SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 16
รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104                                  กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์
                                                                                                        ิ
โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา                            ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
สาระที่ 7 หน่ วยที่ 8                             เรื่อง จรวด ดาวเทียม และยานอวกาศ                เวลา 2.00 ชั่วโมง
มาตรฐาน ว 7.2 เข้า ใจความส าคัญ ของเทคโนโลยีอ วกาศที่ นามาใช้ใ นการส ารวจอวกาศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม
                                                                                              ิ
วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข
……………………………………………………………………………………………………….
สาระสาคัญ
            นับตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบน การศึกษาด้านดาราศาสตร์ เพื่อเรี ยนรู ้เกี่ยวกับโลกระบบสุ ริยะ
                                                  ั
และเอกภพได้พฒนาการขึ้ นตามลาดับ และยังคงไม่ สิ้นสุ ด ทั้งนี้ เนื่ องจากความก้า วล้ า ในด้า น
                          ั
วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ ท ัน สมัย มากขึ้ น ท าให้ ปั จ จุ บ ัน ได้มี ก ารพัฒ นารู ป แบบการใช้
เทคโนโลยีอวกาศต่ างๆ มากมาย เพื่อใช้ในการส ารวจอวกาศ เช่ น การส่ งดาวเที ยม จรวด ยาน
อวกาศ ไปสารวจนอกโลก โดยเฉพาะประเทศสหรั ฐอเมริ กา และสหภาพโซเวียตรั สเซี ย ต่างใช้
งบประมาณจานวนมหาศาลในการสารวจอวกาศ ทาให้ได้ความรู้ความเข้าใจและได้รับประโยชน์
จากเทคโนโลยีเหล่านี้เพิมขึ้นอย่างมาก
                                  ่

ตัวชี้วด
       ั
           1. สื บค้นและอธิบายการส่ งและคานวณความเร็ วในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
       1. เข้าใจความหมายและบอกความแตกต่างของคาว่าเทคโนโลยีอวกาศ จรวด ดาวเทียม
ยานอวกาศ และกระสวยอวกาศได้
       2. อธิบายได้ถึงประโยชน์และความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศได้
สาระการเรียนรู้
       - การส่ งดาวเทียมไปโคจรรอบโลก ณ ระดับความสู งจากผิวโลกต่างๆกัน จรวดต้องมีความเร็ วที่
แตกต่างกัน

เนือหา
   ้
             - ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ
             - จรวด สถานีอวกาศ
             - ยานอวกาศ ยานสารวจอวกาศ
การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
         1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับ ความลี้ลบในอวกาศที่ทาทายความอยากรู ้อยาก
                                                           ั           ้
                             ้                                             ่
เห็นของมนุษย์จนมนุษย์ตองสารวจอวกาศและวิธีการสารวจอวกาศที่กระทากันอยูในปั จจุบน    ั
         2. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ
                           ั    ั
         3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน
                      ั

2. ขั้นสอน/กิจกรรม
 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ
          1. ครู ให้นักเรี ยนสังเกตภาพที่4.1 ซึ่ งเป็ นภาพกาแล็กซี่ จานวนมากที่ปรากฏในกล้อง
โทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในหนังสื อเรี ยน แล้วใช้คาถามนาเข้าสู่ ประเด็น เช่ น ถ้าสังเกตท้องฟ้ าใน
คื นเดื อนมื ด ไร้ เมฆหมอกด้วยตาเปล่ า จะเห็ นรายละเอี ยดของภาพเดี ยวกันได้เท่ากันหรื อไม่ ถ้า
ต้องการขยายขอบเขตการเห็นจะต้องทาอย่างไร การใช้กล้องโทรทรรศน์จากภาพ 7.1 และภาพ 7.2
จะช่วยให้เห็นรายละเอียดของภาพได้ดีกว่าหรื อไม่ ให้นกเรี ยนตอบพร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
                                                        ั
          2. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันอภิปรายว่ากล้องโทรทรรศน์เป็ นเทคโนโลยีอวกาศหรื อไม่ ซึ่ งควร
                     ั
ได้ขอสรุ ปว่า กล้องโทรทรรศน์เป็ นเครื่ องมื อขยายขอบเขตการเห็ นของมนุ ษย์ ช่ วยขยายให้เห็ น
      ้
รายละเอี ยดของดาวเคราะห์และวัตถุ ทองฟ้ าบางอย่าง ซึ่ งนาไปสู่ การปรั บแก้ทฤษฎี ความเชื่ อให้
                                          ้
สอดคล้องกับสิ่ งที่พบเห็นในธรรมชาติ

