SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ปรากฏการณ์อุปราคา
ผู้จัดทาโครงงาน
1. นาย จิรายุส วรรณก้อน เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 9
2. นาย พงศ์พณิช ชุมภู เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 9
3. นาย วงศพัทธ์ ยาวิปา เลขที่ 31 ชั้น ม.6 ห้อง 9
เสนอโดย
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม ปรากฏการณ์อุปราคา
1.นาย จิรายุส วรรณก้อน เลขที่ 4
2.นาย พงศ์พณิช ชุมภู เลขที่ 30
3.นาย วงศพัทธ์ ยาวิปา เลขที่ 31
ชื่อโครงงาน ปรากฏการณ์อุปราคา
ชื่อโครงงาน Eclipse Phenomena
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย จิรายุส วรรณก้อน
นาย พงศ์พณิช ชุมภู
นาย วงศพัทธ์ ยาวิปา
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
อุปราคา(Eclipse) เกิดจากการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์และโลกรอบดวงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 2
ชนิดคือ จันทรุปราคาและสุริยุปราคา เนื่องจากการเกิดปรากฏการณ์อุปราคาจะเกิดขึ้นได้ เมื่อโลกดวง
จันทร์และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ในระนาบเดียวกัน ซึ่งแน่นอนว่าปรากฏการณ์นี้จะเกิดขึ้นได้ไม่บ่อยนัก
อาจเกิดอย่างน้อยเพียงปีละ 4 ครั้ง นั้นคือ เกิดจันทรุปราคา 2ครั้ง สุริยุปราคา 2ครั้ง
อย่างไรก็ตามในการเกิดปรากฏการณ์บางครั้งเงามืดของดวงจันทร์มักจะทอดเลยออกไปทางเหนือหรือใต้
ของโลกโดยไม่สัมผัสผิวโลก จึงเกิดเป็นสุริยุปราคาบางส่วนเท่านั้น นอกจากนี้
เงามืดอาจสัมผัสผิวโลกในที่ห่างไกลบริเวณใกล้ขั้วโลกอย่างทวีปอาร์กติกหรือบริเวณขั้วโลกเหนือ
3
และทวีปแอนตาร์กติกาหรือบริเวณขั้วโลกใต้ ซึ่งยากต่อการเดินทางไปสังเกตการณ์เราจึงไม่อาจสา
มารถที่จะศึกษาได้จากปรากฏการณ์จริง อีกทั้งในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ในบทปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาติได้มือเนื้อหาการสอน ข้อมูล รูปภาพประกอบการเรียนที่น้อยมากเกี่ยวกับปรากฏการณ์อุป
ราคา
ทางคณะผู้จัดทาได้มองเห็นปัญหาทางการศึกษา ทั้งทางด้านข้อมูล องค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ
ปรากฏการณ์อุปราคา ที่ทาให้ไม่สามารถเข้าใจและศึกษาปรากฏการณ์นี้ได้อย่างท่องแท้ เราจึงได้คิดสื่อ
เพื่อการศึกษา รวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ รูปภาพของปรากฏการณ์อุปราคามาไว้ในที่เดียวกัน
ซึ่งจะทาให้การเรียนการศึกษาในปรากฏการณ์นี้สามารถ ศึกษา เข้าใจและเห็นภาพการเกิดได้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์อุปราคา
2.เพื่อเป็นสื่อการศึกษาให้กับบุคคลที่สนใจปรากฏการณ์อุปราคา
ขอบเขตโครงงาน
ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์สุริยุปราคา
หลักการและทฤษฎี
การเกิดอุปราคา
อุปราคา หรือ Eclipse ในระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์-โลก-ดวงจันทร์นั้น เกิดขึ้นเมื่อโลก
