1 เมตร
51
 ตัวอย่ างภาพที่ได้ จากดาวเทียม IKONOS ความละเอียด 1 เมตร
52
 ตัวอย่ างภาพสี ธรรมชาติของ วัดพระแก้ ว ที่ได้ มาจากดาวเทียม IKONOS
53

1.5 ประโยชน์ของการตรวจวัดจากระยะไกล
   การตรวจวัดจากระยะไกลมี ข้อดี อยู่หลายประการ ซึ่งเป็ นประโยชน์มากต่อการศึกษาองค์ประกอบและ
       โครงสร้างของบรรยากาศและพื้นผิวโลก ทังในระดับ ท้องถิ่นและระดับโลก อาทิเช่น
                                            ้
             1. ตรวจวัดครอบคลุมพื้นที่ได้เป็ น บริเวณกว้าง ในแต่ละครัง โดยเฉพาะการตรวจวัดจากอวกาศ
                                                                     ้
                 ทาให้มองภาพรวมได้งาย และได้ขอมูลที่ค่อนข้างทันต่อเหตุการณ์
                                   ่               ้
             2. ตรวจวัดได้ใน หลายระดับ ของ ความละเอียด ทังความละเอียดเชิงพื้นที่และความละเอียดเชิงรังสี
                                                         ้
                 ขึ้นอยู่กบความสามารถของอุปกรณ์ และระดับความสูงของสถานี ติดตัง เป็ นสาคัญ
                          ั                                                  ้
                                             ้
             3. ตรวจวัดได้ อย่างต่อเนื่ อง ทังในช่วงกลางวันและช่วงกลางคืน โดยเฉพาะการตรวจวัดในช่วง
                 เทอร์มอลอินฟราเรด (TIR) และ ไมโครเวฟ
             4. ตรวจวัดได้ใน หลายช่วงคลืน ไม่เฉพาะในช่วงแสงขาวที่ตาเรามองเห็นเท่านั้น ทาให้ได้ขอมูล
                                               ่                                               ้
                 เกี่ยวกับวัตถุหรือพื้นที่ท่ศึกษา มากกว่าทีเรารับรูตามปกติมาก
                                            ี             ่        ้
             5. ตรวจวัดข้อมูลในพื้นที่ ที่เข้าถึงทางพื้นดินลาบาก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่ องจากอุปกรณ์ท่ใช้
                                                                                                          ี
                 ต้องการเพียงสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ที่มาจากพื้นทีท่ศึกษา เท่านั้นในการทางาน
                                                                         ่ี
 ภาพของ นครนิวยอร์ ค จากดาวเทียม SPOT-3 เมื่อวั54ที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ความละเอียด 20 เมตร
                                                น
55
 ภาพของ นครนิวยอร์ ค จากดาวเทียม IKONOS เมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 2001 ความละเอียด 1 เมตร
56
 ภาพความเสี ยหายของ ตึกเพนตากอน ของสหรัฐอเมริกา ที่เห็นจาก ดาวเทียม ความละเอียดสู ง
57
   สาหรับ ข้อด้อย ของการตรวจวัดจากระยะไกล ที่เห็นได้ชดมีอาทิเช่น
                                                      ั

             1. ต้องใช้ งบลงทุน ในเบื้องต้นและงบดาเนิ นการสูง โดยเฉพาะในการจัดหาสถานี ตดตังและการสร้าง
                                                                                       ิ ้
                อุปกรณ์ตรวจวัด เนื่ องจากเป็ นเทคโนโลยีระดับสูง

             2. ต้องใช้ บุคลากร ที่ได้รบการฝึ กฝนมาโดยเฉพาะในการดาเนิ นงาน เนื่ องจากต้องการผูท่มีความรู ้
                                       ั                                                      ้ี
                พื้นฐานที่ดีมากพอสาหรับการ บริหารจัดการ ระบบและการ ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลที่ได้

             3. ข้อมูลที่ได้บางครังยังขาด ความละเอียด เชิงพื้นที่มากพอ เนื่ องมาจากเป็ นการสารวจจากระยะไกล
                                  ้
                 ทาให้การศึกษาในบางเรื่องอาจมีขอจากัดอยู่มากพอควร
                                                ้

                                  ้                                                           ้
             4. ข้อมูลที่ได้บางครังยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้จากหลายสาเหตุ ทังส่วนที่เกิดมาจาก
                 ความบกพร่องของตัวระบบเอง และส่วนที่เกิดมาจากสภาวะแวดล้อมขณะทาการตรวจวัด
                                                        58
      สาหรับแนวทาง การใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจวัดจากระยะไกล มีอาทิเช่น
    1. การสารวจทางโบราณคดีและมานุ ษยวิทยา (Archaeology and Anthropology Study)
        ที่สาคัญคือ การสารวจ ที่ตง ของแหล่งโบราณสถาน ในพื้นทีซ่ึงยากต่อการเข้าถึงทางพื้นดิน รวมถึง
                                   ้ั                              ่
        ที่อยู่ ใต้ผิวดินไม่ลกมากนัก โดยมักใช้ขอมูลที่ได้จากเรดาร์และเครื่องวัดการแผ่รงสีช่วง IR
                             ึ                 ้                                      ั

2. การรังวัดภาพและการทาแผนที่ (Photogrammetry and Cartography)
       ที่สาคัญคือการทา แผนที่แสดง ลักษณะภูมิประเทศ (topographic map) และ แผนที่แสดง ข้อมูลเฉพาะอย่าง
       (thematic map) ซึ่งมักต้องใช้เทคนิ คทาง GIS เข้ามาช่วยด้วย

3.     การสารวจทางธรณี วทยา (Geological Survey)
                        ิ
        ที่สาคัญคือ การสารวจโครงสร้างชันดินและชันหิน การสารวจแหล่งแร่ การสารวจแหล่งน้ ามัน
                                       ้        ้
        การสารวจแหล่งน้ าใต้ดิน และ การสารวจพื้นที่เขตภูเขาไฟและเขตแผ่นดินไหว เป็ นต้น

4.     การศึกษาทางวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
        ที่สาคัญคือ การศึกษาพื้นที่ (site study) การวางผังระบบสาธารณู ปโภค (infrastructure planning)
        และ การวางแผนจัดระบบการขนส่งและการจราจร (transport and traffic planning) เป็ นต้น
59

 ภาพถ่ ายทางอากาศของ นครวัด (Angkor Wat) ประเทศกัมพูชา ในปี ค.ศ.1999
60

 แผนที่ของเขต นครวัด (Angkor Wat) และ นครธม (Angkor Thom) ในประเทศกัมพูชา
 ภาพของ นครวัด (Angkor Wat) ประเทศกัม61 ชา จากดาวเทียม JERS-1 ในปี ค.ศ.1995
                                       พู
 ตัวอย่ างภาพเรดาร์ แสดง ลักษณะภูมิประเทศ (topographic image) ในรัฐแคลิฟอร์ เนีย
                                           62
63

5. การศึกษาในภาคเกษตรและการจัดการป่ าไม้ (Agricultural and Forestry Study)
   ที่สาคัญมีอาทิเช่น การใช้ประโยชน์ท่ดินภาคเกษตร การสารวจคุณภาพดิน การสารวจความสมบูรณ์
                                      ี
   ของพืชพรรณ และ การตรวจสอบการใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้ตามเวลา เป็ นต้น

6. การวางผังเมือง (Urban planning)
    ที่สาคัญมีอาทิเช่น การใช้ประโยชน์ท่ดินในเขตเมือง การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพและขนาดของเขตเมือง
                                       ี
     และการออกแบบพื้นที่เชิงภูมิสถาปัตย์ (landscape modeling) เป็ นต้น

