SlideShare a Scribd company logo
ชีวิตคืออะไร เป็นค�ำถามที่ถามกันมาเนิ่นนานตั้งแต่อดีต และยังคงเป็นเรื่องยากที่
จะตอบค�ำถามนี้ สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาในโลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร สิ่งเหล่านี้เกิดจากความ
ตั้งใจหรือเกิดจากความบังเอิญ มีผู้สร้างสิ่งเหล่านี้ให้เกิดมาบนโลกของเราหรือไม่ แล้วชีวิต
ได้เกิดมาพร้อมกับก�ำเนิดโลกของเราหรือไม่
	 ก่อนที่เราจะให้ความหมายของ ค�ำว่า “ชีวิต” เราจะต้องเข้าใจก่อนว่าไม่ว่าจะ
เป็นสิ่งไม่มีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิต ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นจากอะตอม โดยวิธีการจัดเรียงกันของ
อะตอมจะเป็นตัวก�ำหนดความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เรียกว่าสิ่งมีชีวิตกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต ค�ำว่า 
“อะตอม” มาจากแนวคิดสมัยกรีกเมื่อ 2,400 ปีที่แล้ว นักปรัชญา ดิโมคริตุสเสนอว่า สสาร
ต้องประกอบด้วยอนุภาคที่ไม่เปลี่ยนแปลง ท�ำลายไม่ได้ และแบ่งแยกไม่ได้ ซึ่งเขาเรียกว่า 
อะโตโมส (atomos) แต่แนวคิดของดิโมคริตุสไม่ได้พิสูจน์ด้วยการทดลองแต่อย่างใด จน
กระทั่งในช่วงต้นของยุคอุตสาหกรรม จอห์น ดาลตัน (John Dalton) ได้ค้นพบว่า อะตอม
ทุกอะตอมของธาตุหนึ่งธาตุใดมีลักษณะเหมือนกันทั้งหมด และสารประกอบเกิดจากการ
รวมตัวกันของอะตอมตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป และใน ค.ศ. 1869 ดีมีตรี เมนเดเลเยฟ (Dmitri
Mendeleev) ชาวรัสเซีย ได้สร้าง “ตารางธาตุ” (Periodic Table) ขึ้น โดยจัดเรียงหมวด
หมู่ธาตุต่าง ๆ ตามสมบัติและความสามารถในการเกิดปฏิกิริยา
ค�ำจ�ำกัดความของ “ชีวิต”
1
2 ขั้นตอนของชีวิต
	 อะตอม	(atom)	ประกอบด้วยอิเล็กตรอน	(electrons)	ล้อมอยู่รอบนิวเคลียสที่มีโปรตอน	
(protons)	และนิวตรอน	(neutrons)	โปรตอนและอิเล็กตรอนเป็นอนุภำคที่มีประจุ	โปรตอนมีประจุ
บวก	ส่วนอิเล็กตรอนมีขนำดประจุเท่ำกับโปรตอนพอดีแต่เป็นประจุลบ	นิวตรอนในนิวเคลียสมีมวล
แต่ไม่มีประจุ	ในอะตอมที่เสถียรจ�ำนวนโปรตอนในนิวเคลียสจะเท่ำกับจ�ำนวนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุ
ตรงกันข้ำม	ท�ำให้ประจุหักล้ำงเป็นกลำงพอดี	ในขณะที่อิเล็กตรอนสำมำรถเพิ่มเข้ำมำหรือหลุดออก
ไปได้	โดยจ�ำนวนโปรตอนในอะตอมเรียกว่ำ	เลขอะตอม
ภาพที่ 1.1	โครงสร้ำงอะตอม
	 เมื่ออะตอมมำกกว่ำ	1	อะตอมมำสร้ำงพันธะกันจะเกิดเป็นโมเลกุล	ซึ่งเป็นสำรประกอบเคมี	
สูตรเคมีระบุถึงอัตรำส่วนระหว่ำงอะตอมของธำตุต่ำงชนิดในสำรประกอบ	เช่น	น�้ำ	ซึ่งเป็นโมเลกุลที่
มีสูตรเคมีเป็น	H2
O	หมำยถึง	มีไฮโดรเจน	2	อะตอมส�ำหรับออกซิเจนทุก	ๆ	1	อะตอม	ดังภำพที่	1.2
ภาพที่ 1.2 โครงสร้ำงโมเลกุลของน�้ำ
3บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต”
	 ดังนั้น	อะตอมส่วนมำกจะรวมตัวกันเพื่อให้เกิดเป็นโมเลกุล	และในทำงกลับกัน	โมเลกุล
เหล่ำนี้จะรวมตัวกันเป็นสสำร	ด้วยวิธีกำรดังกล่ำว	ธำตุ	1	ตัวหรือมำกกว่ำนั้นจะรวมตัวกันเพื่อเป็น
โมเลกุลที่ใหญ่ขึ้น	เรียกว่ำ	สำรประกอบเคมี	(chemical	compound)	สำรประกอบทำงเคมีเหล่ำนี้
สำมำรถแยกตัวกันและก่อให้เกิดสสำรชนิดใหม่	เมื่อกระบวนกำรเหล่ำนี้เกิดขึ้นจะมีกำรปลดปล่อย
พลังงำนออกมำ	สิ่งที่มีชีวิตจะใช้พลังงำน	(energy)	เหล่ำนี้	ซึ่งสิ่งมีชีวิตจะมีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ	
(constant	change)	จะเกิดขึ้นเมื่อพืชหรือสัตว์เริ่มต้นชีวิต	จำกนั้นก็ทวีจ�ำนวนขึ้น	(เจริญเติบโตและ
สืบพันธุ์)	และในที่สุดสิ่งมีชีวิตก็ตำย	และกลับเป็นสำรประกอบทำงเคมีอย่ำงเดิม	ดังภำพที่	1.3
ภาพที่ 1.3	สิ่งมีชีวิต
4 ขั้นตอนของชีวิต
	 มีนักปรัชญำและนักวิทยำศำสตร์ได้พยำยำมหำค�ำตอบและเสนอค�ำจ�ำกัดควำมของค�ำว่ำ	
“ชีวิต”	มำกมำยและแตกต่ำงกันออกไป	ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงของค�ำจ�ำกัดควำมหรือควำมหมำยของ
ชีวิตที่อำจพบโดยทั่วไป	และมีค�ำถำมว่ำค�ำจ�ำกัดควำมเหล่ำนี้ใช้ได้ทุกกรณีหรือไม่	เช่น	
ชีวิต คือ สิ่งที่สามารถสืบพันธุ หรือขยายพันธุได
	 ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ	ผู้หญิงวัยหมดระดู	หรือผู้หญิงและผู้ชำยวัยเจริญพันธุ์ที่ท�ำหมัน
แล้วซึ่งไม่สำมำรถสืบพันธุ์ได้	ยังเป็นชีวิตอยู่หรือไม่	หรือแม้กระทั่งไวรัสคอมพิวเตอร์ที่สำมำรถแพร่
กระจำยขยำยตัวเองได้เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่
ชีวิต คือ สิ่งที่สามารถใชพลังงานได
	 ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ	รถยนต์	หรือหุ่นยนต์	ซึ่งใช้พลังงำนในกำรขับเคลื่อนเป็นชีวิต
หรือไม่
ชีวิต คือ สิ่งที่มีความซับซอน และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
	 ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ	ไมโครชิปที่ประกอบขึ้นด้วยทรำนซิสเตอร์เป็นจ�ำนวนมำก	ซึ่ง
มีควำมซับซ้อน	หรือมหำนครนิวยอร์กที่มีควำมซับซ้อนในด้ำนโครงสร้ำงของอำคำรและรูปแบบกำร
ด�ำรงชีวิตของผู้คนซึ่งมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำเป็นชีวิตหรือไม่
ชีวิต คือ สิ่งที่ประกอบดวยสารอินทรีย
	 ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ	พลำสติก	ซึ่งเป็นสำรอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีคำร์บอนเป็นองค์
ประกอบพื้นฐำนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่น	ๆ	เป็นชีวิตหรือไม่
	 แต่วิธีที่ดีที่สุดที่จะเข้ำใจสิ่งที่เรียกว่ำ	ชีวิต	คือกำรเปรียบเทียบกับสิ่งไม่มีชีวิต	จำกควำมแตก
ต่ำงนี้ท�ำให้เรำเข้ำใจลักษณะพื้นฐำนของสิ่งมีชีวิตที่ส�ำคัญร่วมกัน	7	ประกำร	คือ