หรือดวงจันทร์ บังเงาตะวันจากกันและกัน
ดวงอาทิตย์ใหญ่กว่าดวงจันทร์มากถึง 400 เท่า แต่ด้วยความบังเอิญดวงอาทิตย์ก็อยู่ห่างจากโลกมากกว่า
ดวงจันทร์ประมาณ 400 เท่า เมื่อมองจากโลกแล้วขนาดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์จะใกล้เคียงกัน
เราจึงโชคดีได้เห็นปรากฏการณ์อุปราคาระหว่าง ตะวัน-จันทรา ได้
4
(ภาพที่ 1) การเกิดสุริยุปราคา คนบนโลกด้านกลางวันเพียงส่วนน้อยจะมีโอกาสได้เห็นสุริยุปราคา
ภาพโดย คณะฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทนเนสซี
ถ้าเงาของโลกไปตกลงบนดวงจันทร์ ดวงจันทร์ก็จะมืดลงเรียกว่าเกิดจันทรุปราคา แต่คนทั้งโลกด้าน
กลางคืนจะมองเห็นจันทรุปราคาได้หมด
(ภาพที่ 2) แสดงการเกิดจันทรุปราคาเมือดวงจันทร์โคจรเข้าเงาของโลก ภาพโดย คณะฟิสิกส์
มหาวิทยาลัยเทนเนสซี
ในเมื่อดวงจันทร์โคจรรอบโลกประมาณรอบละเดือน ก็น่าที่จะเกิดอุปราคาทั้งสองอย่างเดือนละครั้ง แต่
ในความเป็นจริงมันไม่เกิดเช่นนั้น แถมการเกิดอุปราคาแบบเต็มดวงก็ยังหาดูได้ยากเสียอีก ที่เป็นเช่นนั้น
ก็เพราะว่า
1 วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ และวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก ไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน หาก
พื้นระนาบทั้งสอง ทามุมประมาณ 5 องศาต่อกัน
(ภาพที่ 3) แสดงพื้นระนาบวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก เอียงทามุมกับพื้นระนาบวงโคจรของโลก
รอบดวงอาทิตย์ (ecliptic plane) อยู่ประมาณ 5 องศา ภาพโดย Dr. Nick Strobel
5
แนวตัดของระนาบทั้งสองจะเป็นเส้นตรงเรียกว่า Line of nodes การจะเกิดอุปราคาได้นั้น นอกจาก
ต้องเกิดเมื่อดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ เรียงตัวอยู่ในเส้นตรงเดียวกันแล้ว (คืนพระจันทร์เต็มดวง
เท่านั้น) ยังต้องขึ้นอยู่กับเมื่อ แนวเรียงตัวของดาวทั้งสามตรงกันกับ line of nodes นี้ด้วย จึงจะเกิดอุป
ราคาขึ้นได้
ในขณะที่โลกโคจรอยู่ตลอดเวลาไปรอบดวงอาทิตย์นั้น ดวงจันทร์ก็หมุนรอบโลกตามไปด้วยคาบเวลาที่
ต่างกัน ทาให้เส้นเชื่อมโหนดนั้นหมุนควงไปเรื่อยไม่คงที่ เวลาที่จะเกิดอุปราคาได้นั้น จะต้องเป็นยามที่
เส้นเชื่อมโหนดหันตรงเข้าหาดวงอาทิตย์เท่านั้น จึงจะทาให้โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ มาอยู่ในแนว
เส้นตรงเดียวกันได้ ไม่เช่นนั้นดวงจันทร์จะอยู่สูงเกินไป หรือตา่เกินไปเงาก็คลาดกันได้ ปัจจัยหลักที่จะทา
ให้เกิดอุปราคา จึงต้องเป็นเวลาที่ดวงจันทร์โคจรมาอยู่แถวๆโหนด ในเวลาที่เส้นเชื่อมโหนดหันเข้าหาดวง
อาทิตย์ ระยะเวลาที่ดวงจันทร์โคจรอยู่แถวๆเส้นเชื่อมโหนดจะเรียกว่า eclipse season อุปราคาจึงจะ
เกิดขึ้นได้ นี่ก็คือเหตุผลที่ว่าทาไมจึงไม่มีอุปราคาเกิดขึ้นทุกๆเดือนนั่นเอง
(ภาพที่ 4) ในช่วงที่ line of nodes ไม่เรียงตัวกับแนว ตะวัน-จันทร์-โลก ก็จะไม่เกิดอุปราคา ภาพ
โดย Dr Nick Strobel
เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนตัวมาระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก บางครั้งดวงจันทร์ก็จะอยู่ต่ากว่า หรือสูงกว่านิด