7. การศึกษาแนวชายฝังและมหาสมุทร (Coastal and Oceanic Study)
                   ่
    ที่สาคัญมีอาทิเช่น การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพและขนาดของเขตชายฝัง การจัดการพื้นที่ชายฝัง และ
                                                                    ่                     ่
     การศึกษาคุณสมบัตเิ ชิงกายภาพและเชิงเคมีของน้ าทะเลระดับบน เช่น อุณหภูมิหรือความเค็ม เป็ นต้น
8. การติดตามตรวจสอบภัยธรรมชาติ (Natural Disaster Monitoring)
    ที่สาคัญมีอาทิเช่น น้ าท่วม แผ่นดินถล่ม การระเบิดของภูเขาไฟ แผ่นดินไหว การเกิดไฟป่ า หรือ
     การเกิดไฟในแหล่งถ่านหินใต้ผิวดิน (subsurface coal fires) เป็ นต้น
64
   ตัวอย่างภาพสีธรรมชาติจากเครื่อง Landsat/TM แสดง การใช้ประโยชน์ท่ดิน ในรูปแบบที่แตกต่างกันไป
                                                                    ี
 ตัวอย่ างภาพดาวเทียมแสดง ลักษณะภูมิประเทศ และความสมบูรณ์ ของ พืชพรรณ ในสหรัฐอเมริกา
                                               65
66
 ตัวอย่ างภาพการเกิดเหตุการณ์ Tsunami ที่ประเทศศรีลังกา สั งเกตการลดลงของระดับน้าทะเลอย่ างรวดเร็ว
67
 ตัวอย่ างความเสี ยหายจากเหตุการณ์ Tsunami ที่บริเวณหาดเขาหลัก อาเภอตะกั่วป่ า จังหวัดพังงา
68
69
9. การสารวจบรรยากาศและงานวิจยทางอุตนิยมวิทยา (Atmospheric and Meteorological Study)
                            ั      ุ

                                                            ้
    ที่สาคัญมีอาทิเช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในช่วงสัน การศึกษาองค์ประกอบของอากาศ
    ที่ระดับความสูงต่าง ๆ เช่น ไอน้ า คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ โอโซน รวมไปถึง การตรวจสอบ
    การแปรปรวนของอากาศระดับล่าง เช่น การเกิดพายุขนาดใหญ่ หรือ พายุฝนฟ้ าคะนอง เป็ นต้น

10. การศึกษาทางนิ เวศวิทยาและสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ (Ecosystem and Natural Environment Study)

   ที่สาคัญมีอาทิเช่น การศึกษาระบบนิ เวศน์ของป่ าเขตร้อน ระบบนิ เวศน์ป่าริมน้ า การวิเคราะห์ถ่นอาศัย
                                                                                              ิ
    ของสัตว์ป่า หรือ การวิเคราะห์ความเสือมโทรมของสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เป็ นต้น
                                        ่

11. การหาข้อมูลเพื่อภารกิจทางทหาร (Military Services)

     ที่สาคัญคือ การถ่ายภาพจากทางอากาศด้วยเครื่องบินสอดแนม (spy plane) และ การสารวจพื้นที่
     ที่สนใจ โดยใช้เครื่องตรวจวัดประสิทธิภาพสูงบนดาวเทียม
70
 ภาพดาวเทียมของพายุไต้ ฝุ่น Imbudo ซึ่งเกิดในเขตทะเลจีนใต้ ในช่ วงเดือนกรกฎาคม 2546
71

 ตัวอย่ างข้ อมูล ปริมาณน้าฝน ใน 3 มิติ ของพายุไต้ ฝน Sinlaku ที่ได้ จากดาวเทียม TRMM
                                                     ุ่
 ข้ อมูลของ ชั้นโอโซน ในแถบขั้วโลกใต้ เปรียบเทียบ ระหว่ างปี ค.ศ.2000, 2002 และ 2003 จากเครื่อง TOMS




                                                                              72
73
 ตัวอย่ างแนว การประยุกต์ ใช้ งาน ของเทคโนโลยีดาวเทียมทาง RS ในปัจจุบัน

More Related Content

What's hot

ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
Dnavaroj Dnaka
 
2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)
saintja
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
Somporn Amornwech
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
มารินทร์ จานแก้ว
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
Chay Kung
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
wittawat_name
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
Ploykarn Lamdual
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
pavinee2515
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
stampmin
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
Circle of light วงของแสง
Circle of light วงของแสงCircle of light วงของแสง
Circle of light วงของแสง
K.s. Mam
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
Pinutchaya Nakchumroon
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
เทวัญ ภูพานทอง
 
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไรรัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
สุรพล ศรีบุญทรง
 

What's hot (20)

ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
Circle of light วงของแสง
Circle of light วงของแสงCircle of light วงของแสง
Circle of light วงของแสง
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไรรัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
รัฐธรรมนูญที่ดีควรมีลักษณะเช่นไร
 

Similar to หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1

First Week
First WeekFirst Week
First Week
wirotela
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407Palm Siripakorn
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602
CUPress
 
Spat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat RdbmsSpat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat Rdbmsphisan_chula
 
หลักการของรีโมตเซนซิ่ง
หลักการของรีโมตเซนซิ่งหลักการของรีโมตเซนซิ่ง
หลักการของรีโมตเซนซิ่ง
Muay Muay Somruthai
 
Computer1
Computer1Computer1
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySunt Uttayarath
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
กาญจนา อรอินทร์
 
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
chanok
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
PraewfulWonderwonder WonderfulWonderwonder
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
Thamonwan Phasopbuchatham
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพ
Muay Muay Somruthai
 
9789740332930
97897403329309789740332930
9789740332930
CUPress
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 

Similar to หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 (20)

First Week
First WeekFirst Week
First Week
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602
 
Spat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat RdbmsSpat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat Rdbms
 
หลักการของรีโมตเซนซิ่ง
หลักการของรีโมตเซนซิ่งหลักการของรีโมตเซนซิ่ง
หลักการของรีโมตเซนซิ่ง
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum Library
 
Gis
GisGis
Gis
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
SMMS 53 R S Software
SMMS 53  R S  SoftwareSMMS 53  R S  Software
SMMS 53 R S Software
 
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
9789740332930
97897403329309789740332930
9789740332930
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 

หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1

  • 1. 1 บทที่ 1 พัฒนาการของการสารวจจากระยะไกล  1.1 ความหมายของคาว่า “Remote Sensing”  1.2 หลักการทางานของระบบตรวจวัดจากระยะไกล  1.3 ประเภทของการตรวจวัดจากระยะไกล  1.4 พัฒนาการของระบบการตรวจวัดจากระยะไกล  1.5 ประโยชน์ของการตรวจวัดจากระยะไกล
  • 2. 2 วัตถุประสงค์ประจาบท 1. ทราบถึงองค์ประกอบและหลักการทางานพื้นฐานของ remote sensing 2. ทราบถึงพัฒนาการโดยย่อของเทคโนโลยี remote sensing 3. ทราบถึงแนวการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี remote sensing โดยทัวไป ่
  • 3. 1.1 ความหมายของคาว่า “Remote Sensing”  การสารวจ ทางภูมิศาสตร์ (geographic surveying) โดยทัวไป อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบหลัก คือ ่ 1. การสารวจในพื้นที่หรือสถานการณ์จริง (in situ measurement) และ 2. การสารวจจากระยะไกล (remote sensing)  คาว่า “Remote Sensing: RS” เริ่มถูกนามาใช้เป็ นครังแรกโดยนักวิจยในประเทศสหรัฐอเมริกาในยุค 1960s ้ ั ซึ่งเป็ นช่วงที่การตรวจวัดจากระยะไกล ด้วยดาวเทียม (Satellite RS) ได้รบการพัฒนาขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ั โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาและในสหภาพโซเวียต  “Remote Sensing” เป็ นศาสตร์ของการศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบของพื้นผิวและชันบรรยากาศโลก ้ จากระยะไกล โดยอาศัยอุปกรณ์การตรวจวัด ซึ่งมักใช้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นสือในการได้มาซึ่งข้อมูล เช่น ่ กล้องถ่ายภาพทางอากาศ เรดาร์ หรือ เครื่องกวาดภาพบนดาวเทียม เป็ นต้น  สาหรับชื่อเรียกคานี้ ใน ภาษาไทย ที่พบทัวไป จะมีอยู่ 4 แบบ คือ ่ 1. การรับรูจากระยะไกล (ราชบัณฑิตฯ) ้ 2. การสารวจข้อมูลจากระยะไกล 3. การตรวจวัดข้อมูลจากระยะไกล 4. ระบบสัมผัสระยะไกล 3
  • 4. 4 1.1.1 คาจากัดความของ “Remote Sensing”  สาหรับ คาจากัดความ ของคานี้ ที่เป็ น ภาษาไทย มีเช่น 1. วิทยาศาสตร์และศิลปะของการได้มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับ วัตถุ พื้นที่ หรือ ปรากฏการณ์ จากเครื่องบันทึกข้อมูล ้ โดยปราศจากการเข้าไปสัมผัสวัตถุเป้ าหมาย ทังนี้ โดยอาศัยคุณสมบัตของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นสือ ิ ่ ในการได้มาของข้อมูล (สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ 2536)  สาหรับคาจากัดความซึ่งเป็ น ภาษาอังกฤษ ของ คาว่า “Remote Sensing” มีอาทิเช่น 1. The acquisition of physical data of an object without touch or contact. (กว้างที่สด) ุ 2. Science of acquiring, processing and interpreting images that record the interaction between electromagnetic energy and matter. 3. The instrumentation, techniques and methods to observe the Earth’s surface at a distance and to interpret the images or numerical values obtained in order to acquire meaningful information of particular object on Earth. 4. Science and art of obtaining information about an object, area, or phenomenon through the analysis of data acquired by a device that is not in contact with the object, area or phenomenon under investigation.
  • 5. 5 1.1.2 องค์ประกอบของระบบ RS  ้ จาก คาจากัดความ ทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษดังกล่าว ทาให้เราสามารถ จาแนก องค์ประกอบของระบบ การตรวจวัดจากระยะไกลออกได้เป็ น 3 ส่วนหลัก คือ 1. แหล่งข้อมูลของการตรวจวัด (Target Sources) :ในที่น้ ี คอ พื้นผิวโลก และ ชันบรรยากาศโลก ื ้ 2. อุปกรณ์การตรวจวัดจากระยะไกล (Remote Sensor) : มักใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นสือในการตรวจวัด ่ 3. ระบบการประมวลผลข้อมูล (Data Processing System) : ใช้ผูปฏิบตการและระบบคอมพิวเตอร์ ้ ัิ  ในช่วงแรก ๆ (ยุค 1960s) คาว่า “Remote Sensing” จะใช้มากในการศึกษาวิจยทางภูมิศาสตร์โดยเฉพาะการรังวัด ั ภาพถ่าย (photogrammetry) และการแปลภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสายตาเป็ นหลัก (เนื่ องจากระบบคอมพิวเตอร์ยงไม่ได้รบการพัฒนามากนัก) ั ั  อย่างไรก็ตาม ตังแต่ยุค 1970s เป็ นต้นมาจนถึงปัจจุบน คานี้ มกจะถูกใช้กบงานสารวจโดยอุปกรณ์ท่ตดตังไว้บน ้ ั ั ั ีิ ้ ดาวเทียมสารวจแผ่นดิน (land observation satellite) เช่น Landsat หรือ SPOT และดาวเทียมสารวจสภาพอากาศ ของโลก (weather satellite) เช่น GOES, GMS หรือ NOAA เป็ นสาคัญ  สังเกตว่า “ดวงตา” (eyes) ของเรา อาจถือเป็ นอุปกรณ์การสารวจระยะไกลประเภทหนึ่ ง โดยมี สมอง ของเรา ทางานคล้ายกับเป็ น หน่ วยประมวลผล (processing unit) หรือหน่ วยแปลความหมายของข้อมูลที่ได้รบ ั ผ่านสายตาของเรามา (หลักการทางานคล้ายกล้องถ่ายรูป)
  • 6. 6  ภาพเปรียบเทียบการทางานของ กล้ องถ่ ายภาพ และ ดวงตามนุษย์ ซึ่งจะมีหลักการคล้ ายกันมาก
  • 7. 1.2 หลักการทางานของระบบตรวจวัดจากระยะไกล 1.2.1 ผังการทางานพื้นฐาน  โดยปกติผงการทางานพื้นฐานของระบบ RS ร่วมกับ GIS (เรียกว่า “ระบบภูมิสารสนเทศ”) จะเป็ นดังนี้ ั แหล่ งข้ อมูล เครื่องตรวจวัด การแก้ ไขและ การวิเคราะห์ และ Sources จากระยะไกล ปรับแต่ งข้ อมูล แปลข้ อมูล การแสดงผลและ การใช้ ประโยชน์ ข้อมูล สร้ างฐานข้ อมูล โดยใช้ เทคนิคทาง GIS  ด้วยเหตุน้ ี การศึกษาทาง ภูมิสารสนเทศ (geoinformatics) จะประกอบไปด้วยเนื้ อหา 3 ส่วนหลัก คือ 1. การตรวจวัดจากระยะไกล (remote sensing) 2. การวิเคราะห์และแปลภาพ (image processing) และ 3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการประยุกต์ (GIS-based Applications) 7