2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา
         1. ครู แ ละนัก เรี ย นร่ ว มกัน อภิ ป รายข้อ มู ล เบื้ อ งต้น เกี่ ย วกับ เทคโนโลยี อ วกาศ สรุ ป
ความหมายของเทคโนโลยี อวกาศ เทคโนโลยีอวกาศ และยุคอวกาศ
         2. นักเรี ยนจัดกลุ่มๆ ละ 4 คน สมาชิ กกลุ่มคละความสามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน
สมาชิ กแต่ละคนศึกษา 1 หัวข้อ คือจรวด ดาวเทียม สถานีอวกาศ ยานอวกาศ และยานสารวจ
อวกาศ ผลัดเปลี่ยนกันอภิปรายเรื่ องที่ตนศึกษาให้เพื่อนในกลุ่มและอภิปรายร่ วมกันในกลุ่มจนทุก
คนเข้าใจ ครู จะให้คาแนะนาหรื ออธิ บายเพิ่มในกลุ่มที่มีขอสงสัย
                                                            ้

2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป
          1. ครู นาอภิปรายเกี่ ยวกับ ถ้ามนุ ษย์ออกไปในอวกาศแล้วจะเกิดระไรขึ้นกับร่ างกาย และ
ต้องเตรี ยมร่ างกายอย่างไร ซึ่ งผลการอภิปรายควรสรุ ปได้ดงนี้ั
            - เมื่อมนุ ษย์ออกไปในอวกาศในช่ วงที่เดิ นทางออกจากโลกและเดิ นทางกลับมาสู่ โลก
ร่ างกายจะเกิดความเร่ งหรื อความหน่วงเพิ่มขึ้น ซึ่ งเป็ นผลมาจากการขึ้นและลงของยานอวกาศ
- การอยู่ในสภาพไร้น้ าหนักเป็ นเวลานาน ระบบการทางานของร่ างกายจะเปลี่ยนแปลง
ไป กล้ามเนื้อเล็กลง ความหนาแน่นของเนื้ อกระดูกลดลง เนื่ องจากการสู ญเสี ยธาตุแคลเซี ยม ทาให้
กระดูกเปราะแตกหักง่าย ปั ญหาดังกล่าวแก้ไขโดยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอเพื่อให้อวัยวะ
ต่างๆ ทาหน้าที่เหมือนอยูบนโลก  ่
          2. ครู จดให้มีการแข่งขันตอบปั ญหาระหว่างกลุ่ม โดยสมาชิ กในกลุ่มจะเข้ากลุ่มใหม่เพื่อทา
                  ั
การแข่งขัน แบ่งเป็ น 4 กลุ่มตามลาดับความสามารถ ทุกคนในแต่ละกลุ่มจะได้รับบัตรตอบปั ญหา
และนังล้อมวงหันหน้าเข้าหากัน การแข่งขันตอบปั ญหาเริ่ มจากการคว่าบัตรคาถามข้อ 1 – 10 ไว้
      ่
กลางวง นักเรี ยนแต่ละคนจะผลัดกันเป็ นผูเ้ ปิ ดอ่านคาถาม เมื่อทุกคนตอบแล้วจึงเฉลย แล้วจึงอ่าน
คาถามและเฉลยข้อต่อไป ทาเช่ นนี้ จนครบ 10 ข้อ รวมคะแนนในกลุ่มใครตอบได้คะแนนสู ง
อันดับที่ 1 – 3 ได้คะแนนโบนัส กาหนดคะแนนโบนัสดังนี้
                     ผูชนะที่ 1 ในกลุ่ม ได้คะแนนโบนัส 10 คะแนน
                       ้
                     ผูชนะที่ 2 ในกลุ่ม ได้คะแนนโบนัส 7 คะแนน
                         ้
                     ผูชนะที่ 3 ในกลุ่ม ได้คะแนนโบนัส 3 คะแนน
                           ้
          3. นักเรี ยนกลับกลุ่มเดิม นาคะแนนของทั้ง 4 คนรวมกัน และรวมคะแนนโบนัสกลุ่มใดได้
คะแนนสู งสุ ดเป็ นผูชนะ ได้รับรางวัลและคาชมเชย
                             ้

2.4 ขั้นขยายความรู้
         1. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2 คน สาธิ ตกิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร์ โดยการปล่อยลูกโป่ ง
เคลื่อนที่ไปตามเส้นเชือก
         2. ครู อธิ บายการสาธิ ตและร่ วมกันสรุ ป ว่า แรงดันอากาศท าให้ลู ก โป่ งเคลื่ อนที่ เป็ น
หลักการเบื้องต้นของการส่ งยานอวกาศออกนอกโลก เพื่อศึกษาเกี่ยวกับอวกาศและใช้อวกาศให้
เป็ นประโยชน์ เช่น สถานีอวกาศ ซึ่ งการส่ งจรวดจะต้องมีความเร็ วมาก เรี ยกว่า ใช้ความเร็ วหลุดพ้น
จรวดจึงจะออกสู่ อวกาศ
         3. ครู ให้นกเรี ยนออกแบบและดาเนิ นการจัดทาจรวดขวดน้ าและฐานยิงจรวดขวดน้ า โดย
                     ั
ครู จะจัดแข่งขันในโอกาสต่อไป