1. ความสลับซับซอน (complexity)
	 ชีวิตมีแนวโน้มที่จะเกิดควำมซับซ้อนและจัดเรียงตัวในระดับที่สูงขึ้น	โดยสิ่งมีชีวิตจะมีกำร		
จัดเรียงในระดับที่แตกต่ำงกัน	ระดับที่เป็นพื้นฐำนที่สุดคือ	ระดับอะตอม	ระดับที่สองเป็นระดับ
สำรประกอบทำงเคมีที่ถูกสังเครำะห์ด้วยกระบวนกำรเมแทบอลิซึมกลำยเป็นโครงสร้ำงที่มีหน้ำที่
เฉพำะ	โดยสิ่งมีชีวิตมีกำรจัดเรียงบนพื้นฐำนของเซลล	(cells)	เนื้อเยื่อ	(tissues)	ของเซลล์	อวัยวะ
(organs)	ของเนื้อเยื่อ	และระบบ	(systems)	ของอวัยวะ
	 โดยเซลล์เป็นหน่วยโครงสร้ำงพื้นฐำนของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด	สิ่งมีชีวิตจะต้องมีเซลล์อย่ำงน้อย
เท่ำกับขั้นต�่ำของสิ่งมีชีวิตนั้น	ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของเซลล์คือ	เยื่อหุ้มเซลล์	(membrane)	ซึ่งท�ำ
หน้ำที่เป็นเหมือนกับก�ำแพง	แบ่งส่วนระหว่ำงภำยในเซลล์กับสิ่งแวดล้อมจำกภำยนอกหรือเซลล์ข้ำง
เคียง	ขณะเดียวกันก็ท�ำหน้ำที่ควบคุมกำรแลกเปลี่ยนสำรต่ำง	ๆ	ระหว่ำงเซลล์และสภำพแวดล้อมที่
อยู่รอบ	ๆ	เซลล์นั้น	นอกจำกนี้	เซลล์ยังมีโครงสร้ำงภำยในที่ใหญ่ที่สุด	คือ	นิวเคลียส	(nucleus)	ซึ่ง
5บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต”
ควบคุมระบบกำรท�ำงำนทั้งหมดของเซลล์และเป็นที่รวมข้อมูลทำงพันธุกรรมในรูปดีเอ็นเอ	วัสดุก้อน
เล็กที่เรียกว่ำ	ไมโทคอนเดรีย	(mitochondria)	ใช้ประโยชน์จำกกลูโคสและออกซิเจนเพื่อสร้ำงพลังงำน
ในกำรท�ำหน้ำที่ของเซลล์	โดยส่วนประกอบย่อยในเซลล์จะเคลื่อนไปมำในไซโทพลำซึม	(cytoplasm)	
ซึ่งเป็นวัสดุคล้ำยวุ้นที่มีเอนไซม์เพื่อช่วยให้เกิดปฏิกิริยำเคมีต่ำง	ๆ	ภำยในเซลล์	
	 ควำมแตกต่ำงระหว่ำงเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี	3	ข้อพิเศษที่มีเฉพำะในเซลล์พืช	1)	ผนัง
ภำยนอกที่แข็งแรงท�ำจำกโมเลกุลรูปร่ำงเส้นตรงของเซลลูโลสห่อรวมเป็นมัดในเส้นใยที่ยืดหยุ่น	(ไมโคร-
ไฟบริล)	ซึ่งจะเป็นโครงสร้ำงเสริมแรง	2)	ช่องว่ำงภำยในเซลล์ที่บรรจุของเหลวอยู่	เรียกว่ำ	แวคิวโอล	
(vacuole)	ซึ่งมีควำมดันภำยในช่วยผลักดันผนังเซลล์ออก	เป็นกำรเพิ่มควำมแข็งแรงเชิงโครงสร้ำง
ของเซลล์	และ	3)	คลอโรพลำสต์	(chloroplasts)	ประกอบด้วยคลอโรฟลล์ที่ท�ำหน้ำที่สังเครำะห์แสง	
ภาพที่ 1.4	เซลล์สัตว์	(animal	cell)	และเซลล์พืช	(plant	cell)
	 โดยสิ่งมีชีวิตที่ง่ำยหรือสลับซับซ้อนน้อยที่สุดจะประกอบด้วยเซลล์เซลล์เดียวซึ่งจะท�ำหน้ำที่
ที่จ�ำเป็นต่ำง	ๆ	ทั้งหมด	แต่สิ่งมีชีวิตอื่น	ๆ	ที่มีควำมซับซ้อนมำกขึ้น	จะประกอบด้วยเซลล์จ�ำนวน
มำกมำยมหำศำล	และส่วนใหญ่เหล่ำนี้จะมีหน้ำที่ที่เฉพำะเจำะจงและรวมตัวกันเป็นเนื้อเยื่อ	โดย
สัตว์จะมีควำมพิเศษมำกกว่ำพืช	เนื้อเยื่อสัตว์จะสลับซับซ้อนกว่ำ	เช่น	สัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง	เรำ
สำมำรถจัดแบ่งกลุ่มเนื้อเยื่อได้เป็น	4	กลุ่ม	ได้แก่	เนื้อเยื่อภำยนอก	(epithelial)	เนื้อเยื่อเชื่อมร่วมกัน	
(conjunction)	เนื้อเยื่อกล้ำมเนื้อ	(muscle)	และเนื้อเยื่อประสำท	(nervous)	เนื้อเยื่อเหล่ำนี้จะรวม
ตัวกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น	เรียกว่ำ	อวัยวะ	อวัยวะจะท�ำหน้ำที่ที่ซับซ้อนมำกกว่ำเซลล์	ซึ่งในสิ่งมีชีวิต
ที่มีวิวัฒนำกำรชั้นสูง	อวัยวะเหล่ำนี้จะรวมตัวกัน	เรียกว่ำ	ระบบ	ดังภำพที่	1.5
6 ขั้นตอนของชีวิต
ภาพที่ 1.5	 สิ่งมีชีวิตมีกำรจัดเรียงบนพื้นฐำนของเซลล์	(cells)	เนื้อเยื่อ	(tissues)	ของเซลล์	อวัยวะ	
(organs)	ของเนื้อเยื่อ	และระบบ	(systems)	ของอวัยวะ	
2. การแลกเปลี่ยนแกส (gas exchange)
	 สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะแลกเปลี่ยนแกสกับสภำพแวดล้อมผ่ำนกระบวนกำรที่เรียกว่ำ	กำรหำยใจ	
(respiration)	เปำหมำยหลักของกำรหำยใจ	คือ	ช่วยในกำรย่อยอินทรียสำรและปลดปล่อยพลังงำน
จำกโมเลกุลที่ถูกย่อยนั้น	มีกำรหำยใจ	2	แบบ	คือ	ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน	
	 กำรหำยใจโดยอำศัยออกซิเจน	(aerobic	respiration)	ในกระบวนกำรนี้	สิ่งมีชีวิตจะรับ
ออกซิเจน	(oxygen)	ซึ่งจ�ำเป็นต่อกำรด�ำรงชีวิต	และปล่อยคำร์บอนไดออกไซด์	(carbon	dioxide)	
ออกมำ	สัตว์ส่วนใหญ่จะหำยใจโดยใช้ปอด	(lung)	ส่วนแมลงจะใช้หลอดลม	(trachea)	สิ่งมีชีวิตที่
อำศัยอยู่ในน�้ำส่วนใหญ่จะหำยใจโดยใช้เหงือก	(branchiae	หรือ	gill)	สัตว์บำงชนิดที่อำศัยอยู่ใน
บริเวณเปียกชื้น	เช่น	หนอน	สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ	สัตว์จ�ำพวกปลำไหล	อำจจะหำยใจผ่ำนผิวหนัง	และ
สัตว์เซลล์เดียวจะหำยใจโดยอำศัยเยื่อหุ้มเซลล์
	 กำรหำยใจโดยไม่ใช้ออกซิเจน	(anaerobic	respiration)	มีสิ่งมีชีวิตไม่กี่ชนิดที่อำศัยอยู่
ในบริเวณที่ไม่มีออกซิเจน	ส่วนใหญ่จะเป็นพวกแบคทีเรีย	(bacteria)	ซึ่งได้รับพลังงำนโดยผ่ำน
กระบวนกำรที่ไม่ต้องอำศัยออกซิเจน	สิ่งมีชีวิตเหล่ำนี้บำงชนิดหำยใจโดยไม่ใช้ออกซิเจน	(anaerobe)	
เท่ำนั้น	และมีสิ่งมีชีวิตบำงชนิด	(optional	anaerobe)	ที่สำมำรถด�ำรงชีวิตได้ทั้งในที่ที่มีออกซิเจน
และไม่มีออกซิเจน	(anoxic)
7บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต”
3. กระบวนการเผาผลาญอาหาร หรือกระบวนการสรางและสลาย (metabolism)
	 ชีวิตมีควำมสำมำรถในกำรใช้พลังงำนจำกสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว	และเปลี่ยนรูปพลังงำนได้	
สิ่งมีชีวิตจะแลกเปลี่ยนปจจัยต่ำง	ๆ	กับสิ่งภำยนอกเสมอ	กระบวนกำรน�ำปจจัยต่ำง	ๆ	เข้ำสู่ภำยใน
เรียกว่ำ โภชนาการ (nutrition)	และเปลี่ยนให้เป็นพลังงาน (energy)	โดยพลังงำนเหล่ำนี้จะถูกใช้
เพื่อกำรเคลื่อนไหว	กำรเจริญเติบโตและกำรสืบพันธุ์	เรำเรียกกระบวนกำรนี้ว่ำ	กระบวนการเผา