  • 8. 8  จะเห็นได้ว่า ผังการทางาน พื้นฐานของระบบ RS ร่วมกับ GIS จะแยกออกได้เป็ น 5 ส่วน ดังนี้ 1. การได้มาซึ่งข้อมูล (data acquisition) 2. การแก้ไขและปรับแต่งข้อมูล (data correction and enhancement) 3. การวิเคราะห์และแปลข้อมูล (data analysis and interpretation) และ 4. การแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล (data presentation and database management) 5. การประยุกต์ใช้ขอมูลร่วมกับเทคนิ คทาง GIS (GIS-based data application) ้  ในส่วนของ การได้มาซึ่งข้อมูล จะมีองค์ประกอบหลักอยู่ 2 ส่วน คือ 1. แหล่งข้อมูล (source) ในที่น้ ี หมายถึง พื้นที่เป้ าหมาย ของการสารวจ ซึ่งอาจอยู่บนผิวโลกหรือในบรรยากาศ ของโลกก็ได้ แต่ท่สาคัญ ต้องเป็ นเขตที่สามารถ สร้างหรือสะท้อน สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EM Wave) ี ออกมาได้ สาหรับเป็ นสือในการตรวจวัดโดยอุปกรณ์ท่ใช้งานอยู่ ่ ี 2. เครื่องตรวจวัดจากระยะไกล (remote sensor) เป็ นอุปกรณ์ซ่ึงถูกออกแบบมาสาหรับการตรวจวัดสัญญาณ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึ่งออกมาจากพื้นที่เป้ าหมาย แยกตามช่วงคลื่นที่เหมาะสม โดยมันมักถูกมักติดตังไว้บน ้ เครื่องบิน บอลลูน หรือ บนดาวเทียม ทาให้สามารถสารวจผิวโลกได้เป็ นพื้นที่กว้าง
  • 9. 9  สาหรับในส่วนของ การแก้ไขและปรับแต่งข้อมูล เป็ นการปรับแก้ขอมูลให้มีความถูกต้องและเหมาะสมสาหรับใช้ ้ ในการประมวลผลมากยิ่งขึ้น โดยการปรับแก้จะแบ่งเป็ น 2 แบบหลัก คือ 1. การปรับแก้ ความคลาดเคลื่อนเชิงรังสี (radiometric correction) - ปรับแก้เชิงโทนสี และ 2. การปรับแก้ความ คลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิ ต (geometric correction) - ปรับแก้เชิงขนาดและรูปร่าง  สาหรับ การวิเคราะห์และแปลข้อมูล (data analysis and interpretation) เป็ นการวิเคราะห์ขอมูลอย่างละเอียด ้ เพื่อใช้งานตามวัตถุประสงค์ของสิงที่ตองการทา ที่สาคัญคือเทคนิ ค การจาแนกองค์ประกอบ ของภาพดาวเทียม ่ ้ หรือภาพถ่ายทางอากาศ เป็ นต้น (เรียกว่า image classification)  ้ สาหรับในส่วนของ การแสดงผล และ การจัดเก็บข้อมูล เป็ นขันตอนของการเผยแพร่ผลการศึกษาต่อผูสนใจ้ รวมไปถึงการจัดเก็บข้อมูลและผลการศึกษาดังกล่าว สาหรับใช้เป็ น ฐานข้อมูล ของงานในอนาคต ในรูปของ ผลิตภัณฑ์สารสนเทศ (IT product) เช่น บันทึก รายงาน หรือ สิงตีพมพ์ เป็ นต้น ่ ิ  ขันสุดท้าย คือการนาเอาข้อมูลและผลการศึกษาที่ได้จากกระบวนการทาง RS ไปใช้ ในการศึกษาวิจยอืน ๆ โดย ้ ั ่ ใช้เทคนิ คทาง GIS (geographic information system) เข้ามาช่วย ซึ่งเราจะได้เรียนมากขึ้นในวิชา GIS
  • 12. 1.2.2 รูปแบบของการตรวจวัดรังสี  ในการ ตรวจวัดข้อมูล ของพื้นผิวโลกหรือชันบรรยากาศ จากระยะไกล มักทาโดยใช้ อุปกรณ์การตรวจวัดที่ ้ ้ ิ ้ ติดตังไว้บน สถานี ตดตัง (platform) ซึ่งโคจรอยู่สูงจากผิวโลกพอควร เช่น เครื่องบิน บอลลูน หรือ ดาวเทียม ทาให้มนสามารถสารวจผิวโลกได้เป็ นพื้นที่ กว้างกว่า การสารวจจากพื้นดิน ั  ในการทางาน อุปกรณ์ดงกล่าวจะตรวจวัด ความเข้ม ของรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EM Wave) ที่ ออกมา จาก ั วัตถุท่มนกาลังมองดูอยู่เป็ นหลัก ซึ่งค่าที่ได้จะเป็ น ความเข้มเฉลี่ย ของรังสีในกรอบการมองของอุปกรณ์ ี ั แต่ละครัง (IFOV) บนวัตถุหรือพื้นผิวเป้ าหมาย (target area) ้  ทังนี้ รังสี ที่ออกมาจากพื้นที่สารวจ ซึ่งเครื่องวัดได้ ในแต่ละครัง ดังกล่าว จะมีท่มาจาก 3 แหล่ง หลัก คือ ้ ้ ี 1. รังสีท่ตววัตถุแผ่ออกมาเองตามธรรมชาติ (radiation หรือ emission) ี ั 2. แสงอาทิตย์ท่สะท้อนออกมาจากผิวของวัตถุ (reflected sunlight) และ ี 3. รังสีสะท้อนจากตัววัตถุ ที่สงมาจากตัวเครื่องตรวจวัดเอง (reflected sensor’s signal) ่ 12
  • 13. 13  ลักษณะของการตรวจวัด รังสี คลื่นแม่ เหล็กไฟฟา ในระบบการตรวจวัดจากระยะไกล ้
  • 14. 14  โดยทัวไป อุปกรณ์ตรวจวัดแต่ละตัว มักจะถูกออกแบบมาให้ตรวจวัดได้ ดีท่สด ในช่วงความยาวคลืนแคบ ๆ ่ ีุ ่ ช่วงหนึ่ งเท่านั้น เรียกว่าเป็ น ช่วงคลื่นของการตรวจวัด (spectral range) หรือ แบนด์ (band) ของอุปกรณ์  แบนด์ตรวจวัดที่พบทัวไป มักอยู่ใน ช่วง UV ช่วงแสงขาว ช่วงอินฟราเรด และ ช่วงไมโครเวฟ ของสเปกตรัม ่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยที่ พบมากที่สด คือช่วงแสงขาวและอินฟราเรดใกล้ (VIS/NIR) ุ คาถาม: (เครื่อง X-Ray ควรถือเป็ นอุปกรณ์ตรวจวัดจากระยะไกลหรือไม่)  ข้อมูลทีได้จากเครื่องตรวจวัด จะเก็บไว้ในรูปของ ข้อมูลภาพ (image data) ซึ่งแบ่งเป็ น 2 ประเภท หลัก คือ ่ 1. ข้อมูลอนาลอก (analog data) คือ ข้อมูลที่แสดงความเข้มของรังสีซ่ึงมีค่า ต่อเนื่ อง ตลอดพื้นที่ ที่ศึกษา เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ (ซึ่งยังไม่ถกแปลงเป็ นภาพดิจตอล) และ ู ิ 2. ข้อมูลเชิงตัวเลข (digital data) คือ ข้อมูลแสดงความเข้มของรังสี ซึ่งถูก แบ่ง ออกเป็ นระดับ (level) ย่อย ๆ ในการจัดเก็บ เรียกว่าค่า บิท (bit) โดย ข้อมูล n บิท จะแบ่งเป็ น 2n ระดับความเข้ม ทังนี้ ภาพทัวไปมักจะแบ่งออกเป็ น 256 ระดับความเข้ม (เรียกว่าเป็ นข้อมูล 8 บิท) ้ ่