2.5 ขั้นประเมิน
           1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด
                      ั                                                              ั
ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ
     ั                              ้
นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม
           2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ
                                                                                                  ั
กิจกรรมและการนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ
แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง

3. ขั้นสรุ ป
         1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปกระบวนการสารวจอวกาศ เริ่ มจากการส่ งจรวด ดาวเทียม สถานี
อวกาศ กระสวยอวกาศ และประโยชน์ที่ได้จากการสารวจอวกาศ และการสื่ อสารผ่านดาวเทียม
         2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอี ยดเพิ่ม เติ มเกี่ ยวกับเรื่ อง จุ ดเริ่ มต้นของ
เทคโนโลยี อ วกาศกับ มนุ ษ ย์ด วงจัน ทร์ จากหนัง สื อ อื่ น ๆ วารสาร เอกสารในห้อ งสมุ ด หรื อ
อินเทอร์เน็ต

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
         1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
         2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้
         3. แบบทดสอบก่อนเรี ยน
         4. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง

การวัดและประเมินผล
 การวัดผลประเมินผลด้าน                               วิธีการวัด                              เครื่ องมือวัด                            เกณฑ์การผ่าน
1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ                 1.วัดจากแบบสรุ ปความคิด                      1.แบบสรุ ปความคิดรวบ                       1. ทาถูกต้องร้อยละ 70
                                          รวบยอด/ใบงาน/กิจกรรม                         ยอด/ใบงาน/กิจกรรม                          ขึ้นไป
2. ด้านทักษะกระบวนการ                     สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม
                                                               ั                       แบบสังเกตพฤติกรรมการ                       ได้คะแนนในระดับ 2
                                          ในชั้นเรี ยน                                 ทางาน                                      ขึ้นไป

3. ด้านคุณลักษณะที่พึง                    การสังเกตพฤติกรรมความ                        แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2
ประสงค์                                   สนใจ และตั้งใจเรี ยน                         สนใจและตั้งใจเรี ยน   ขึ้นไป

กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา

  ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ                                      ความเห็นหัวหน้า                                ความเห็นรองผูอานวยการ
                                                                                                                             ้
    การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์
                 ิ                                             กลุ่มบริ หารวิชาการ                               กลุ่มบริ หารวิชาการ
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ.......................................
(นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก)                            (นางเพิ่มศิริ งามยิง)         ่            (นายประเสริ ฐ สันทอง)

ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
                                                                    ลงชื่อ..........................................................
                                                                                    ( นายทันใจ ชูทรงเดช )
                                                                         ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา
                                                                            ้
                                                                        .................../....................../.......................
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ

1. แรงโน้ มถ่ วงของโลกหมายถึงข้ อใด
           ก แรงดึงดูดของวัตถุที่มีต่อโลก
           ข แรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์
           ค แรงดึงดูดระหว่างโลกที่กระทาต่อดวงอาทิตย์
           ง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลของวัตถุ
2. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ ว
จึงต้ องถูกสลัดทิงไป ้
           ก ลดแรงเสี ยดทาน                      ค ลดมวลให้นอยลง
                                                              ้
           ข ลดขนาดให้ส้ ันลง                    ง ลดแรงโน้มถ่วงของโลก
3. ยานอวกาศสารวจดาวเคราะห์ ที่ ไม่มี นักบินควบคุม คือข้ อใด
           ก ยานลูนา                             ค ยานมาริ เนอร์
           ข ยานเรนเยอร์                         ง ยานคอสมอส
4. ประเทศใดทีประสบความสาเร็จมากทีสุด ในการส่ งยานอวกาศทีมีนักบินควบคุม
                   ่                       ่                    ่
           ก ญี่ปุ่น                  ข รัสเซีย  ค แคนาดา                ง สหรัฐอเมริ กา
5. จุดมุ่งหมายของการส่ งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ ดวงอืนๆ คือข้ อใด
                                                            ่
           ก ต้องการหาอายุของโลก                                       ่
                                                 ค ต้องการหาแหล่งที่อยูให้ประชากร
           ข ต้องการทราบแหล่งกาเนิ ดโลก          ง ต้องการหาทรัพยากรธรรมชาติเพิมเติม
                                                                                 ่
6. สภาวะไร้ นาหนักมีผลต่ อมนุษย์ ในเรื่องใด
                ้
           ก ระบบย่อยอาหารทางานผิดปกติ
            ข ระบบทางเดินหายใจขัดข้องได้ง่าย
           ค กล้ามเนื้อยึดทาให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก
           ง ความดันภายในดลหิ ตมาก เส้นเลือดแตกง่าย
7. การปองกันการเกิดสภาพไร้ นาหนักบนยานอวกาศทาได้ หรือไม่
         ้                       ้
           ก ได้ โดยการมัดตัวเองให้ติดกับยาน
           ข ได้ โดยการออกกาลังกายในยานอวกาศ
                                                   ่
           ค ไม่ได้ เพราะยานอวกาศมีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา
                                    ่
           ง ไม่ได้ เพราะขณะที่อยูในยานอวกาศมีการตกอย่างอิสระ
8. ดาวเทียมดวงแรกทีถูกส่ งขึนไปโคจรในวงโคจรของโลกได้ สาเร็จคือข้ อใด
                        ่     ้
           ก สปุตนิก 1                           ค อะพอลโล 1
           ข เทลสตาร์ 1                          ง เอ็กซ์พลอเรอร์ 1
9. ดาวเทียมเทลสตาร์ ถูกส่ งขึนไปโคจรรอบโลก เพือประโยชน์ ในด้ านใด
                               ้                  ่
         ก เพื่อการสื่ อสารระหว่างสหรัฐอเมริ กากับรัสเซี ย
         ข เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับยุโรป
         ค เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับเอเชีย
         ง เพื่อใช้ในการสื่ อสารและส่ งรายการโทรทัศน์ของรัสเซี ย
10. ข้ อใดกล่าวถึงดาวเทียมค้ างฟา ไม่ ถูกต้ อง
                                  ้
         ก เป็ นดาวเทียมที่โคจรในระดับสู ง
          ข เป็ นดาวเทียมที่มีเวลาโคจรรอบโลกเท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง
         ค เป็ นดาวเทียมที่พฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับความไม่ต่อเนื่องในการส่ งสัญญาณวิทยุ
                             ั
         ง ดาวเทียมอินเทลแซลเป็ นดาวเทียมค้างฟ้ าดวงแรกของโลก
11. ดาวเทียมค้ างฟา ถูกสร้ างขึนเพือใช้ ประโยชน์ ในด้ านใด
                   ้             ้ ่
         ก สื่ อสาร                                 ค การศึกษาวิทยาศาสตร์
         ข อุตุนิยมวิทยา                            ง สารวจทรัพยากรของโลก
12. สถานีสื่อสารดาวเทียมภาคพืนดินของประเทศไทยอยู่ทใด
                                    ้                      ี่
         ก อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี                        ค อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
         ข อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี                      ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
13. ข้ อใด ไม่ใช่ หน้ าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
         ก ตรวจวัดระดับของเมฆ                       ค ตรวจการแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์
         ข ตรวจหาสารพิษในบรรยากาศ                   ง ติดตามการก่อตัวและการเคลื่อนตัวของพายุ
14. ปัจจุบันประเทศไทยใช้ บริการดาวเทียมสื่ อสาร เพือการติดต่ อสื่ อสารระหว่างประเทศ
                                                      ่
และภายในประเทศในเรื่องใดมากทีสุด      ่
         ก โทรเลข                     ข โทรสาร ค โทรศัพท์                  ง โทรพิมพ์
15. จุดประสงค์ ของโครงการสกายแลบ คืออะไร
         ก การศึกษาทางการแพทย์
         ข การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์
         ค การศึกษาทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ
         ง การให้มนุษย์ข้ ึนไปค้นคว้าทดลองบนสถานีลอยฟ้ าให้นานที่สุดเท่าที่จะสามารถทาได้
16. ข้ อใดกล่าวถึงสถานีอวกาศเมียร์ ไม่ ถูกต้ อง
         ก ใช้ทาการทดลองวิทยาศาสตร์
         ข เป็ นสถานีอวกาศแบบแยกส่ วน
         ค เป็ นสถานอวกาศของสหรัฐอเมริ กา
         ง ใช้เป็ นสถานที่ศึกษาการใช้ชีวตให้วงอวกาศในระยะยาว
                                           ิ
17. สถานีอวกาศในอนาคต จะพัฒนาในด้ านใด
          ก การสร้างวัคซี นให้บริ สุทธิ์       ค การผลิตสารประกอบที่เบาแต่แข็งแรง
                            ่
          ข การสร้างที่อยูอาศัยของมนุษย์       ง การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในอนาคต
 18. ข้ อใดไม่ ใช่ ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก
          ก. ดาวเทียมซีแซท                     ค. ดาวเทียมเอพีเอส 6
          ข. ดาวเทียมเอทีเอส                   ง. ดาวเทียมไทรอส
19. โครงการอพอลโล-ซัลยุต เป็ นโครงการอวกาศร่ วมกันระหว่ างประเทศใด
          ก. อังกฤษ-รัสเซีย                    ค. เยอรมนี -รัสเซีย
          ข. อเมริ กา-รัสเซีย                  ง. อเมริ กา-เยอรมนี
20. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ วจึงต้ อง
ถูกสลัดทิงไป
           ้
          ก. ลดแรงเสี ยดทาน                    ค. ลดขนาดให้ส้ ันลง
          ข. ลดมวลให้นอยลง้                    ง. ลดแรงโน้มถ่วงของโลก

*****************************************************************************
                  เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ

        1) ง.           2) ค.           3) ค.           4) ง.           5) ค.
        6) ง.           7) ข.           8) ก.           9) ข.           10) ง.
        11) ก.          12) ข.          13) ค.          14) ค.          15) ง.
        16) ค.          17) ง.          18) ง.          19) ข.          20) ข.