ผลาญอาหาร หรือกระบวนการสรางและสลาย	(metabolism)	โดยมีปฏิกิริยำเกิดขึ้น	2	อย่ำง	
1)	กำรสร้ำงเนื้อเยื่อ	(anabolism)	โมเลกุลที่ใหญ่กว่ำและซับซ้อนกว่ำจะถูกสังเครำะห์จำกโมเลกุล				
ง่ำย	ๆ	ซึ่งต้องอำศัยพลังงำนด้วย	ในขณะเดียวกัน	2)	กำรสลำยตัวของสำรเชิงซ้อน	(catabolism)	
กำรย่อยสลำยโมเลกุลที่ซับซ้อนเพื่อสร้ำงโมเลกุลที่เล็กลงพร้อมทั้งปริมำณพลังงำนจ�ำนวนหนึ่ง
ภาพที่ 1.6 กระบวน	metabolism	ประกอบด้วยกระบวนกำร	anabolism	และ	catabolism
4. ภาวะธํารงดุล ความสมดุลของชีวิต (homeostasis, the equilibrium of life)
	 สภำพแวดล้อมอำจจะเป็นตัวก�ำหนดชีวิตของสิ่งมีชีวิต	แต่ภำยในร่ำงกำยของสิ่งมีชีวิตทุก
ชนิด	จะมีกระบวนกำรทำงกำยภำพและทำงเคมีเพื่อคงรักษำสภำพแวดล้อมภำยในให้คงที่โดยไม่ขึ้น
กับสภำพแวดล้อมภำยนอก	ปฏิกิริยำต่ำง	ๆ	ที่ท�ำให้เกิดควำมสมดุลภำยในของชีวิต	เรียกว่ำ	ภำวะ
ธ�ำรงดุล	(homeostasis)	ซึ่งมีควำมจ�ำเป็นต่อกำรด�ำรงชีวิต
	 สภำพแวดล้อมภำยใน	(internal	environment)	เพื่อให้อวัยวะและเซลล์ต่ำง	ๆ	ท�ำงำน
อย่ำงเหมำะสม	สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจ�ำเป็นต้องมีสภำวะที่เจำะจง	สภำวะต่ำง	ๆ	เหล่ำนี้	เรียกว่ำ	สภำพ
แวดล้อมภำยใน	ซึ่งปกติจะเกี่ยวข้องกับของเหลวที่มีเกลือแร่	(mineral	salts)	และโปรตีน	(proteins)	
ในปริมำณที่เหมำะสม	สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีสภำพแวดล้อมภำยใน	(all	living	creatures	have	an
internal	environment)	สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจ�ำเป็นต้องมีสภำพแวดล้อมภำยในเพื่อสร้ำงสมดุลที่จ�ำเป็น
ต่อกำรท�ำงำนที่มีประสิทธิภำพของร่ำงกำย	เช่น	กำรหำยใจ	กำรกินอำหำร	กำรเจริญเติบโต	กำร
8 ขั้นตอนของชีวิต
สืบพันธุ์	ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีควำมซับซ้อนแตกต่ำงกัน	เช่น	กำรควบคุมอุณหภูมิภำยในร่ำงกำย		
ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมนั้นจะมีระบบประสำทอัตโนมัติ	ที่มีศูนย์ควบคุมอยู่ในไฮโพทำลำมัส	ท�ำ
หน้ำที่เสมือนตัวควบคุมอุณหภูมิที่ใช้กับระบบเครื่องท�ำควำมเย็นหรือตู้อบ	ไฮโพทำลำมัสจะได้ข้อมูล
เกี่ยวกับอุณหภูมิ	น�ำมำเปรียบเทียบกับระดับที่ตั้งเอำไว้เพื่อสั่งงำนที่เหมำะสมไปตำมระบบประสำท
อัตโนมัติให้ท�ำงำนตอบสนองต่อข้อมูลที่ได้รับต่อไป	แต่ไฮโพทำลำมัสมีลักษณะแตกต่ำงกับตัวควบคุม
อุณหภูมิ	คือ	กำรรับข้อมูลรวมที่มำจำกตัวรับของอุณหภูมิซึ่งกระจำยอยู่ทั่วร่ำงกำย	ในภำวะปกติ					
ตัวรับเกี่ยวกับควำมร้อนและควำมเย็นที่ผิวหนังจะเป็นแหล่งส�ำคัญที่สุด	ในกำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับกำร
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิภำยนอกร่ำงกำย	และที่ไฮโพทำลำมัสเองจะมีตัวรับที่จะรับรู้อุณหภูมิของเลือด
ที่ไหลผ่ำน	กำรที่อุณหภูมิร่ำงกำยสูงขณะเป็นไข้	มิได้เกิดจำกไฮโพทำลำมัสท�ำงำนบกพร่อง	แต่เป็นผล
มำจำกกำรปรับระดับของตัวควบคุมอุณหภูมิ	ขณะมีอำกำรไข้คนไข้จะรู้สึกหนำวสั่นทั้ง	ๆ	ที่อุณหภูมิ
ร่ำงกำยสูงขึ้นแต่ก็ยังต�่ำกว่ำระดับที่ปรับใหม่ขณะที่เป็นไข้	พบว่ำสำรที่มีผลท�ำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง
ระดับของตัวควบคุมอุณหภูมิเป็นโปรตีนที่หลั่งออกมำจำกเซลล์เม็ดเลือดขำวซึ่งตอบสนองต่อเชื้อโรค	
	 เมื่อใดที่อุณหภูมิร่ำงกำยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมเพิ่มสูงเหนือระดับตัวควบคุมอุณหภูมิ
ที่ก�ำหนดไว้	เส้นเลือดที่อยู่ใกล้บริเวณผิวหนังจะขยำยตัวเพิ่มปริมำณเลือดไปเลี้ยงผิวหนังมำกขึ้น	
เมื่ออำกำศเย็นกว่ำที่ผิวหนังก็จะมีกำรถ่ำยเทควำมร้อนให้กับอำกำศ	นอกจำกนั้นควำมร้อนอำจสูญ
เสียไปในกำรระเหยออกมำกับน�้ำลำยและเหงื่อ	ในสุนัขจึงใช้ปำกช่วยหำยใจ	แมวจะมีอำกำศผ่ำน
บริเวณปำกและลิ้นอย่ำงรวดเร็วท�ำให้ควำมร้อนระเหยผ่ำนออกมำทำงน�้ำลำยได้จึงช่วยลดอุณหภูมิ
ของร่ำงกำย	มนุษย์จะระบำยควำมร้อนส่วนเกินออกมำทำงต่อมเหงื่อซึ่งกระจำยอยู่ทั่วร่ำงกำย	กำร
ขับเหงื่อเป็นกำรระบำยควำมร้อนออกจำกร่ำงกำยซึ่งท�ำให้เกิดกำรสูญเสียน�้ำและเกลือแร่มำก	จะ
มีผลไปกระตุ้นศูนย์ในไฮโพทำลำมัสท�ำให้เกิดกำรกระหำยน�้ำและมีกำรหลั่งฮอร์โมน	ADH	จำก
ไฮโพทำลำมัสเพื่อให้หน่วยไตดูดน�้ำกลับเพื่อประหยัดน�้ำ
5. การจําลองตัวเอง หรือการสืบพันธุ (reproduction)
	 สิ่งมีชีวิตแตกต่ำงจำกสิ่งไม่มีชีวิต	คือ	มีควำมสำมำรถในกำรให้ก�ำเนิดสิ่งมีชีวิตใหม่จำกสิ่งมี
ชีวิตเดิม	ซึ่งเป็นสมบัติส�ำคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ท�ำให้สิ่งมีชีวิตสำมำรถด�ำรงพันธุ์ให้คงไว้ได้	กำร
สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตแตกต่ำงกันออกไป	สำมำรถศึกษำได้ดังต่อไปนี้
การสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว	สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีทั้งกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ
และไม่อำศัยเพศ	กำรสืบพันธุ์แบบไม่อำศัยเพศแบ่งแยกเป็น	2	ส่วนเท่ำ	ๆ	กัน	(binary	fission)	เช่น	
อะมีบำ	พำรำมีเซียม	บำงชนิดสืบพันธุ์โดยกำรแตกหน่อ	(budding)	เช่น	ยีสต์	บำงครั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวก็มีพฤติกรรมกำรสืบพันธุ์คล้ำยกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ	เช่น	พำรำมีเซียม	เซลล์มี	2	นิวเคลียส	
คือ	ไมโครนิวเคลียส	(micronucleus)	และแมโครนิวเคลียส	(macronucleus)	พำรำมีเซียม	2	เซลล์
9บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต”
จะเกิดกำรจับคู่กัน	(conjugation)	เพื่อแลกเปลี่ยนสำรพันธุกรรม	จำกนั้นจะแยกกันและแบ่งเซลล์