  • 15. ทังนี้ ขอมูล เชิงตัวเลข ที่ได้การตรวจวัดจากระยะไกล มักถูกเก็บไว้ใน 2 รูปแบบ ที่สาคัญคือ ้ ้ 1. ในรูปของ ภาพเชิงตัวเลข (digital image) เช่นภาพดาวเทียมส่วนใหญ่ท่เี ห็น ซึ่งมันจะแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูล บนภาพ ออกเป็ นชิ้นสีเ่ หลี่ยมเล็ก ๆ จานวนมาก เรียกว่า เซลล์ภาพ หรือ จุดภาพ (pixel) ซึ่งแต่ละชิ้น จะเป็ นตัวแทนพื้นที่ในกรอบการมอง แต่ละครัง บนผิวโลก (IFOV) ของเครื่องตรวจวัด หรือ ้ 2. ในรูปของ แฟ้ มข้อมูลเชิงตัวเลข (digital file) ใน 3 มิติ สาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ต่อไป  ในกรณี หลังนี้ มกพบในการศึกษาชันบรรยากาศจากระยะไกล (atmospheric RS) โดยข้อมูลเชิงตัวเลขที่เก็บไว้ ั ้ มักอ้างอิงเทียบกับ ตาแหน่ งและความสูง ของตาแหน่ งที่ตรวจวัดจากผิวโลก ทาให้ได้เป็ นแฟ้ มข้อมูลใน 3 มิติ (3-D data) ออกมา สาหรับใช้ในการประมวลผลต่อไป 15
  • 16. 16  ลักษณะของการจัดเก็บข้ อมูลภาพ แบบอนาลอก (ต่ อเนื่อง) และ แบบดิจิตอล (ไม่ ต่อเนื่อง)
  • 17. 17  ตัวอย่างการเก็บข้อมูลภาพไว้ในแบบ ข้ อมูลเชิงตัวเลข แบบ 8 บิท (256 ระดับความเข้ม)
  • 18. 18  ตัวอย่ างภาพถ่ ายทางอากาศ ที่เห็นคือภาพของ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในปี พ.ศ. 2489
  • 19. 19  รู ปพืนที่ ปลูกพืชไร่ ในประเทศแอฟริกาใต้ ช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ. 2002 และ 2003 จากเครื่อง MODIS ้
  • 20. 20 1.3 ประเภทของการตรวจวัดจากระยะไกล  ้ หากพิจารณาตามรูปแบบของ สถานี (platform) สาหรับติดตังอุปกรณ์ เราอาจแบ่งการตรวจวัดจากระยะไกล ออกได้เป็ น 3 ประเภท หลัก คือ 1. การตรวจวัดจากภาคพื้นดิน (Ground-based RS) ตัวอย่างอุปกรณ์ 1. เรดาร์ (radar) 2. ไลดาร์ (lidar) 3. โซนาร์ (sonar) โดยที่ เรดาร์และไลดาร์ มักใช้ในการสารวจบรรยากาศ ส่วน โซนาร์ สาหรับสารวจลักษณะพื้นผิวก้นทะเล 2. การตรวจวัดจากทางอากาศ (Airborne RS) ตัวอย่างสถานี 1. เครื่องบิน 2. บอลลูน 3. ว่าว 4. จรวด 5. นกพิราบ ตัวอย่างอุปกรณ์ 1. เครื่องถ่ายภาพทางอากาศ 2. เครื่องตรวจวัดการแผ่รงสี 3. เรดาร์ ั ระดับความสูง ประมาณ 100 เมตร ถึง 40 กิโลเมตร จากผิวโลก
  • 21. 21  ตัวอย่ างของ จรวดขนาดเล็ก ซึ่งใช้ สาหรับการถ่ ายภาพจากทางอากาศ ในปี ค.ศ.1904
  • 22. 22 3. การตรวจวัดจากอวกาศ (Spaceborne RS) ตัวอย่างสถานี 1. ดาวเทียม 2. สถานี อวกาศ (space station) 3. ยานขนส่งอวกาศ (space shuttle) ตัวอย่างอุปกรณ์ 1. เครื่องกวาดภาพช่วงคลื่นหยาบ (MS) 2. เครื่องตรวจวัดการแผ่รงสี (radiometer) ั 3. เครื่องกวาดภาพช่วงเทอร์มอล IR (thermal scanner) 4. เรดาร์ ้ ระดับความสูง ประมาณ 300-1000 กม. สาหรับดาวเทียมสารวจ ที่โคจรในแนวผ่านขัวโลกหรือใกล้ขวโลก ้ั เช่น Landsat หรือ SPOT และประมาณ 36,500 กม. สาหรับพวกดาวเทียมสถิตต่าง ๆ เช่น ดาวเทียม GOES ของสหรัฐฯ หรือ Meteosat ของสหภาพยุโรป เป็ นต้น  ข้อมูลเพิ่มเติม 1. พวก ดาวเทียมสถิต (geostationary satellite: GEO) จะมี คาบ การโคจรรอบโลกเท่ากับ 24 ชัวโมง พอดี ทาให้ ่ ดูเสมือน อยู่น่ิ ง บนท้องฟ้ า ส่วนใหญ่ในกลุมนี้ จะเป็ นพวก ดาวเทียมตรวจสภาพอากาศ (weather satellite) ่ หรือ ดาวเทียมสือสาร (communication satellite) – บางครังเรียกว่า ดาวเทียมค้างฟ้ า ่ ้ 2. ดาวเทียมที่โคจรในระดับความสูง 300-1000 กิโลเมตรจากผิวโลก มักถูกเรียกว่าเป็ น ดาวเทียมวงโคจรตา ่ (low-earth-orbit satellite: LEO)
  • 23. 23  ตัวอย่ างของภาพถ่ ายที่ได้ จาก จรวด V-2 ของกองทัพสหรัฐฯ ในปี ค.ศ.1946
  • 24. 24  แต่หากพิจารณาตามลักษณะของรังสีท่ี เครื่องตรวจวัด วัดได้ดี จะแบ่งการตรวจวัดได้เป็ น 2 แบบ คือ 1. การตรวจวัดแบบแพสซีฟ (Passive RS) หรือ แบบเฉื่ อย เครื่องตรวจวัดในกลุ่มนี้ จะคอยวัดความเข้มของรังสีทแผ่ออกมาจากวัตถุ หรือ ของแสงอาทิตย์ท่สะท้อน ่ี ี ออกมาจากตัววัตถุเท่านั้น แต่มนจะ ไม่มี การสร้างสัญญาณขึ้นมาใช้เอง ตัวอย่างของอุปกรณ์ในกลุ่มนี้ ั มีอาทิเช่น พวกกล้องถ่ายภาพทางอากาศ หรือ เครื่องกวาดภาพของดาวเทียม Landsat เป็ นต้น 2. การตรวจวัดแบบแอกทีฟ (Active RS) หรือ แบบกัมมันต์ เครื่องตรวจวัดในกลุ่มนี้ จะวัดความเข้มของสัญญาณที่ตวมันเอง สร้างและส่งออกไป ซึ่งสะท้อนกลับมา ั จากตัววัตถุเป็ นหลัก โดยอุปกรณ์สาคัญในกลุ่มนี้ ได้แก่ พวกเรดาร์ ไลดาร์ และ โซนาร์  ข้อมูลเพิ่มเติม เครื่องตรวจวัด แบบเฉื่ อย จะมีทงแบบที่วดรังสีในช่วง แสงขาว (visible light) ช่วงอินฟราเรด (IR) และ ้ั ั ช่วงไมโครเวฟ (microwave) ขณะทีเครื่องตรวจวัด แบบกัมมันต์ เช่นเรดาร์ จะทางานช่วง ไมโครเวฟ ่ ส่วน ไลดาร์ ทางานช่วง VIS/NIR และจะทางานได้ ตลอดเวลา ทังกลางวันและกลางคืน ้
  • 25. 25 1.4 พัฒนาการของระบบการตรวจวัดจากระยะไกล  โดยทัวไป ความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีการตรวจวัดจากระยะไกล จะขึ้นกับพัฒนาการของตัวแปรหลัก 3 ตัว คือ ่ 1. สถานี ตดตัง (platform) 2. เครื่องตรวจวัด (remote sensor) และ ิ ้ 3. ระบบการประมวลผลข้อมูล (processing system)  ทังนี้ พัฒนาการของ สถานี ติดตังที่สาคัญคือการเกิดขึ้นของ เครื่องบิน (airplane) ใน ค.ศ.1903 และ ดาวเทียม ้ ้ (satellite) ในปี ค.ศ.1957 ส่วนพัฒนาการของระบบการ ประมวลผล ข้อมูลที่สาคัญคือ การเกิดขึ้นของ ระบบ คอมพิวเตอร์ แบบ main frame ในช่วงยุค1960s-70s และ คอมพิวเตอร์สวนบุคคลในยุค 1980s ่  โดยทัวไป เราสามารถแบ่ง พัฒนาการ ของระบบ RS ออกได้เป็ น 2 ช่วงหลักคือ ่ ิ ้ 1. ก่อนปี ค.ศ.1960 - เป็ นยุคของ การสารวจทางอากาศ โดยมี เครื่องบินและบอลลูน เป็ นสถานี ตดตังสาคัญ สาหรับเทคนิ คการตรวจวัดที่ใช้มากที่สดคือ การถ่ายภาพทางอากาศ (aerial photography) ุ 2. ตังแต่ปี ค.ศ.1960 เป็ นต้นมา - เป็ นยุคของ การสารวจจากอวกาศ (space age) หรือ ยุคดาวเทียม เนื่ องจาก ้ ้ อุปกรณ์ตรวจวัดที่สาคัญมักจะติดตังไว้บน ดาวเทียม ซึ่งโคจรอยู่รอบโลกเป็ นหลัก