หน่อย ทาให้เงาของดวงจันทร์ไม่ตกลงยังพื้นโลก จึงไม่เกิดสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคาไปทุกเดือน
(ภาพที่ 5) เมื่อ line of nodes ไม่เรียงตัวกับแนว ตะวัน-จันทร์-โลก เงาของดวงจันทร์หรือเงาของ
โลกจะคลาดกัน ภาพโดย Dr. Nick Strobel
6
2 วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก เป็นวงรี ไม่ใช่วงกลม โดยมีโลกอยู่ที่จุดโฟกัสหนึ่ง เมื่อพระจันทร์อยู่ใกล้
โลกมากที่สุด(perigee อ่านว่า แพรีจี้) จะอยู่ห่างจากโลก 363,260 กิโลเมตร และเมื่อดวงจันทร์อยู่ไกล
จากโลกมากที่สุดจะอยู่ห่างจากโลก 405,540 กิโลเมตร
(ภาพที่ 6) วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก ภาพโดย Dr Nick Strobel
เมื่อวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลกเป็นวงรีเช่นนี้ด้านยาวของวงรี ไม่ได้หันตรงสู่ดวงอาทิตย์เสมอไป ตาม
ความเป็นจริงแล้ว จุดที่ดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากที่สุด (perigee) จะเคลื่อนไปถึงปีละ 40.7 องศา จึงเป็น
สาเหตุที่การเกิดอุปราคาไม่อยู่ตรงวันเดียวกันตามปฏิทิน นอกจากนี้แล้ว line of nodes ก็ยังเคลื่อนไป
ปีละ 19.3 องศาอีกด้วย ฉะนั้นการคานวณการเกิดอุปราคาไม่ใช่เรื่องกล้วยๆเสียแล้ว เพราะคนที่คานวณ
จะต้องมีตารางการโคจรอย่างละเอียด จึงจะคานวณตาแหน่งของการเกิดอุปราคาได้ นี่ยังไม่กล่าวรวมถึง
ปัจจัยอื่นที่จะทาให้การคาดการณ์ยากขึ้นไปอีก
7
(ภาพที่ 7) มองจากขั้วโลกเหนือลงมาจะแสดงตาแหน่งวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลกที่เป็นวงรี
ความรีขยายให้เกินความจริงเพื่อให้เห็นชัดๆ รูปซ้ายยังไม่ได้ปรับการเคลื่อนแกนของวงรี รูปขวา
ขยายให้เห็นการเคลื่อนของแกนวงรี ในขณะที่โลกและดวงจันทร์เคลื่อนตัวโคจรไปรอบดวงอาทิตย์
พร้อมๆกัน ภาพโดย Dr Nick Strobel
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เสนอหัวข้อโครงงานกับครูที่ปรึกษา
2.ศึกษาและรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์อุปราคา
3.ออกแบบการจัดวางข้อมูล
4.จัดทาตามรูปแบบที่ได้วางไว้
5.ทดสอบการตอบโจทย์ปัญหาและปรับปรุง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.โน้ตบุ๊ค
2.โทรศัพท์มือถือ
3.อินเทอร์เน็ต
4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
งบประมาณ
50 บาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์อุปราคา
2.เป็นสื่อการศึกษาให้กับบุคคลที่สนใจปรากฏการณ์อุปราคา
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
https://guru.sanook.com/6115/
http://www.vcharkarn.com/varticle/121
http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
Kanin Thejasa
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
physical04
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
Nam M'fonn
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
Meanz Mean
 