เพิ่มจ�ำนวนตำมปกติ
	 กำรสืบพันธุ์ของสัตว์	กำรสืบพันธุ์ของสัตว์มีทั้งแบบอำศัยเพศและไม่อำศัยเพศ	กำรสืบพันธุ์
แบบไม่อำศัยเพศพบในสัตว์ที่มีร่ำงกำยไม่ซับซ้อนและมีควำมสำมำรถในกำรงอกใหม่	เช่น	พลำนำเรีย
ดำวทะเล	สัตว์พวกนี้สำมำรถสืบพันธุ์ด้วยวิธีกำรงอกใหม่	ซึ่งเกิดขึ้นโดยส่วนของร่ำงกำยที่ขำด										
ออกไปหรือสูญเสียไปด้วยสำเหตุใดก็ตำม	ก็สำมำรถเจริญเติบโตเป็นตัวใหม่ได้	ท�ำให้มีจ�ำนวนเพิ่ม
ขึ้น	สัตว์หลำยชนิด	เช่น	ฟองน�้ำและไฮดรำ	สำมำรถสร้ำงสิ่งมีชีวิตใหม่จำกเซลล์และกลุ่มเซลล์ของ
เดิม	เรียกว่ำ	“กำรแตกหน่อ”	ซึ่งจะเจริญจนกระทั่งได้เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่เหมือนเดิมแต่มีขนำดเล็ก
กว่ำ	ต่อมำหน่อจะหลุดออกมำจำกตัวเดิมและเจริญเติบโตต่อไป	กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศเกิดจำก
กำร	“ปฏิสนธิ”	(fertilization)	ของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือเซลล์
ไข่	อำจจะเกิดภำยในหรือภำยนอกร่ำงกำยของสัตว์เพศเมียก็ได้	โดยเซลล์ไข่ที่ได้รับกำรผสมแล้วเรียก
ว่ำ	ไซโกต	จะเจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอและตัวเต็มวัยที่สำมำรถสืบพันธุ์เพิ่มจ�ำนวนประชำกรต่อไปได้	
สัตว์ส่วนใหญ่มีอวัยวะเพศแยกกันอยู่คนละตัวเป็นสัตว์เพศผู้และเพศเมีย	แต่บำงชนิดจะมีทั้งสองเพศ
ในตัวเดียวกันเรียกว่ำ	กะเทย	(hermaphrodite)	เช่น	ไฮดรำ	พลำนำเรีย	ไส้เดือนดิน
6. การเจริญเติบโตและการพัฒนา (growth and development)
	 นับแต่วันที่สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจนถึงโตเต็มวัย	สิ่งมีชีวิตนั้นจะผ่ำนกระบวนกำรเจริญเติบโตที่มี
กำรเปลี่ยนแปลงมำกมำย	ในพวกสัตว์เซลล์เดียว	ขั้นตอนกำรเจริญเติบโตจะใช้เวลำสั้น	ๆ	ในขณะที่
พืชหรือสัตว์อื่น	ๆ	ในขั้นตอนเหล่ำนี้จะใช้เวลำนำนมำกกว่ำ	
	 กำรพัฒนำ	(development)	คือ	สิ่งที่แสดงว่ำสิ่งมีชีวิตเติบโตขึ้น	มีกำรพัฒนำอยู่	2															
รูปแบบ	คือ	ทำงตรง	(direct)	และทำงอ้อม	(indirect)	ในกำรพัฒนำทำงตรงนั้นสิ่งมีชีวิตจะเกิดมำโดย
มีลักษณะและรูปร่ำงคล้ำยกับสำยพันธุ์ของพ่อและแม่และจะค่อย	ๆ	เพิ่มขนำด	และพัฒนำหน้ำที่ของ
อวัยวะต่ำง	ๆ	เช่น	สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะพัฒนำทำงตรงนับตั้งแต่เกิดมำ	และจะมีลักษณะต่ำง	ๆ	ที่
จ�ำเป็นเหมือนตัวเต็มวัย	ส่วนกำรพัฒนำทำงอ้อมนั้น	สิ่งมีชีวิตจะเกิดขึ้นมำโดยมีลักษณะแตกต่ำงไป
จำกตัวที่โตเต็มวัย	เพื่อกำรเจริญเติบโตสิ่งมีชีวิตเหล่ำนี้ต้องผ่ำนช่วงแห่งกำรเปลี่ยนแปลงซึ่งเรียกว่ำ	
กำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงที่สมบูรณ์	(metamorphosis)	กำรพัฒนำทำงอ้อมเกิดขึ้นกับแมลงหลำยชนิด	
และสัตว์เลื้อยคลำนบำงประเภท
	 สัตว์หลำยเซลล์จะขยำยพันธุ์ด้วยกำรใช้เพศและจุดเริ่มต้นคือ	กำรผสมกันของเซลล์	2	เซลล์	
(zygote)	ระหว่ำงสเปร์ม	(spermatozoid)	และไข่	(ovule)	จำกกระบวนกำรนี้สิ่งมีชีวิตจะพัฒนำ	
ตัวเองขึ้น	เริ่มจำกกำรจ�ำลองเซลล์ต้นแบบ	แบ่งตัวออกมำ	และท�ำต่อเนื่องไปเรื่อย	ๆ	จนเซลล์เหล่ำนี้
พัฒนำเป็นรูปร่ำงขึ้น	ขณะที่สิ่งมีชีวิตเหล่ำนี้เจริญเติบโตไปเรื่อย	ๆ	ก็จะมีลักษณะคล้ำยตัวเต็มวัยมำก
ยิ่งขึ้น
10 ขั้นตอนของชีวิต
7. การกลาย (mutation) และการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection)
	 ชีวิตมีกำรปรับตัวและพัฒนำกำรเป็นขั้นตอนร่วมกับกำรเปลี่ยนแปลงภำยนอกคือในสิ่งแวดล้อม	
โดยผ่ำนกระบวนกำรที่เรียกว่ำ	กำรกลำยและกำรคัดเลือกโดยธรรมชำติ	ซึ่งกำรเกิดกระบวนกำรนี้จะ
ใช้ระยะเวลำค่อนข้ำงยำวนำน	ซึ่งเป็นปจจัยส�ำคัญในกระบวนกำรวิวัฒนำกำร	ดังที่	ชำร์ลส์	ดำร์วิน	
(ค.ศ.	1809-1882)	ได้ยกตัวอย่ำงเกี่ยวกับวิวัฒนำกำรของนกฟนช์	(finch)	ว่ำ	นกเหล่ำนี้มีบรรพบุรุษ
จำกทวีปอเมริกำใต้	จำกนั้นได้แพร่พันธุ์และเพิ่มจ�ำนวนประชำกรอย่ำงรวดเร็วบนหมู่เกำะกำลำปำกอส	
(Galapagos	Islands)	ซึ่งตั้งอยู่ในมหำสมุทรแปซิฟกห่ำงจำกชำยฝงทำงตะวันตกของประเทศเอกวำดอร์
ประมำณ	500	ไมล์	นกฟนช์ต้องประสบปญหำกำรขำดแคลนอำหำรและทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจ�ำกัด
บนหมู่เกำะกำลำปำกอส	ท�ำให้ต้องแข่งขันดิ้นรนเพื่อควำมอยู่รอด	ในขณะเดียวกันมีควำมแปรผันของ
ลักษณะเกิดขึ้น	ซึ่งสำมำรถถ่ำยทอดไปยังรุ่นต่อ	ๆ	ไปได้	เช่น	กำรมีจะงอยปำกที่แตกต่ำงกัน	เพื่อให้
เหมำะสมกับกำรใช้กินเมล็ดที่มีเปลือกแข็ง	กำรจิกแมลง	หรือคำบไม้เพื่อแหย่แมลงให้ออกจำกรู	กำร
เปลี่ยนแปลงลักษณะจำกรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งในระยะเวลำที่ยำวนำน	เป็นผลให้เกิดกระบวนกำร
วิวัฒนำกำรและมีสปีชีส์ใหม่เกิดขึ้น	ดังภำพที่	1.7	ธรรมชำติจึงคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีควำมเหมำะสม
ที่สุด	ซึ่งสำมำรถอยู่รอดและปรับตัวได้ในสภำวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
ภาพที่ 1.7		 ควำมแตกต่ำงของจะงอยปำกของนกฟนช์ในเกำะกำลำปำกอส	ซึ่งลักษณะดังกล่ำว					
มีควำมเกี่ยวข้องกับอุปนิสัยกำรกิน

More Related Content

More from CUPress

9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419
CUPress
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402
CUPress
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334
CUPress
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
CUPress
 
9789740336181
97897403361819789740336181
9789740336181
CUPress
 
9789740336167
97897403361679789740336167
9789740336167
CUPress
 
9789740336150
97897403361509789740336150
9789740336150