  • 26. ตัวอย่างเทคนิ คการตรวจวัดข้อมูลจากระยะไกล ในยุค ก่อน คริสต์ศตวรรษที่ 20 รูปซ้ายมือ คือเทคนิ คการตรวจหา แหล่งน้ าหรือวัตถุท่จมอยู่ใต้ดิน ส่วน รูปขวามือ เป็ นภาพวาดของ Gaspard Felix ชาวฝรัง่ เศส ซึ่งเป็ นผูบกเบิก ี ุ้ การถ่ายภาพพื้นผิวโลกจากบอลลูนมาตังแต่ปี ค.ศ. 1859 ้ 26
  • 27. 27  Gaspard Felix Tournachon, better known as Nadar
  • 28. 28  ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับ ระบบ RS ในช่วง ค.ศ. 1860-1950 ปี ค.ศ. เหตุการณ์ สาคัญ 1860s ยุคเริ่มต้ นของการถ่ ายภาพทางอากาศจาก บอลลูน ก่ อนที่จะเริ่มมีการใช้ ว่ าว ในปี ยุค 1880s 1903 พีน้องตระกูลไรท์ (Wilbur and Orville Wright) ประสบความสาเร็จในการบินด้ วยเครื่องบิน ่ เป็ นครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ที่รัฐ North Carolina ของประเทศสหรัฐอเมริกา 1908 มีการถ่ ายภาพทางอากาศจากเครื่องบินเป็ นครั้งแรกในประเทศฝรั่งเศส โดย L. P. Bonvillain จาก เครื่องบินที่ควบคุมโดย Wilbur Wright 1910s เทคโนโลยีการ ถ่ ายภาพจาก ทางอากาศ ได้ รับการพัฒนาขึนมาใช้ งานอย่ างเป็ นระบบมากขึน ้ ้ โดยเฉพาะเพือใช้ ประโยชน์ ทางการทหารในช่ วง WW I ่ 1920s รัฐบาลของประเทศสหรัฐฯและแคนาดา เริ่มใช้ ข้อมูลภาพถ่ ายทางอากาศในการจัดทาแผนที่ป่าไม้ ของตนอย่ างเป็ นระบบ ขึนเป็ นครั้งแรก ้ 1930s ระบบ เรดาร์ ภาคพืนดิน เริ่มได้ รับการพัฒนาขึนมาใช้ งาน ในประเทศ เยอรมัน สหรัฐฯ และ อังกฤษ ้ ้ 1940-1950 เครื่องตรวจวัดหลายช่ วงคลื่น (MSS) ได้ รับการพัฒนาขึน สาหรับใช้ ในภารกิจทางทหารเป็ นหลัก ้ รวมไปถึงการใช้ ประโยชน์ ของ เรดาร์ ภาคพืนดิน อย่ างกว้ างขวางในช่ วง WW II ้
  • 29. 29  ภาพถ่ ายทางอากาศเก่ าแก่ ท่สุดในปัจจุบันคือ ภาพนครบอสตัน ซึ่งถ่ ายจากบอลลูนโดย James Black ในปี ค.ศ.1860 ี
  • 30.  ภาพการบินครั้งแรกของ พีน้องตระกูลไรท์ (The Wright Brothers) เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1903 ่ 30
  • 31.  ตัวอย่ างภาพถ่ ายทางอากาศ แสดงข้ อมูลในเขต ฐานปล่31ยจรวด V-2 ของกองทัพเยอรมัน ในช่ วง WW II อ
  • 32.  ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (1) ปี ค.ศ. เหตุการณ์ สาคัญ 1957 สหภาพโซเวียต ส่ ง ดาวเทียม ขึนไปโคจรรอบโลกได้ สาเร็จเป็ นครั้งแรก ชื่อว่ า Sputnik-1 ใน ้ วันที่ 4 ตุลาคม ก่ อนที่สหรัฐฯจะส่ งดาวเทียม Explorer-1 ตามขึนไป ในอีก 4 เดือนต่ อมา ้ 1958 สหรัฐฯ ก่ อตั้งองค์ การ NASA ขึนมาดูแลการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศโดยตรง ้ 1960 TIROS-I ดาวเทียมสารวจดวงแรกของสหรัฐฯ เริ่มบุกเบิกการสารวจบรรยากาศของโลก จากระยะไกล โดยมีอุปกรณ์ สาคัญคือ กล้ องถ่ ายภาพโทรทัศน์ (TV camera) 2 ตัว 1964 ดาวเทียมอุตนิยมวิทยา NIMBUS-I ของสหรัฐฯ เริ่มการทางาน นับเป็ นดาวเทียมดวงแรก ุ ที่ใช้ วงโคจร ตามตะวัน (sun synchronous orbit) 1968 สหรัฐฯ เริ่มทดสอบการถ่ ายภาพใน หลายช่ วงคลื่น (multispectral photography) ของโลก จากยาน Apollo-9 รวมถึงการถ่ ายภาพโลกจากยาน Apollo-8 ซึ่งกาลังโคจรรอบดวงจันทร์ 1970 สหรัฐฯ ก่ อตั้งองค์ การ NOAA ขึนมาดูแลการใช้ ประโยชน์ จากดาวเทียมของตนโดยตรง ้ 1971 สหภาพโซเวียต ส่ ง สถานีอวกาศ ขึนไปโคจรรอบโลกได้ สาเร็จเป็ นครั้งแรก ชื่อ Salyut-1 ้ ก่ อนที่สหรัฐฯ จะส่ งสถานีอวกาศ Skylab ของตน ตามขึนไปในปี ค.ศ.1973 ้ 32
  • 33.  รู ปดาวเทียม Sputnik-1 ของสหภาพโซเวียต ซึ่งขึนไปโคจรรอบโลกเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957 ้ 33
  • 34. 34  บทกวีท่แต่งโดย G. Mennen Williams ผูว่าการรัฐ Michigan เกี่ยวกับการปล่อยดาวเทียม Sputnik-1 ของ ี ้ สหภาพโซเวียต แสดงให้เห็นถึงความไม่พอใจในการทางานของประธานาธิบดี Eisenhower Oh little Sputnik, flying high With made-in-Moscow beep, You tell the world it's a Commie sky and Uncle Sam's asleep. You say on fairway and on rough The Kremlin knows it all, We hope our golfer knows enough To get us on the ball.
  • 35. 35  รู ปดาวเทียม TIROS-I ขององค์ การนาซา ซึ่งเริ่มทางานในปี ค.ศ. 1960 และ ภาพแรก ที่มันส่ งกลับมายังโลก
  • 36.  ตัวอย่ างการสร้ าง แผนที่สภาพอากาศ โดยใช้36้ อมูลที่ได้ มาจากดาวเทียม TIROS-I ข
  • 37. 37  ภาพถ่ ายที่มีชื่อเสี ยงของ โลก จากยาน Apollo-8 ขณะโคจรรอบดวงจันทร์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 1968
  • 38. 38  ตัวอย่ างภาพถ่ ายแต่ งสี ของ โลก จากยาน Apollo-9 ขณะโคจรรอบโลก ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1969
  • 39. 39  ตัวอย่ าง ภาพถ่ ายแต่ งสี ช่ วง NIR ซึ่งถ่ ายจากยานอวกาศ Apollo-9 บริเวณรัฐแคลิฟอร์ เนีย
  • 40.  รู ปสถานีอวกาศ Skylab ขององค์ การนาซา ซึ่งเริ่มทางานเมื40ปี ค.ศ.1973 ก่ อนจะยุติการทางานลงในปี ค.ศ.1979 ่อ