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
Passakorn Hara
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 

What's hot (20)

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
กาแฟ
กาแฟกาแฟ
กาแฟ
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 

Similar to 2560 project (1)

แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
Thanthup Zied
 

Similar to 2560 project (1) (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมไอ่เป้า
คอมไอ่เป้าคอมไอ่เป้า
คอมไอ่เป้า
 
My project1
My project1My project1
My project1
 
Project
ProjectProject
Project
 
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
 
TRAPPIST-1
TRAPPIST-1TRAPPIST-1
TRAPPIST-1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
 
Work1 608_11
Work1 608_11Work1 608_11
Work1 608_11
 
Kkk
KkkKkk
Kkk
 
13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560project
2560project2560project
2560project
 

2560 project (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ปรากฏการณ์อุปราคา ผู้จัดทาโครงงาน 1. นาย จิรายุส วรรณก้อน เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 9 2. นาย พงศ์พณิช ชุมภู เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 9 3. นาย วงศพัทธ์ ยาวิปา เลขที่ 31 ชั้น ม.6 ห้อง 9 เสนอโดย ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม ปรากฏการณ์อุปราคา 1.นาย จิรายุส วรรณก้อน เลขที่ 4 2.นาย พงศ์พณิช ชุมภู เลขที่ 30 3.นาย วงศพัทธ์ ยาวิปา เลขที่ 31 ชื่อโครงงาน ปรากฏการณ์อุปราคา ชื่อโครงงาน Eclipse Phenomena ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย จิรายุส วรรณก้อน นาย พงศ์พณิช ชุมภู นาย วงศพัทธ์ ยาวิปา ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อุปราคา(Eclipse) เกิดจากการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์และโลกรอบดวงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ จันทรุปราคาและสุริยุปราคา เนื่องจากการเกิดปรากฏการณ์อุปราคาจะเกิดขึ้นได้ เมื่อโลกดวง จันทร์และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ในระนาบเดียวกัน ซึ่งแน่นอนว่าปรากฏการณ์นี้จะเกิดขึ้นได้ไม่บ่อยนัก อาจเกิดอย่างน้อยเพียงปีละ 4 ครั้ง นั้นคือ เกิดจันทรุปราคา 2ครั้ง สุริยุปราคา 2ครั้ง อย่างไรก็ตามในการเกิดปรากฏการณ์บางครั้งเงามืดของดวงจันทร์มักจะทอดเลยออกไปทางเหนือหรือใต้ ของโลกโดยไม่สัมผัสผิวโลก จึงเกิดเป็นสุริยุปราคาบางส่วนเท่านั้น นอกจากนี้ เงามืดอาจสัมผัสผิวโลกในที่ห่างไกลบริเวณใกล้ขั้วโลกอย่างทวีปอาร์กติกหรือบริเวณขั้วโลกเหนือ
  • 3. 3 และทวีปแอนตาร์กติกาหรือบริเวณขั้วโลกใต้ ซึ่งยากต่อการเดินทางไปสังเกตการณ์เราจึงไม่อาจสา มารถที่จะศึกษาได้จากปรากฏการณ์จริง อีกทั้งในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ในบทปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติได้มือเนื้อหาการสอน ข้อมูล รูปภาพประกอบการเรียนที่น้อยมากเกี่ยวกับปรากฏการณ์อุป ราคา ทางคณะผู้จัดทาได้มองเห็นปัญหาทางการศึกษา ทั้งทางด้านข้อมูล องค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ ปรากฏการณ์อุปราคา ที่ทาให้ไม่สามารถเข้าใจและศึกษาปรากฏการณ์นี้ได้อย่างท่องแท้ เราจึงได้คิดสื่อ เพื่อการศึกษา รวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ รูปภาพของปรากฏการณ์อุปราคามาไว้ในที่เดียวกัน ซึ่งจะทาให้การเรียนการศึกษาในปรากฏการณ์นี้สามารถ ศึกษา เข้าใจและเห็นภาพการเกิดได้ชัดเจน ยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์อุปราคา 2.เพื่อเป็นสื่อการศึกษาให้กับบุคคลที่สนใจปรากฏการณ์อุปราคา ขอบเขตโครงงาน ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์สุริยุปราคา หลักการและทฤษฎี การเกิดอุปราคา อุปราคา หรือ Eclipse ในระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์-โลก-ดวงจันทร์นั้น เกิดขึ้นเมื่อโลก หรือดวงจันทร์ บังเงาตะวันจากกันและกัน ดวงอาทิตย์ใหญ่กว่าดวงจันทร์มากถึง 400 เท่า แต่ด้วยความบังเอิญดวงอาทิตย์ก็อยู่ห่างจากโลกมากกว่า ดวงจันทร์ประมาณ 400 เท่า เมื่อมองจากโลกแล้วขนาดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์จะใกล้เคียงกัน เราจึงโชคดีได้เห็นปรากฏการณ์อุปราคาระหว่าง ตะวัน-จันทรา ได้