*****************************************************************************

More Related Content

What's hot

Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
SAKANAN ANANTASOOK
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
SAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
Niwat Yod
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
tuiye
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
suranon Chaimuangchuan
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 

What's hot (20)

Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 

Similar to Astroplan16

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
Apichart Wattanasiri
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
Weerachat Martluplao
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้Suhaiming Lotanyong
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
Wiwat Ch
 
กิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการกิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการsomthawin
 

Similar to Astroplan16 (20)

ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
A
AA
A
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
กิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการกิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการ
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
SAKANAN ANANTASOOK
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
SAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
SAKANAN ANANTASOOK
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Astroplan16

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 16 รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์ ิ โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 สาระที่ 7 หน่ วยที่ 8 เรื่อง จรวด ดาวเทียม และยานอวกาศ เวลา 2.00 ชั่วโมง มาตรฐาน ว 7.2 เข้า ใจความส าคัญ ของเทคโนโลยีอ วกาศที่ นามาใช้ใ นการส ารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข ………………………………………………………………………………………………………. สาระสาคัญ นับตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบน การศึกษาด้านดาราศาสตร์ เพื่อเรี ยนรู ้เกี่ยวกับโลกระบบสุ ริยะ ั และเอกภพได้พฒนาการขึ้ นตามลาดับ และยังคงไม่ สิ้นสุ ด ทั้งนี้ เนื่ องจากความก้า วล้ า ในด้า น ั วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ ท ัน สมัย มากขึ้ น ท าให้ ปั จ จุ บ ัน ได้มี ก ารพัฒ นารู ป แบบการใช้ เทคโนโลยีอวกาศต่ างๆ มากมาย เพื่อใช้ในการส ารวจอวกาศ เช่ น การส่ งดาวเที ยม จรวด ยาน อวกาศ ไปสารวจนอกโลก โดยเฉพาะประเทศสหรั ฐอเมริ กา และสหภาพโซเวียตรั สเซี ย ต่างใช้ งบประมาณจานวนมหาศาลในการสารวจอวกาศ ทาให้ได้ความรู้ความเข้าใจและได้รับประโยชน์ จากเทคโนโลยีเหล่านี้เพิมขึ้นอย่างมาก ่ ตัวชี้วด ั 1. สื บค้นและอธิบายการส่ งและคานวณความเร็ วในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 1. เข้าใจความหมายและบอกความแตกต่างของคาว่าเทคโนโลยีอวกาศ จรวด ดาวเทียม ยานอวกาศ และกระสวยอวกาศได้ 2. อธิบายได้ถึงประโยชน์และความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศได้ สาระการเรียนรู้ - การส่ งดาวเทียมไปโคจรรอบโลก ณ ระดับความสู งจากผิวโลกต่างๆกัน จรวดต้องมีความเร็ วที่ แตกต่างกัน เนือหา ้ - ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ - จรวด สถานีอวกาศ - ยานอวกาศ ยานสารวจอวกาศ