CUPress
 
9789740336136
97897403361369789740336136
9789740336136
CUPress
 
9789740336129
97897403361299789740336129
9789740336129
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
9789740336181
97897403361819789740336181
9789740336181
 
9789740336167
97897403361679789740336167
9789740336167
 
9789740336150
97897403361509789740336150
9789740336150
 
9789740336136
97897403361369789740336136
9789740336136
 
9789740336129
97897403361299789740336129
9789740336129
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

9789740336235

  • 1. ชีวิตคืออะไร เป็นค�ำถามที่ถามกันมาเนิ่นนานตั้งแต่อดีต และยังคงเป็นเรื่องยากที่ จะตอบค�ำถามนี้ สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาในโลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร สิ่งเหล่านี้เกิดจากความ ตั้งใจหรือเกิดจากความบังเอิญ มีผู้สร้างสิ่งเหล่านี้ให้เกิดมาบนโลกของเราหรือไม่ แล้วชีวิต ได้เกิดมาพร้อมกับก�ำเนิดโลกของเราหรือไม่ ก่อนที่เราจะให้ความหมายของ ค�ำว่า “ชีวิต” เราจะต้องเข้าใจก่อนว่าไม่ว่าจะ เป็นสิ่งไม่มีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิต ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นจากอะตอม โดยวิธีการจัดเรียงกันของ อะตอมจะเป็นตัวก�ำหนดความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เรียกว่าสิ่งมีชีวิตกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต ค�ำว่า “อะตอม” มาจากแนวคิดสมัยกรีกเมื่อ 2,400 ปีที่แล้ว นักปรัชญา ดิโมคริตุสเสนอว่า สสาร ต้องประกอบด้วยอนุภาคที่ไม่เปลี่ยนแปลง ท�ำลายไม่ได้ และแบ่งแยกไม่ได้ ซึ่งเขาเรียกว่า อะโตโมส (atomos) แต่แนวคิดของดิโมคริตุสไม่ได้พิสูจน์ด้วยการทดลองแต่อย่างใด จน กระทั่งในช่วงต้นของยุคอุตสาหกรรม จอห์น ดาลตัน (John Dalton) ได้ค้นพบว่า อะตอม ทุกอะตอมของธาตุหนึ่งธาตุใดมีลักษณะเหมือนกันทั้งหมด และสารประกอบเกิดจากการ รวมตัวกันของอะตอมตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป และใน ค.ศ. 1869 ดีมีตรี เมนเดเลเยฟ (Dmitri Mendeleev) ชาวรัสเซีย ได้สร้าง “ตารางธาตุ” (Periodic Table) ขึ้น โดยจัดเรียงหมวด หมู่ธาตุต่าง ๆ ตามสมบัติและความสามารถในการเกิดปฏิกิริยา ค�ำจ�ำกัดความของ “ชีวิต” 1
  • 2. 2 ขั้นตอนของชีวิต อะตอม (atom) ประกอบด้วยอิเล็กตรอน (electrons) ล้อมอยู่รอบนิวเคลียสที่มีโปรตอน (protons) และนิวตรอน (neutrons) โปรตอนและอิเล็กตรอนเป็นอนุภำคที่มีประจุ โปรตอนมีประจุ บวก ส่วนอิเล็กตรอนมีขนำดประจุเท่ำกับโปรตอนพอดีแต่เป็นประจุลบ นิวตรอนในนิวเคลียสมีมวล แต่ไม่มีประจุ ในอะตอมที่เสถียรจ�ำนวนโปรตอนในนิวเคลียสจะเท่ำกับจ�ำนวนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุ ตรงกันข้ำม ท�ำให้ประจุหักล้ำงเป็นกลำงพอดี ในขณะที่อิเล็กตรอนสำมำรถเพิ่มเข้ำมำหรือหลุดออก ไปได้ โดยจ�ำนวนโปรตอนในอะตอมเรียกว่ำ เลขอะตอม ภาพที่ 1.1 โครงสร้ำงอะตอม เมื่ออะตอมมำกกว่ำ 1 อะตอมมำสร้ำงพันธะกันจะเกิดเป็นโมเลกุล ซึ่งเป็นสำรประกอบเคมี สูตรเคมีระบุถึงอัตรำส่วนระหว่ำงอะตอมของธำตุต่ำงชนิดในสำรประกอบ เช่น น�้ำ ซึ่งเป็นโมเลกุลที่ มีสูตรเคมีเป็น H2 O หมำยถึง มีไฮโดรเจน 2 อะตอมส�ำหรับออกซิเจนทุก ๆ 1 อะตอม ดังภำพที่ 1.2 ภาพที่ 1.2 โครงสร้ำงโมเลกุลของน�้ำ
  • 3. 3บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต” ดังนั้น อะตอมส่วนมำกจะรวมตัวกันเพื่อให้เกิดเป็นโมเลกุล และในทำงกลับกัน โมเลกุล เหล่ำนี้จะรวมตัวกันเป็นสสำร ด้วยวิธีกำรดังกล่ำว ธำตุ 1 ตัวหรือมำกกว่ำนั้นจะรวมตัวกันเพื่อเป็น โมเลกุลที่ใหญ่ขึ้น เรียกว่ำ สำรประกอบเคมี (chemical compound) สำรประกอบทำงเคมีเหล่ำนี้ สำมำรถแยกตัวกันและก่อให้เกิดสสำรชนิดใหม่ เมื่อกระบวนกำรเหล่ำนี้เกิดขึ้นจะมีกำรปลดปล่อย พลังงำนออกมำ สิ่งที่มีชีวิตจะใช้พลังงำน (energy) เหล่ำนี้ ซึ่งสิ่งมีชีวิตจะมีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ (constant change) จะเกิดขึ้นเมื่อพืชหรือสัตว์เริ่มต้นชีวิต จำกนั้นก็ทวีจ�ำนวนขึ้น (เจริญเติบโตและ สืบพันธุ์) และในที่สุดสิ่งมีชีวิตก็ตำย และกลับเป็นสำรประกอบทำงเคมีอย่ำงเดิม ดังภำพที่ 1.3 ภาพที่ 1.3 สิ่งมีชีวิต
  • 4. 4 ขั้นตอนของชีวิต มีนักปรัชญำและนักวิทยำศำสตร์ได้พยำยำมหำค�ำตอบและเสนอค�ำจ�ำกัดควำมของค�ำว่ำ “ชีวิต” มำกมำยและแตกต่ำงกันออกไป ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงของค�ำจ�ำกัดควำมหรือควำมหมำยของ ชีวิตที่อำจพบโดยทั่วไป และมีค�ำถำมว่ำค�ำจ�ำกัดควำมเหล่ำนี้ใช้ได้ทุกกรณีหรือไม่ เช่น ชีวิต คือ สิ่งที่สามารถสืบพันธุ หรือขยายพันธุได ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ ผู้หญิงวัยหมดระดู หรือผู้หญิงและผู้ชำยวัยเจริญพันธุ์ที่ท�ำหมัน แล้วซึ่งไม่สำมำรถสืบพันธุ์ได้ ยังเป็นชีวิตอยู่หรือไม่ หรือแม้กระทั่งไวรัสคอมพิวเตอร์ที่สำมำรถแพร่ กระจำยขยำยตัวเองได้เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ ชีวิต คือ สิ่งที่สามารถใชพลังงานได ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ รถยนต์ หรือหุ่นยนต์ ซึ่งใช้พลังงำนในกำรขับเคลื่อนเป็นชีวิต หรือไม่ ชีวิต คือ สิ่งที่มีความซับซอน และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ ไมโครชิปที่ประกอบขึ้นด้วยทรำนซิสเตอร์เป็นจ�ำนวนมำก ซึ่ง มีควำมซับซ้อน หรือมหำนครนิวยอร์กที่มีควำมซับซ้อนในด้ำนโครงสร้ำงของอำคำรและรูปแบบกำร ด�ำรงชีวิตของผู้คนซึ่งมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำเป็นชีวิตหรือไม่ ชีวิต คือ สิ่งที่ประกอบดวยสารอินทรีย ปญหำของค�ำจ�ำกัดควำมนี้คือ พลำสติก ซึ่งเป็นสำรอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีคำร์บอนเป็นองค์ ประกอบพื้นฐำนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เป็นชีวิตหรือไม่ แต่วิธีที่ดีที่สุดที่จะเข้ำใจสิ่งที่เรียกว่ำ ชีวิต คือกำรเปรียบเทียบกับสิ่งไม่มีชีวิต จำกควำมแตก ต่ำงนี้ท�ำให้เรำเข้ำใจลักษณะพื้นฐำนของสิ่งมีชีวิตที่ส�ำคัญร่วมกัน 7 ประกำร คือ 1. ความสลับซับซอน (complexity) ชีวิตมีแนวโน้มที่จะเกิดควำมซับซ้อนและจัดเรียงตัวในระดับที่สูงขึ้น โดยสิ่งมีชีวิตจะมีกำร จัดเรียงในระดับที่แตกต่ำงกัน ระดับที่เป็นพื้นฐำนที่สุดคือ ระดับอะตอม ระดับที่สองเป็นระดับ สำรประกอบทำงเคมีที่ถูกสังเครำะห์ด้วยกระบวนกำรเมแทบอลิซึมกลำยเป็นโครงสร้ำงที่มีหน้ำที่ เฉพำะ โดยสิ่งมีชีวิตมีกำรจัดเรียงบนพื้นฐำนของเซลล (cells) เนื้อเยื่อ (tissues) ของเซลล์ อวัยวะ (organs) ของเนื้อเยื่อ และระบบ (systems) ของอวัยวะ โดยเซลล์เป็นหน่วยโครงสร้ำงพื้นฐำนของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สิ่งมีชีวิตจะต้องมีเซลล์อย่ำงน้อย เท่ำกับขั้นต�่ำของสิ่งมีชีวิตนั้น ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของเซลล์คือ เยื่อหุ้มเซลล์ (membrane) ซึ่งท�ำ หน้ำที่เป็นเหมือนกับก�ำแพง แบ่งส่วนระหว่ำงภำยในเซลล์กับสิ่งแวดล้อมจำกภำยนอกหรือเซลล์ข้ำง เคียง ขณะเดียวกันก็ท�ำหน้ำที่ควบคุมกำรแลกเปลี่ยนสำรต่ำง ๆ ระหว่ำงเซลล์และสภำพแวดล้อมที่ อยู่รอบ ๆ เซลล์นั้น นอกจำกนี้ เซลล์ยังมีโครงสร้ำงภำยในที่ใหญ่ที่สุด คือ นิวเคลียส (nucleus) ซึ่ง
  • 5. 5บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต” ควบคุมระบบกำรท�ำงำนทั้งหมดของเซลล์และเป็นที่รวมข้อมูลทำงพันธุกรรมในรูปดีเอ็นเอ วัสดุก้อน เล็กที่เรียกว่ำ ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) ใช้ประโยชน์จำกกลูโคสและออกซิเจนเพื่อสร้ำงพลังงำน ในกำรท�ำหน้ำที่ของเซลล์ โดยส่วนประกอบย่อยในเซลล์จะเคลื่อนไปมำในไซโทพลำซึม (cytoplasm) ซึ่งเป็นวัสดุคล้ำยวุ้นที่มีเอนไซม์เพื่อช่วยให้เกิดปฏิกิริยำเคมีต่ำง ๆ ภำยในเซลล์ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี 3 ข้อพิเศษที่มีเฉพำะในเซลล์พืช 1) ผนัง ภำยนอกที่แข็งแรงท�ำจำกโมเลกุลรูปร่ำงเส้นตรงของเซลลูโลสห่อรวมเป็นมัดในเส้นใยที่ยืดหยุ่น (ไมโคร- ไฟบริล) ซึ่งจะเป็นโครงสร้ำงเสริมแรง 2) ช่องว่ำงภำยในเซลล์ที่บรรจุของเหลวอยู่ เรียกว่ำ แวคิวโอล (vacuole) ซึ่งมีควำมดันภำยในช่วยผลักดันผนังเซลล์ออก เป็นกำรเพิ่มควำมแข็งแรงเชิงโครงสร้ำง ของเซลล์ และ 3) คลอโรพลำสต์ (chloroplasts) ประกอบด้วยคลอโรฟลล์ที่ท�ำหน้ำที่สังเครำะห์แสง ภาพที่ 1.4 เซลล์สัตว์ (animal cell) และเซลล์พืช (plant cell) โดยสิ่งมีชีวิตที่ง่ำยหรือสลับซับซ้อนน้อยที่สุดจะประกอบด้วยเซลล์เซลล์เดียวซึ่งจะท�ำหน้ำที่ ที่จ�ำเป็นต่ำง ๆ ทั้งหมด แต่สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่มีควำมซับซ้อนมำกขึ้น จะประกอบด้วยเซลล์จ�ำนวน มำกมำยมหำศำล และส่วนใหญ่เหล่ำนี้จะมีหน้ำที่ที่เฉพำะเจำะจงและรวมตัวกันเป็นเนื้อเยื่อ โดย สัตว์จะมีควำมพิเศษมำกกว่ำพืช เนื้อเยื่อสัตว์จะสลับซับซ้อนกว่ำ เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เรำ สำมำรถจัดแบ่งกลุ่มเนื้อเยื่อได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ เนื้อเยื่อภำยนอก (epithelial) เนื้อเยื่อเชื่อมร่วมกัน (conjunction) เนื้อเยื่อกล้ำมเนื้อ (muscle) และเนื้อเยื่อประสำท (nervous) เนื้อเยื่อเหล่ำนี้จะรวม ตัวกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น เรียกว่ำ อวัยวะ อวัยวะจะท�ำหน้ำที่ที่ซับซ้อนมำกกว่ำเซลล์ ซึ่งในสิ่งมีชีวิต ที่มีวิวัฒนำกำรชั้นสูง อวัยวะเหล่ำนี้จะรวมตัวกัน เรียกว่ำ ระบบ ดังภำพที่ 1.5
  • 6. 6 ขั้นตอนของชีวิต ภาพที่ 1.5 สิ่งมีชีวิตมีกำรจัดเรียงบนพื้นฐำนของเซลล์ (cells) เนื้อเยื่อ (tissues) ของเซลล์ อวัยวะ (organs) ของเนื้อเยื่อ และระบบ (systems) ของอวัยวะ 2. การแลกเปลี่ยนแกส (gas exchange) สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะแลกเปลี่ยนแกสกับสภำพแวดล้อมผ่ำนกระบวนกำรที่เรียกว่ำ กำรหำยใจ (respiration) เปำหมำยหลักของกำรหำยใจ คือ ช่วยในกำรย่อยอินทรียสำรและปลดปล่อยพลังงำน จำกโมเลกุลที่ถูกย่อยนั้น มีกำรหำยใจ 2 แบบ คือ ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน กำรหำยใจโดยอำศัยออกซิเจน (aerobic respiration) ในกระบวนกำรนี้ สิ่งมีชีวิตจะรับ ออกซิเจน (oxygen) ซึ่งจ�ำเป็นต่อกำรด�ำรงชีวิต และปล่อยคำร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide) ออกมำ สัตว์ส่วนใหญ่จะหำยใจโดยใช้ปอด (lung) ส่วนแมลงจะใช้หลอดลม (trachea) สิ่งมีชีวิตที่ อำศัยอยู่ในน�้ำส่วนใหญ่จะหำยใจโดยใช้เหงือก (branchiae หรือ gill) สัตว์บำงชนิดที่อำศัยอยู่ใน บริเวณเปียกชื้น เช่น หนอน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ สัตว์จ�ำพวกปลำไหล อำจจะหำยใจผ่ำนผิวหนัง และ สัตว์เซลล์เดียวจะหำยใจโดยอำศัยเยื่อหุ้มเซลล์ กำรหำยใจโดยไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic respiration) มีสิ่งมีชีวิตไม่กี่ชนิดที่อำศัยอยู่ ในบริเวณที่ไม่มีออกซิเจน ส่วนใหญ่จะเป็นพวกแบคทีเรีย (bacteria) ซึ่งได้รับพลังงำนโดยผ่ำน กระบวนกำรที่ไม่ต้องอำศัยออกซิเจน สิ่งมีชีวิตเหล่ำนี้บำงชนิดหำยใจโดยไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobe) เท่ำนั้น และมีสิ่งมีชีวิตบำงชนิด (optional anaerobe) ที่สำมำรถด�ำรงชีวิตได้ทั้งในที่ที่มีออกซิเจน และไม่มีออกซิเจน (anoxic)