  • 41.  ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (2) ปี ค.ศ. เหตุการณ์ สาคัญ 1972 ดาวเทียม Landsat-1 เริ่มการทางาน ที่ความสู ง 920 กม.จากผิวโลก ถือเป็ นดาวเทียมสารวจ ทรัพยากรประสิ ทธิภาพสู ง ดวงแรกของโลก โดยมีอุปกรณ์ สาคัญคือ เครื่อง MSS และ RBV 1975 ดาวเทียมอุตนิยมวิทยาดวงแรกของ NOAA ชื่อ GOES-1 เริ่มการทางานที่ระดับความสู ง ุ 36,000 กิโลเมตร จากผิวโลก ทาให้ สารวจผิวโลกได้ ประมาณ 35-40 เปอร์ เซ็นต์ ต่อครั้ง 1982 ดาวเทียม Landsat-4 เริ่มการทางาน โดยมีอุปกรณ์ ที่สาคัญคือ เครื่อง MSS และ TM นับเป็ น การเริ่มต้ น ยุคที่สอง ของโครงการ Landsat ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ ปี ค.ศ.1972 1984 ดาวเทียม SPOT-1 ของฝรั่งเศส เริ่มการทางาน ที่ระดับความสู ง 830 กม.จากผิวโลก โดยมี อุปกรณ์ ที่สาคัญคือ เครื่อง HRV (High Resolution Visible Scanner) 1986 สถานีอวกาศ Mir ของสหภาพโซเวียตเริ่มการทางาน นับเป็ นสถานีอวกาศถาวรแห่ งแรก ของโลก ก่ อนที่มันจะยุติการทางานลงในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2001 1992 ญี่ปุ่น ส่ งดาวเทียมสารวจทรัพยากรดวงแรกของตนออกสู่ อวกาศชื่อ JERS-1 41
  • 42. ลักษณะของดาวเทียม Landsat ในยุคแรก ที่เห็นคือภาพโครงสร้างของดาวเทียม Landsat-1 42
  • 43. 43
  • 44. 44  ตัวอย่ างภาพขาวดาของ พืนผิวโลก ที่ได้ จากข้ อมูลต่ างแบนด์ กันของดาวเทียม Landsat ในปี ค.ศ. 1972 ้
  • 45. 45  ตัวอย่ างภาพแต่ งสี ของ พืนผิวโลก ในช่ วงแสงขาว ที่ได้ จากดาวเทียม Landsat-5 ของสหรัฐฯ ้
  • 46. ้ 46  ตัวอย่ างภาพดาวเทียมของ บรรยากาศและพืนผิวโลก ที่ได้ มาจากดาวเทียมสถิต GOES-9
  • 47.  ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (3) 1995 ดาวเทียม RADARSAT-1 ของแคนาดาเริ่มการทางาน โดยมีอุปกรณ์ สาคัญคือ เครื่อง SAR (Synthetic Aperture Radar) สาหรับ RADARSAT-2 มีกาหนดปล่ อยในปี ค.ศ. 2004 1999 ดาวเทียม IKONOS เริ่มการทางาน โดยมีความละเอียด 1 เมตร ในระบบขาวดา และ 4 เมตร ในระบบสี นับเป็ นดาวเทียมเชิงพาณิชย์ ที่มีค่าความละเอียดดีที่สุดในยุคนั้น 1999 ดาวเทียม Landsat-7 เริ่มการทางาน โดยมีอุปกรณ์ ใหม่ ท่สาคัญ คือ เครื่อง ETM+ ี (Enhanced Thematic Mapper Plus) 1999 ดาวเทียม Terra เริ่มการทางานในอวกาศ นับเป็ นดาวเทียมดวงแรก ในโครงการสารวจโลก (Earth Observing System: EOS) ของสหรัฐฯ ตามมาด้ วยดาว Aqua ในปี ค.ศ. 2002 และ ดาวเทียม Aura ในปี ค.ศ. 2004 2001 ดาวเทียม QuickBird เริ่มการทางาน นับเป็ นดาวเทียมสารวจเชิงพาณิชย์ ที่มีความละเอียด สู งสุ ดในปัจจุบัน คือประมาณ 61 เซนติเมตร ในระบบขาวดา และ 2.5 เมตร ในระบบสี 47
  • 48.  ลาดับการพัฒนาของ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบ RS ในช่ วง ค.ศ. 1950-ปัจจุบัน (4) 2002 ดาวเทียม SPOT-5 เริ่มการทางาน นับเป็ นดวงล่ าสุ ดของโครงการ SPOT และดาวเทียม สารวจ ADEOS-2 ของญี่ปุ่นเริ่มการทางาน ทดแทนดวงแรกที่หยุดทางานไปเมื่อปี 1997 ก่ อนจะยุตการทางานในปี ถัดมา ิ 2006 ดาวเทียมสารวจโลก ALOS ของประเทศญี่ปุ่นเริ่มการทางาน – มาแทน ADEOS-2 2007 ดาวเทียม RADARSAT-2 ของแคนาดา เริ่มการทางาน 2008 ดาวเทียมสารวจโลก THEOS ของประเทศไทย เริ่มการทางาน - ตอนนี้รอปล่ อยอยู่ 48
  • 49. 49  ภาพจาลองดาวเทียม Landsat-7 ของสหรัฐฯ ขณะทางานในอวกาศ
  • 50. 50  ภาพชุดแรกที่ได้ จากดาวเทียม IKONOS เป็ นภาพของนคร วอชิงตัน DC ความละเอียด 1 เมตร
  • 51. 51  ตัวอย่ างภาพที่ได้ จากดาวเทียม IKONOS ความละเอียด 1 เมตร
  • 52. 52  ตัวอย่ างภาพสี ธรรมชาติของ วัดพระแก้ ว ที่ได้ มาจากดาวเทียม IKONOS
  • 53. 53 1.5 ประโยชน์ของการตรวจวัดจากระยะไกล  การตรวจวัดจากระยะไกลมี ข้อดี อยู่หลายประการ ซึ่งเป็ นประโยชน์มากต่อการศึกษาองค์ประกอบและ โครงสร้างของบรรยากาศและพื้นผิวโลก ทังในระดับ ท้องถิ่นและระดับโลก อาทิเช่น ้ 1. ตรวจวัดครอบคลุมพื้นที่ได้เป็ น บริเวณกว้าง ในแต่ละครัง โดยเฉพาะการตรวจวัดจากอวกาศ ้ ทาให้มองภาพรวมได้งาย และได้ขอมูลที่ค่อนข้างทันต่อเหตุการณ์ ่ ้ 2. ตรวจวัดได้ใน หลายระดับ ของ ความละเอียด ทังความละเอียดเชิงพื้นที่และความละเอียดเชิงรังสี ้ ขึ้นอยู่กบความสามารถของอุปกรณ์ และระดับความสูงของสถานี ติดตัง เป็ นสาคัญ ั ้ ้ 3. ตรวจวัดได้ อย่างต่อเนื่ อง ทังในช่วงกลางวันและช่วงกลางคืน โดยเฉพาะการตรวจวัดในช่วง เทอร์มอลอินฟราเรด (TIR) และ ไมโครเวฟ 4. ตรวจวัดได้ใน หลายช่วงคลืน ไม่เฉพาะในช่วงแสงขาวที่ตาเรามองเห็นเท่านั้น ทาให้ได้ขอมูล ่ ้ เกี่ยวกับวัตถุหรือพื้นที่ท่ศึกษา มากกว่าทีเรารับรูตามปกติมาก ี ่ ้ 5. ตรวจวัดข้อมูลในพื้นที่ ที่เข้าถึงทางพื้นดินลาบาก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่ องจากอุปกรณ์ท่ใช้ ี ต้องการเพียงสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ที่มาจากพื้นทีท่ศึกษา เท่านั้นในการทางาน ่ี
  • 54.  ภาพของ นครนิวยอร์ ค จากดาวเทียม SPOT-3 เมื่อวั54ที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ความละเอียด 20 เมตร น
  • 55. 55  ภาพของ นครนิวยอร์ ค จากดาวเทียม IKONOS เมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 2001 ความละเอียด 1 เมตร
  • 56. 56  ภาพความเสี ยหายของ ตึกเพนตากอน ของสหรัฐอเมริกา ที่เห็นจาก ดาวเทียม ความละเอียดสู ง