  • 2. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับ ความลี้ลบในอวกาศที่ทาทายความอยากรู ้อยาก ั ้ ้ ่ เห็นของมนุษย์จนมนุษย์ตองสารวจอวกาศและวิธีการสารวจอวกาศที่กระทากันอยูในปั จจุบน ั 2. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ ั ั 3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน ั 2. ขั้นสอน/กิจกรรม 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ 1. ครู ให้นักเรี ยนสังเกตภาพที่4.1 ซึ่ งเป็ นภาพกาแล็กซี่ จานวนมากที่ปรากฏในกล้อง โทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในหนังสื อเรี ยน แล้วใช้คาถามนาเข้าสู่ ประเด็น เช่ น ถ้าสังเกตท้องฟ้ าใน คื นเดื อนมื ด ไร้ เมฆหมอกด้วยตาเปล่ า จะเห็ นรายละเอี ยดของภาพเดี ยวกันได้เท่ากันหรื อไม่ ถ้า ต้องการขยายขอบเขตการเห็นจะต้องทาอย่างไร การใช้กล้องโทรทรรศน์จากภาพ 7.1 และภาพ 7.2 จะช่วยให้เห็นรายละเอียดของภาพได้ดีกว่าหรื อไม่ ให้นกเรี ยนตอบพร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ ั 2. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันอภิปรายว่ากล้องโทรทรรศน์เป็ นเทคโนโลยีอวกาศหรื อไม่ ซึ่ งควร ั ได้ขอสรุ ปว่า กล้องโทรทรรศน์เป็ นเครื่ องมื อขยายขอบเขตการเห็ นของมนุ ษย์ ช่ วยขยายให้เห็ น ้ รายละเอี ยดของดาวเคราะห์และวัตถุ ทองฟ้ าบางอย่าง ซึ่ งนาไปสู่ การปรั บแก้ทฤษฎี ความเชื่ อให้ ้ สอดคล้องกับสิ่ งที่พบเห็นในธรรมชาติ 2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา 1. ครู แ ละนัก เรี ย นร่ ว มกัน อภิ ป รายข้อ มู ล เบื้ อ งต้น เกี่ ย วกับ เทคโนโลยี อ วกาศ สรุ ป ความหมายของเทคโนโลยี อวกาศ เทคโนโลยีอวกาศ และยุคอวกาศ 2. นักเรี ยนจัดกลุ่มๆ ละ 4 คน สมาชิ กกลุ่มคละความสามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน สมาชิ กแต่ละคนศึกษา 1 หัวข้อ คือจรวด ดาวเทียม สถานีอวกาศ ยานอวกาศ และยานสารวจ อวกาศ ผลัดเปลี่ยนกันอภิปรายเรื่ องที่ตนศึกษาให้เพื่อนในกลุ่มและอภิปรายร่ วมกันในกลุ่มจนทุก คนเข้าใจ ครู จะให้คาแนะนาหรื ออธิ บายเพิ่มในกลุ่มที่มีขอสงสัย ้ 2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป 1. ครู นาอภิปรายเกี่ ยวกับ ถ้ามนุ ษย์ออกไปในอวกาศแล้วจะเกิดระไรขึ้นกับร่ างกาย และ ต้องเตรี ยมร่ างกายอย่างไร ซึ่ งผลการอภิปรายควรสรุ ปได้ดงนี้ั - เมื่อมนุ ษย์ออกไปในอวกาศในช่ วงที่เดิ นทางออกจากโลกและเดิ นทางกลับมาสู่ โลก ร่ างกายจะเกิดความเร่ งหรื อความหน่วงเพิ่มขึ้น ซึ่ งเป็ นผลมาจากการขึ้นและลงของยานอวกาศ
  • 3. - การอยู่ในสภาพไร้น้ าหนักเป็ นเวลานาน ระบบการทางานของร่ างกายจะเปลี่ยนแปลง ไป กล้ามเนื้อเล็กลง ความหนาแน่นของเนื้ อกระดูกลดลง เนื่ องจากการสู ญเสี ยธาตุแคลเซี ยม ทาให้ กระดูกเปราะแตกหักง่าย ปั ญหาดังกล่าวแก้ไขโดยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอเพื่อให้อวัยวะ ต่างๆ ทาหน้าที่เหมือนอยูบนโลก ่ 2. ครู จดให้มีการแข่งขันตอบปั ญหาระหว่างกลุ่ม โดยสมาชิ กในกลุ่มจะเข้ากลุ่มใหม่เพื่อทา ั การแข่งขัน แบ่งเป็ น 4 กลุ่มตามลาดับความสามารถ ทุกคนในแต่ละกลุ่มจะได้รับบัตรตอบปั ญหา และนังล้อมวงหันหน้าเข้าหากัน การแข่งขันตอบปั ญหาเริ่ มจากการคว่าบัตรคาถามข้อ 1 – 10 ไว้ ่ กลางวง นักเรี ยนแต่ละคนจะผลัดกันเป็ นผูเ้ ปิ ดอ่านคาถาม เมื่อทุกคนตอบแล้วจึงเฉลย แล้วจึงอ่าน คาถามและเฉลยข้อต่อไป ทาเช่ นนี้ จนครบ 10 ข้อ รวมคะแนนในกลุ่มใครตอบได้คะแนนสู ง อันดับที่ 1 – 3 ได้คะแนนโบนัส กาหนดคะแนนโบนัสดังนี้ ผูชนะที่ 1 ในกลุ่ม ได้คะแนนโบนัส 10 คะแนน ้ ผูชนะที่ 2 ในกลุ่ม ได้คะแนนโบนัส 7 คะแนน ้ ผูชนะที่ 3 ในกลุ่ม ได้คะแนนโบนัส 3 คะแนน ้ 3. นักเรี ยนกลับกลุ่มเดิม นาคะแนนของทั้ง 4 คนรวมกัน และรวมคะแนนโบนัสกลุ่มใดได้ คะแนนสู งสุ ดเป็ นผูชนะ ได้รับรางวัลและคาชมเชย ้ 2.4 ขั้นขยายความรู้ 1. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2 คน สาธิ ตกิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร์ โดยการปล่อยลูกโป่ ง เคลื่อนที่ไปตามเส้นเชือก 2. ครู อธิ บายการสาธิ ตและร่ วมกันสรุ ป ว่า แรงดันอากาศท าให้ลู ก โป่ งเคลื่ อนที่ เป็ น หลักการเบื้องต้นของการส่ งยานอวกาศออกนอกโลก เพื่อศึกษาเกี่ยวกับอวกาศและใช้อวกาศให้ เป็ นประโยชน์ เช่น สถานีอวกาศ ซึ่ งการส่ งจรวดจะต้องมีความเร็ วมาก เรี ยกว่า ใช้ความเร็ วหลุดพ้น จรวดจึงจะออกสู่ อวกาศ 3. ครู ให้นกเรี ยนออกแบบและดาเนิ นการจัดทาจรวดขวดน้ าและฐานยิงจรวดขวดน้ า โดย ั ครู จะจัดแข่งขันในโอกาสต่อไป 2.5 ขั้นประเมิน 1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด ั ั ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ ั ้ นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม 2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ ั กิจกรรมและการนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