  • 7. 7บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต” 3. กระบวนการเผาผลาญอาหาร หรือกระบวนการสรางและสลาย (metabolism) ชีวิตมีควำมสำมำรถในกำรใช้พลังงำนจำกสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว และเปลี่ยนรูปพลังงำนได้ สิ่งมีชีวิตจะแลกเปลี่ยนปจจัยต่ำง ๆ กับสิ่งภำยนอกเสมอ กระบวนกำรน�ำปจจัยต่ำง ๆ เข้ำสู่ภำยใน เรียกว่ำ โภชนาการ (nutrition) และเปลี่ยนให้เป็นพลังงาน (energy) โดยพลังงำนเหล่ำนี้จะถูกใช้ เพื่อกำรเคลื่อนไหว กำรเจริญเติบโตและกำรสืบพันธุ์ เรำเรียกกระบวนกำรนี้ว่ำ กระบวนการเผา ผลาญอาหาร หรือกระบวนการสรางและสลาย (metabolism) โดยมีปฏิกิริยำเกิดขึ้น 2 อย่ำง 1) กำรสร้ำงเนื้อเยื่อ (anabolism) โมเลกุลที่ใหญ่กว่ำและซับซ้อนกว่ำจะถูกสังเครำะห์จำกโมเลกุล ง่ำย ๆ ซึ่งต้องอำศัยพลังงำนด้วย ในขณะเดียวกัน 2) กำรสลำยตัวของสำรเชิงซ้อน (catabolism) กำรย่อยสลำยโมเลกุลที่ซับซ้อนเพื่อสร้ำงโมเลกุลที่เล็กลงพร้อมทั้งปริมำณพลังงำนจ�ำนวนหนึ่ง ภาพที่ 1.6 กระบวน metabolism ประกอบด้วยกระบวนกำร anabolism และ catabolism 4. ภาวะธํารงดุล ความสมดุลของชีวิต (homeostasis, the equilibrium of life) สภำพแวดล้อมอำจจะเป็นตัวก�ำหนดชีวิตของสิ่งมีชีวิต แต่ภำยในร่ำงกำยของสิ่งมีชีวิตทุก ชนิด จะมีกระบวนกำรทำงกำยภำพและทำงเคมีเพื่อคงรักษำสภำพแวดล้อมภำยในให้คงที่โดยไม่ขึ้น กับสภำพแวดล้อมภำยนอก ปฏิกิริยำต่ำง ๆ ที่ท�ำให้เกิดควำมสมดุลภำยในของชีวิต เรียกว่ำ ภำวะ ธ�ำรงดุล (homeostasis) ซึ่งมีควำมจ�ำเป็นต่อกำรด�ำรงชีวิต สภำพแวดล้อมภำยใน (internal environment) เพื่อให้อวัยวะและเซลล์ต่ำง ๆ ท�ำงำน อย่ำงเหมำะสม สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจ�ำเป็นต้องมีสภำวะที่เจำะจง สภำวะต่ำง ๆ เหล่ำนี้ เรียกว่ำ สภำพ แวดล้อมภำยใน ซึ่งปกติจะเกี่ยวข้องกับของเหลวที่มีเกลือแร่ (mineral salts) และโปรตีน (proteins) ในปริมำณที่เหมำะสม สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีสภำพแวดล้อมภำยใน (all living creatures have an internal environment) สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจ�ำเป็นต้องมีสภำพแวดล้อมภำยในเพื่อสร้ำงสมดุลที่จ�ำเป็น ต่อกำรท�ำงำนที่มีประสิทธิภำพของร่ำงกำย เช่น กำรหำยใจ กำรกินอำหำร กำรเจริญเติบโต กำร
  • 8. 8 ขั้นตอนของชีวิต สืบพันธุ์ ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีควำมซับซ้อนแตกต่ำงกัน เช่น กำรควบคุมอุณหภูมิภำยในร่ำงกำย ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมนั้นจะมีระบบประสำทอัตโนมัติ ที่มีศูนย์ควบคุมอยู่ในไฮโพทำลำมัส ท�ำ หน้ำที่เสมือนตัวควบคุมอุณหภูมิที่ใช้กับระบบเครื่องท�ำควำมเย็นหรือตู้อบ ไฮโพทำลำมัสจะได้ข้อมูล เกี่ยวกับอุณหภูมิ น�ำมำเปรียบเทียบกับระดับที่ตั้งเอำไว้เพื่อสั่งงำนที่เหมำะสมไปตำมระบบประสำท อัตโนมัติให้ท�ำงำนตอบสนองต่อข้อมูลที่ได้รับต่อไป แต่ไฮโพทำลำมัสมีลักษณะแตกต่ำงกับตัวควบคุม อุณหภูมิ คือ กำรรับข้อมูลรวมที่มำจำกตัวรับของอุณหภูมิซึ่งกระจำยอยู่ทั่วร่ำงกำย ในภำวะปกติ ตัวรับเกี่ยวกับควำมร้อนและควำมเย็นที่ผิวหนังจะเป็นแหล่งส�ำคัญที่สุด ในกำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับกำร เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิภำยนอกร่ำงกำย และที่ไฮโพทำลำมัสเองจะมีตัวรับที่จะรับรู้อุณหภูมิของเลือด ที่ไหลผ่ำน กำรที่อุณหภูมิร่ำงกำยสูงขณะเป็นไข้ มิได้เกิดจำกไฮโพทำลำมัสท�ำงำนบกพร่อง แต่เป็นผล มำจำกกำรปรับระดับของตัวควบคุมอุณหภูมิ ขณะมีอำกำรไข้คนไข้จะรู้สึกหนำวสั่นทั้ง ๆ ที่อุณหภูมิ ร่ำงกำยสูงขึ้นแต่ก็ยังต�่ำกว่ำระดับที่ปรับใหม่ขณะที่เป็นไข้ พบว่ำสำรที่มีผลท�ำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง ระดับของตัวควบคุมอุณหภูมิเป็นโปรตีนที่หลั่งออกมำจำกเซลล์เม็ดเลือดขำวซึ่งตอบสนองต่อเชื้อโรค เมื่อใดที่อุณหภูมิร่ำงกำยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมเพิ่มสูงเหนือระดับตัวควบคุมอุณหภูมิ ที่ก�ำหนดไว้ เส้นเลือดที่อยู่ใกล้บริเวณผิวหนังจะขยำยตัวเพิ่มปริมำณเลือดไปเลี้ยงผิวหนังมำกขึ้น เมื่ออำกำศเย็นกว่ำที่ผิวหนังก็จะมีกำรถ่ำยเทควำมร้อนให้กับอำกำศ นอกจำกนั้นควำมร้อนอำจสูญ เสียไปในกำรระเหยออกมำกับน�้ำลำยและเหงื่อ ในสุนัขจึงใช้ปำกช่วยหำยใจ แมวจะมีอำกำศผ่ำน บริเวณปำกและลิ้นอย่ำงรวดเร็วท�ำให้ควำมร้อนระเหยผ่ำนออกมำทำงน�้ำลำยได้จึงช่วยลดอุณหภูมิ ของร่ำงกำย มนุษย์จะระบำยควำมร้อนส่วนเกินออกมำทำงต่อมเหงื่อซึ่งกระจำยอยู่ทั่วร่ำงกำย กำร ขับเหงื่อเป็นกำรระบำยควำมร้อนออกจำกร่ำงกำยซึ่งท�ำให้เกิดกำรสูญเสียน�้ำและเกลือแร่มำก จะ มีผลไปกระตุ้นศูนย์ในไฮโพทำลำมัสท�ำให้เกิดกำรกระหำยน�้ำและมีกำรหลั่งฮอร์โมน ADH จำก ไฮโพทำลำมัสเพื่อให้หน่วยไตดูดน�้ำกลับเพื่อประหยัดน�้ำ 5. การจําลองตัวเอง หรือการสืบพันธุ (reproduction) สิ่งมีชีวิตแตกต่ำงจำกสิ่งไม่มีชีวิต คือ มีควำมสำมำรถในกำรให้ก�ำเนิดสิ่งมีชีวิตใหม่จำกสิ่งมี ชีวิตเดิม ซึ่งเป็นสมบัติส�ำคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ท�ำให้สิ่งมีชีวิตสำมำรถด�ำรงพันธุ์ให้คงไว้ได้ กำร สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตแตกต่ำงกันออกไป สำมำรถศึกษำได้ดังต่อไปนี้ การสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีทั้งกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ และไม่อำศัยเพศ กำรสืบพันธุ์แบบไม่อำศัยเพศแบ่งแยกเป็น 2 ส่วนเท่ำ ๆ กัน (binary fission) เช่น อะมีบำ พำรำมีเซียม บำงชนิดสืบพันธุ์โดยกำรแตกหน่อ (budding) เช่น ยีสต์ บำงครั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวก็มีพฤติกรรมกำรสืบพันธุ์คล้ำยกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ เช่น พำรำมีเซียม เซลล์มี 2 นิวเคลียส คือ ไมโครนิวเคลียส (micronucleus) และแมโครนิวเคลียส (macronucleus) พำรำมีเซียม 2 เซลล์