  • 57. 57  สาหรับ ข้อด้อย ของการตรวจวัดจากระยะไกล ที่เห็นได้ชดมีอาทิเช่น ั 1. ต้องใช้ งบลงทุน ในเบื้องต้นและงบดาเนิ นการสูง โดยเฉพาะในการจัดหาสถานี ตดตังและการสร้าง ิ ้ อุปกรณ์ตรวจวัด เนื่ องจากเป็ นเทคโนโลยีระดับสูง 2. ต้องใช้ บุคลากร ที่ได้รบการฝึ กฝนมาโดยเฉพาะในการดาเนิ นงาน เนื่ องจากต้องการผูท่มีความรู ้ ั ้ี พื้นฐานที่ดีมากพอสาหรับการ บริหารจัดการ ระบบและการ ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลที่ได้ 3. ข้อมูลที่ได้บางครังยังขาด ความละเอียด เชิงพื้นที่มากพอ เนื่ องมาจากเป็ นการสารวจจากระยะไกล ้ ทาให้การศึกษาในบางเรื่องอาจมีขอจากัดอยู่มากพอควร ้ ้ ้ 4. ข้อมูลที่ได้บางครังยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้จากหลายสาเหตุ ทังส่วนที่เกิดมาจาก ความบกพร่องของตัวระบบเอง และส่วนที่เกิดมาจากสภาวะแวดล้อมขณะทาการตรวจวัด
  • 58. 58 สาหรับแนวทาง การใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจวัดจากระยะไกล มีอาทิเช่น 1. การสารวจทางโบราณคดีและมานุ ษยวิทยา (Archaeology and Anthropology Study) ที่สาคัญคือ การสารวจ ที่ตง ของแหล่งโบราณสถาน ในพื้นทีซ่ึงยากต่อการเข้าถึงทางพื้นดิน รวมถึง ้ั ่ ที่อยู่ ใต้ผิวดินไม่ลกมากนัก โดยมักใช้ขอมูลที่ได้จากเรดาร์และเครื่องวัดการแผ่รงสีช่วง IR ึ ้ ั 2. การรังวัดภาพและการทาแผนที่ (Photogrammetry and Cartography) ที่สาคัญคือการทา แผนที่แสดง ลักษณะภูมิประเทศ (topographic map) และ แผนที่แสดง ข้อมูลเฉพาะอย่าง (thematic map) ซึ่งมักต้องใช้เทคนิ คทาง GIS เข้ามาช่วยด้วย 3. การสารวจทางธรณี วทยา (Geological Survey) ิ ที่สาคัญคือ การสารวจโครงสร้างชันดินและชันหิน การสารวจแหล่งแร่ การสารวจแหล่งน้ ามัน ้ ้ การสารวจแหล่งน้ าใต้ดิน และ การสารวจพื้นที่เขตภูเขาไฟและเขตแผ่นดินไหว เป็ นต้น 4. การศึกษาทางวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) ที่สาคัญคือ การศึกษาพื้นที่ (site study) การวางผังระบบสาธารณู ปโภค (infrastructure planning) และ การวางแผนจัดระบบการขนส่งและการจราจร (transport and traffic planning) เป็ นต้น
  • 59. 59  ภาพถ่ ายทางอากาศของ นครวัด (Angkor Wat) ประเทศกัมพูชา ในปี ค.ศ.1999
  • 60. 60  แผนที่ของเขต นครวัด (Angkor Wat) และ นครธม (Angkor Thom) ในประเทศกัมพูชา
  • 61.  ภาพของ นครวัด (Angkor Wat) ประเทศกัม61 ชา จากดาวเทียม JERS-1 ในปี ค.ศ.1995 พู
  • 62.  ตัวอย่ างภาพเรดาร์ แสดง ลักษณะภูมิประเทศ (topographic image) ในรัฐแคลิฟอร์ เนีย 62
  • 63. 63 5. การศึกษาในภาคเกษตรและการจัดการป่ าไม้ (Agricultural and Forestry Study) ที่สาคัญมีอาทิเช่น การใช้ประโยชน์ท่ดินภาคเกษตร การสารวจคุณภาพดิน การสารวจความสมบูรณ์ ี ของพืชพรรณ และ การตรวจสอบการใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้ตามเวลา เป็ นต้น 6. การวางผังเมือง (Urban planning) ที่สาคัญมีอาทิเช่น การใช้ประโยชน์ท่ดินในเขตเมือง การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพและขนาดของเขตเมือง ี และการออกแบบพื้นที่เชิงภูมิสถาปัตย์ (landscape modeling) เป็ นต้น 7. การศึกษาแนวชายฝังและมหาสมุทร (Coastal and Oceanic Study) ่ ที่สาคัญมีอาทิเช่น การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพและขนาดของเขตชายฝัง การจัดการพื้นที่ชายฝัง และ ่ ่ การศึกษาคุณสมบัตเิ ชิงกายภาพและเชิงเคมีของน้ าทะเลระดับบน เช่น อุณหภูมิหรือความเค็ม เป็ นต้น 8. การติดตามตรวจสอบภัยธรรมชาติ (Natural Disaster Monitoring) ที่สาคัญมีอาทิเช่น น้ าท่วม แผ่นดินถล่ม การระเบิดของภูเขาไฟ แผ่นดินไหว การเกิดไฟป่ า หรือ การเกิดไฟในแหล่งถ่านหินใต้ผิวดิน (subsurface coal fires) เป็ นต้น
  • 64. 64  ตัวอย่างภาพสีธรรมชาติจากเครื่อง Landsat/TM แสดง การใช้ประโยชน์ท่ดิน ในรูปแบบที่แตกต่างกันไป ี
  • 65.  ตัวอย่ างภาพดาวเทียมแสดง ลักษณะภูมิประเทศ และความสมบูรณ์ ของ พืชพรรณ ในสหรัฐอเมริกา 65
  • 66. 66  ตัวอย่ างภาพการเกิดเหตุการณ์ Tsunami ที่ประเทศศรีลังกา สั งเกตการลดลงของระดับน้าทะเลอย่ างรวดเร็ว
  • 67. 67  ตัวอย่ างความเสี ยหายจากเหตุการณ์ Tsunami ที่บริเวณหาดเขาหลัก อาเภอตะกั่วป่ า จังหวัดพังงา
  • 68. 68
  • 69. 69 9. การสารวจบรรยากาศและงานวิจยทางอุตนิยมวิทยา (Atmospheric and Meteorological Study) ั ุ ้ ที่สาคัญมีอาทิเช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในช่วงสัน การศึกษาองค์ประกอบของอากาศ ที่ระดับความสูงต่าง ๆ เช่น ไอน้ า คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ โอโซน รวมไปถึง การตรวจสอบ การแปรปรวนของอากาศระดับล่าง เช่น การเกิดพายุขนาดใหญ่ หรือ พายุฝนฟ้ าคะนอง เป็ นต้น 10. การศึกษาทางนิ เวศวิทยาและสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ (Ecosystem and Natural Environment Study) ที่สาคัญมีอาทิเช่น การศึกษาระบบนิ เวศน์ของป่ าเขตร้อน ระบบนิ เวศน์ป่าริมน้ า การวิเคราะห์ถ่นอาศัย ิ ของสัตว์ป่า หรือ การวิเคราะห์ความเสือมโทรมของสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เป็ นต้น ่ 11. การหาข้อมูลเพื่อภารกิจทางทหาร (Military Services) ที่สาคัญคือ การถ่ายภาพจากทางอากาศด้วยเครื่องบินสอดแนม (spy plane) และ การสารวจพื้นที่ ที่สนใจ โดยใช้เครื่องตรวจวัดประสิทธิภาพสูงบนดาวเทียม
  • 70. 70  ภาพดาวเทียมของพายุไต้ ฝุ่น Imbudo ซึ่งเกิดในเขตทะเลจีนใต้ ในช่ วงเดือนกรกฎาคม 2546
  • 71. 71  ตัวอย่ างข้ อมูล ปริมาณน้าฝน ใน 3 มิติ ของพายุไต้ ฝน Sinlaku ที่ได้ จากดาวเทียม TRMM ุ่
  • 72.  ข้ อมูลของ ชั้นโอโซน ในแถบขั้วโลกใต้ เปรียบเทียบ ระหว่ างปี ค.ศ.2000, 2002 และ 2003 จากเครื่อง TOMS 72
  • 73. 73  ตัวอย่ างแนว การประยุกต์ ใช้ งาน ของเทคโนโลยีดาวเทียมทาง RS ในปัจจุบัน