  • 4. 3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง 3. ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปกระบวนการสารวจอวกาศ เริ่ มจากการส่ งจรวด ดาวเทียม สถานี อวกาศ กระสวยอวกาศ และประโยชน์ที่ได้จากการสารวจอวกาศ และการสื่ อสารผ่านดาวเทียม 2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอี ยดเพิ่ม เติ มเกี่ ยวกับเรื่ อง จุ ดเริ่ มต้นของ เทคโนโลยี อ วกาศกับ มนุ ษ ย์ด วงจัน ทร์ จากหนัง สื อ อื่ น ๆ วารสาร เอกสารในห้อ งสมุ ด หรื อ อินเทอร์เน็ต สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ 1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้ 3. แบบทดสอบก่อนเรี ยน 4. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง การวัดและประเมินผล การวัดผลประเมินผลด้าน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์การผ่าน 1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ 1.วัดจากแบบสรุ ปความคิด 1.แบบสรุ ปความคิดรวบ 1. ทาถูกต้องร้อยละ 70 รวบยอด/ใบงาน/กิจกรรม ยอด/ใบงาน/กิจกรรม ขึ้นไป 2. ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม ั แบบสังเกตพฤติกรรมการ ได้คะแนนในระดับ 2 ในชั้นเรี ยน ทางาน ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึง การสังเกตพฤติกรรมความ แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2 ประสงค์ สนใจ และตั้งใจเรี ยน สนใจและตั้งใจเรี ยน ขึ้นไป กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 5. ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ ความเห็นหัวหน้า ความเห็นรองผูอานวยการ ้ การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ ิ กลุ่มบริ หารวิชาการ กลุ่มบริ หารวิชาการ ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... (นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก) (นางเพิ่มศิริ งามยิง) ่ (นายประเสริ ฐ สันทอง) ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ.......................................................... ( นายทันใจ ชูทรงเดช ) ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา ้ .................../....................../.......................
  • 6. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ 1. แรงโน้ มถ่ วงของโลกหมายถึงข้ อใด ก แรงดึงดูดของวัตถุที่มีต่อโลก ข แรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์ ค แรงดึงดูดระหว่างโลกที่กระทาต่อดวงอาทิตย์ ง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลของวัตถุ 2. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ ว จึงต้ องถูกสลัดทิงไป ้ ก ลดแรงเสี ยดทาน ค ลดมวลให้นอยลง ้ ข ลดขนาดให้ส้ ันลง ง ลดแรงโน้มถ่วงของโลก 3. ยานอวกาศสารวจดาวเคราะห์ ที่ ไม่มี นักบินควบคุม คือข้ อใด ก ยานลูนา ค ยานมาริ เนอร์ ข ยานเรนเยอร์ ง ยานคอสมอส 4. ประเทศใดทีประสบความสาเร็จมากทีสุด ในการส่ งยานอวกาศทีมีนักบินควบคุม ่ ่ ่ ก ญี่ปุ่น ข รัสเซีย ค แคนาดา ง สหรัฐอเมริ กา 5. จุดมุ่งหมายของการส่ งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ ดวงอืนๆ คือข้ อใด ่ ก ต้องการหาอายุของโลก ่ ค ต้องการหาแหล่งที่อยูให้ประชากร ข ต้องการทราบแหล่งกาเนิ ดโลก ง ต้องการหาทรัพยากรธรรมชาติเพิมเติม ่ 6. สภาวะไร้ นาหนักมีผลต่ อมนุษย์ ในเรื่องใด ้ ก ระบบย่อยอาหารทางานผิดปกติ ข ระบบทางเดินหายใจขัดข้องได้ง่าย