  • 9. 9บทที่ 1 คําจํากัดความของ “ชีวิต” จะเกิดกำรจับคู่กัน (conjugation) เพื่อแลกเปลี่ยนสำรพันธุกรรม จำกนั้นจะแยกกันและแบ่งเซลล์ เพิ่มจ�ำนวนตำมปกติ กำรสืบพันธุ์ของสัตว์ กำรสืบพันธุ์ของสัตว์มีทั้งแบบอำศัยเพศและไม่อำศัยเพศ กำรสืบพันธุ์ แบบไม่อำศัยเพศพบในสัตว์ที่มีร่ำงกำยไม่ซับซ้อนและมีควำมสำมำรถในกำรงอกใหม่ เช่น พลำนำเรีย ดำวทะเล สัตว์พวกนี้สำมำรถสืบพันธุ์ด้วยวิธีกำรงอกใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นโดยส่วนของร่ำงกำยที่ขำด ออกไปหรือสูญเสียไปด้วยสำเหตุใดก็ตำม ก็สำมำรถเจริญเติบโตเป็นตัวใหม่ได้ ท�ำให้มีจ�ำนวนเพิ่ม ขึ้น สัตว์หลำยชนิด เช่น ฟองน�้ำและไฮดรำ สำมำรถสร้ำงสิ่งมีชีวิตใหม่จำกเซลล์และกลุ่มเซลล์ของ เดิม เรียกว่ำ “กำรแตกหน่อ” ซึ่งจะเจริญจนกระทั่งได้เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่เหมือนเดิมแต่มีขนำดเล็ก กว่ำ ต่อมำหน่อจะหลุดออกมำจำกตัวเดิมและเจริญเติบโตต่อไป กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศเกิดจำก กำร “ปฏิสนธิ” (fertilization) ของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือเซลล์ ไข่ อำจจะเกิดภำยในหรือภำยนอกร่ำงกำยของสัตว์เพศเมียก็ได้ โดยเซลล์ไข่ที่ได้รับกำรผสมแล้วเรียก ว่ำ ไซโกต จะเจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอและตัวเต็มวัยที่สำมำรถสืบพันธุ์เพิ่มจ�ำนวนประชำกรต่อไปได้ สัตว์ส่วนใหญ่มีอวัยวะเพศแยกกันอยู่คนละตัวเป็นสัตว์เพศผู้และเพศเมีย แต่บำงชนิดจะมีทั้งสองเพศ ในตัวเดียวกันเรียกว่ำ กะเทย (hermaphrodite) เช่น ไฮดรำ พลำนำเรีย ไส้เดือนดิน 6. การเจริญเติบโตและการพัฒนา (growth and development) นับแต่วันที่สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจนถึงโตเต็มวัย สิ่งมีชีวิตนั้นจะผ่ำนกระบวนกำรเจริญเติบโตที่มี กำรเปลี่ยนแปลงมำกมำย ในพวกสัตว์เซลล์เดียว ขั้นตอนกำรเจริญเติบโตจะใช้เวลำสั้น ๆ ในขณะที่ พืชหรือสัตว์อื่น ๆ ในขั้นตอนเหล่ำนี้จะใช้เวลำนำนมำกกว่ำ กำรพัฒนำ (development) คือ สิ่งที่แสดงว่ำสิ่งมีชีวิตเติบโตขึ้น มีกำรพัฒนำอยู่ 2 รูปแบบ คือ ทำงตรง (direct) และทำงอ้อม (indirect) ในกำรพัฒนำทำงตรงนั้นสิ่งมีชีวิตจะเกิดมำโดย มีลักษณะและรูปร่ำงคล้ำยกับสำยพันธุ์ของพ่อและแม่และจะค่อย ๆ เพิ่มขนำด และพัฒนำหน้ำที่ของ อวัยวะต่ำง ๆ เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะพัฒนำทำงตรงนับตั้งแต่เกิดมำ และจะมีลักษณะต่ำง ๆ ที่ จ�ำเป็นเหมือนตัวเต็มวัย ส่วนกำรพัฒนำทำงอ้อมนั้น สิ่งมีชีวิตจะเกิดขึ้นมำโดยมีลักษณะแตกต่ำงไป จำกตัวที่โตเต็มวัย เพื่อกำรเจริญเติบโตสิ่งมีชีวิตเหล่ำนี้ต้องผ่ำนช่วงแห่งกำรเปลี่ยนแปลงซึ่งเรียกว่ำ กำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงที่สมบูรณ์ (metamorphosis) กำรพัฒนำทำงอ้อมเกิดขึ้นกับแมลงหลำยชนิด และสัตว์เลื้อยคลำนบำงประเภท สัตว์หลำยเซลล์จะขยำยพันธุ์ด้วยกำรใช้เพศและจุดเริ่มต้นคือ กำรผสมกันของเซลล์ 2 เซลล์ (zygote) ระหว่ำงสเปร์ม (spermatozoid) และไข่ (ovule) จำกกระบวนกำรนี้สิ่งมีชีวิตจะพัฒนำ ตัวเองขึ้น เริ่มจำกกำรจ�ำลองเซลล์ต้นแบบ แบ่งตัวออกมำ และท�ำต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จนเซลล์เหล่ำนี้ พัฒนำเป็นรูปร่ำงขึ้น ขณะที่สิ่งมีชีวิตเหล่ำนี้เจริญเติบโตไปเรื่อย ๆ ก็จะมีลักษณะคล้ำยตัวเต็มวัยมำก ยิ่งขึ้น
  • 10. 10 ขั้นตอนของชีวิต 7. การกลาย (mutation) และการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ชีวิตมีกำรปรับตัวและพัฒนำกำรเป็นขั้นตอนร่วมกับกำรเปลี่ยนแปลงภำยนอกคือในสิ่งแวดล้อม โดยผ่ำนกระบวนกำรที่เรียกว่ำ กำรกลำยและกำรคัดเลือกโดยธรรมชำติ ซึ่งกำรเกิดกระบวนกำรนี้จะ ใช้ระยะเวลำค่อนข้ำงยำวนำน ซึ่งเป็นปจจัยส�ำคัญในกระบวนกำรวิวัฒนำกำร ดังที่ ชำร์ลส์ ดำร์วิน (ค.ศ. 1809-1882) ได้ยกตัวอย่ำงเกี่ยวกับวิวัฒนำกำรของนกฟนช์ (finch) ว่ำ นกเหล่ำนี้มีบรรพบุรุษ จำกทวีปอเมริกำใต้ จำกนั้นได้แพร่พันธุ์และเพิ่มจ�ำนวนประชำกรอย่ำงรวดเร็วบนหมู่เกำะกำลำปำกอส (Galapagos Islands) ซึ่งตั้งอยู่ในมหำสมุทรแปซิฟกห่ำงจำกชำยฝงทำงตะวันตกของประเทศเอกวำดอร์ ประมำณ 500 ไมล์ นกฟนช์ต้องประสบปญหำกำรขำดแคลนอำหำรและทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจ�ำกัด บนหมู่เกำะกำลำปำกอส ท�ำให้ต้องแข่งขันดิ้นรนเพื่อควำมอยู่รอด ในขณะเดียวกันมีควำมแปรผันของ ลักษณะเกิดขึ้น ซึ่งสำมำรถถ่ำยทอดไปยังรุ่นต่อ ๆ ไปได้ เช่น กำรมีจะงอยปำกที่แตกต่ำงกัน เพื่อให้ เหมำะสมกับกำรใช้กินเมล็ดที่มีเปลือกแข็ง กำรจิกแมลง หรือคำบไม้เพื่อแหย่แมลงให้ออกจำกรู กำร เปลี่ยนแปลงลักษณะจำกรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งในระยะเวลำที่ยำวนำน เป็นผลให้เกิดกระบวนกำร วิวัฒนำกำรและมีสปีชีส์ใหม่เกิดขึ้น ดังภำพที่ 1.7 ธรรมชำติจึงคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีควำมเหมำะสม ที่สุด ซึ่งสำมำรถอยู่รอดและปรับตัวได้ในสภำวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ภาพที่ 1.7 ควำมแตกต่ำงของจะงอยปำกของนกฟนช์ในเกำะกำลำปำกอส ซึ่งลักษณะดังกล่ำว มีควำมเกี่ยวข้องกับอุปนิสัยกำรกิน