ค กล้ามเนื้อยึดทาให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก ง ความดันภายในดลหิ ตมาก เส้นเลือดแตกง่าย 7. การปองกันการเกิดสภาพไร้ นาหนักบนยานอวกาศทาได้ หรือไม่ ้ ้ ก ได้ โดยการมัดตัวเองให้ติดกับยาน ข ได้ โดยการออกกาลังกายในยานอวกาศ ่ ค ไม่ได้ เพราะยานอวกาศมีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา ่ ง ไม่ได้ เพราะขณะที่อยูในยานอวกาศมีการตกอย่างอิสระ 8. ดาวเทียมดวงแรกทีถูกส่ งขึนไปโคจรในวงโคจรของโลกได้ สาเร็จคือข้ อใด ่ ้ ก สปุตนิก 1 ค อะพอลโล 1 ข เทลสตาร์ 1 ง เอ็กซ์พลอเรอร์ 1
  • 7. 9. ดาวเทียมเทลสตาร์ ถูกส่ งขึนไปโคจรรอบโลก เพือประโยชน์ ในด้ านใด ้ ่ ก เพื่อการสื่ อสารระหว่างสหรัฐอเมริ กากับรัสเซี ย ข เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับยุโรป ค เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับเอเชีย ง เพื่อใช้ในการสื่ อสารและส่ งรายการโทรทัศน์ของรัสเซี ย 10. ข้ อใดกล่าวถึงดาวเทียมค้ างฟา ไม่ ถูกต้ อง ้ ก เป็ นดาวเทียมที่โคจรในระดับสู ง ข เป็ นดาวเทียมที่มีเวลาโคจรรอบโลกเท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง ค เป็ นดาวเทียมที่พฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับความไม่ต่อเนื่องในการส่ งสัญญาณวิทยุ ั ง ดาวเทียมอินเทลแซลเป็ นดาวเทียมค้างฟ้ าดวงแรกของโลก 11. ดาวเทียมค้ างฟา ถูกสร้ างขึนเพือใช้ ประโยชน์ ในด้ านใด ้ ้ ่ ก สื่ อสาร ค การศึกษาวิทยาศาสตร์ ข อุตุนิยมวิทยา ง สารวจทรัพยากรของโลก 12. สถานีสื่อสารดาวเทียมภาคพืนดินของประเทศไทยอยู่ทใด ้ ี่ ก อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ค อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ข อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 13. ข้ อใด ไม่ใช่ หน้ าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ก ตรวจวัดระดับของเมฆ ค ตรวจการแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์ ข ตรวจหาสารพิษในบรรยากาศ ง ติดตามการก่อตัวและการเคลื่อนตัวของพายุ 14. ปัจจุบันประเทศไทยใช้ บริการดาวเทียมสื่ อสาร เพือการติดต่ อสื่ อสารระหว่างประเทศ ่ และภายในประเทศในเรื่องใดมากทีสุด ่ ก โทรเลข ข โทรสาร ค โทรศัพท์ ง โทรพิมพ์ 15. จุดประสงค์ ของโครงการสกายแลบ คืออะไร ก การศึกษาทางการแพทย์ ข การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ ค การศึกษาทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ง การให้มนุษย์ข้ ึนไปค้นคว้าทดลองบนสถานีลอยฟ้ าให้นานที่สุดเท่าที่จะสามารถทาได้ 16. ข้ อใดกล่าวถึงสถานีอวกาศเมียร์ ไม่ ถูกต้ อง ก ใช้ทาการทดลองวิทยาศาสตร์ ข เป็ นสถานีอวกาศแบบแยกส่ วน ค เป็ นสถานอวกาศของสหรัฐอเมริ กา ง ใช้เป็ นสถานที่ศึกษาการใช้ชีวตให้วงอวกาศในระยะยาว ิ
  • 8. 17. สถานีอวกาศในอนาคต จะพัฒนาในด้ านใด ก การสร้างวัคซี นให้บริ สุทธิ์ ค การผลิตสารประกอบที่เบาแต่แข็งแรง ่ ข การสร้างที่อยูอาศัยของมนุษย์ ง การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในอนาคต 18. ข้ อใดไม่ ใช่ ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก ก. ดาวเทียมซีแซท ค. ดาวเทียมเอพีเอส 6 ข. ดาวเทียมเอทีเอส ง. ดาวเทียมไทรอส 19. โครงการอพอลโล-ซัลยุต เป็ นโครงการอวกาศร่ วมกันระหว่ างประเทศใด ก. อังกฤษ-รัสเซีย ค. เยอรมนี -รัสเซีย ข. อเมริ กา-รัสเซีย ง. อเมริ กา-เยอรมนี 20. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ วจึงต้ อง ถูกสลัดทิงไป ้ ก. ลดแรงเสี ยดทาน ค. ลดขนาดให้ส้ ันลง ข. ลดมวลให้นอยลง้ ง. ลดแรงโน้มถ่วงของโลก ***************************************************************************** เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ 1) ง. 2) ค. 3) ค. 4) ง. 5) ค. 6) ง. 7) ข. 8) ก. 9) ข. 10) ง. 11) ก. 12) ข. 13) ค. 14) ค. 15) ง. 16) ค. 17) ง. 18) ง. 19) ข. 20) ข. *****************************************************************************