  • 4. 4 (ภาพที่ 1) การเกิดสุริยุปราคา คนบนโลกด้านกลางวันเพียงส่วนน้อยจะมีโอกาสได้เห็นสุริยุปราคา ภาพโดย คณะฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทนเนสซี ถ้าเงาของโลกไปตกลงบนดวงจันทร์ ดวงจันทร์ก็จะมืดลงเรียกว่าเกิดจันทรุปราคา แต่คนทั้งโลกด้าน กลางคืนจะมองเห็นจันทรุปราคาได้หมด (ภาพที่ 2) แสดงการเกิดจันทรุปราคาเมือดวงจันทร์โคจรเข้าเงาของโลก ภาพโดย คณะฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทนเนสซี ในเมื่อดวงจันทร์โคจรรอบโลกประมาณรอบละเดือน ก็น่าที่จะเกิดอุปราคาทั้งสองอย่างเดือนละครั้ง แต่ ในความเป็นจริงมันไม่เกิดเช่นนั้น แถมการเกิดอุปราคาแบบเต็มดวงก็ยังหาดูได้ยากเสียอีก ที่เป็นเช่นนั้น ก็เพราะว่า 1 วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ และวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก ไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน หาก พื้นระนาบทั้งสอง ทามุมประมาณ 5 องศาต่อกัน (ภาพที่ 3) แสดงพื้นระนาบวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก เอียงทามุมกับพื้นระนาบวงโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ (ecliptic plane) อยู่ประมาณ 5 องศา ภาพโดย Dr. Nick Strobel
  • 5. 5 แนวตัดของระนาบทั้งสองจะเป็นเส้นตรงเรียกว่า Line of nodes การจะเกิดอุปราคาได้นั้น นอกจาก ต้องเกิดเมื่อดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ เรียงตัวอยู่ในเส้นตรงเดียวกันแล้ว (คืนพระจันทร์เต็มดวง เท่านั้น) ยังต้องขึ้นอยู่กับเมื่อ แนวเรียงตัวของดาวทั้งสามตรงกันกับ line of nodes นี้ด้วย จึงจะเกิดอุป ราคาขึ้นได้ ในขณะที่โลกโคจรอยู่ตลอดเวลาไปรอบดวงอาทิตย์นั้น ดวงจันทร์ก็หมุนรอบโลกตามไปด้วยคาบเวลาที่ ต่างกัน ทาให้เส้นเชื่อมโหนดนั้นหมุนควงไปเรื่อยไม่คงที่ เวลาที่จะเกิดอุปราคาได้นั้น จะต้องเป็นยามที่ เส้นเชื่อมโหนดหันตรงเข้าหาดวงอาทิตย์เท่านั้น จึงจะทาให้โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ มาอยู่ในแนว เส้นตรงเดียวกันได้ ไม่เช่นนั้นดวงจันทร์จะอยู่สูงเกินไป หรือตา่เกินไปเงาก็คลาดกันได้ ปัจจัยหลักที่จะทา ให้เกิดอุปราคา จึงต้องเป็นเวลาที่ดวงจันทร์โคจรมาอยู่แถวๆโหนด ในเวลาที่เส้นเชื่อมโหนดหันเข้าหาดวง อาทิตย์ ระยะเวลาที่ดวงจันทร์โคจรอยู่แถวๆเส้นเชื่อมโหนดจะเรียกว่า eclipse season อุปราคาจึงจะ เกิดขึ้นได้ นี่ก็คือเหตุผลที่ว่าทาไมจึงไม่มีอุปราคาเกิดขึ้นทุกๆเดือนนั่นเอง (ภาพที่ 4) ในช่วงที่ line of nodes ไม่เรียงตัวกับแนว ตะวัน-จันทร์-โลก ก็จะไม่เกิดอุปราคา ภาพ โดย Dr Nick Strobel เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนตัวมาระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก บางครั้งดวงจันทร์ก็จะอยู่ต่ากว่า หรือสูงกว่านิด หน่อย ทาให้เงาของดวงจันทร์ไม่ตกลงยังพื้นโลก จึงไม่เกิดสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคาไปทุกเดือน (ภาพที่ 5) เมื่อ line of nodes ไม่เรียงตัวกับแนว ตะวัน-จันทร์-โลก เงาของดวงจันทร์หรือเงาของ โลกจะคลาดกัน ภาพโดย Dr. Nick Strobel
  • 6. 6 2 วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก เป็นวงรี ไม่ใช่วงกลม โดยมีโลกอยู่ที่จุดโฟกัสหนึ่ง เมื่อพระจันทร์อยู่ใกล้ โลกมากที่สุด(perigee อ่านว่า แพรีจี้) จะอยู่ห่างจากโลก 363,260 กิโลเมตร และเมื่อดวงจันทร์อยู่ไกล จากโลกมากที่สุดจะอยู่ห่างจากโลก 405,540 กิโลเมตร (ภาพที่ 6) วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก ภาพโดย Dr Nick Strobel เมื่อวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลกเป็นวงรีเช่นนี้ด้านยาวของวงรี ไม่ได้หันตรงสู่ดวงอาทิตย์เสมอไป ตาม ความเป็นจริงแล้ว จุดที่ดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากที่สุด (perigee) จะเคลื่อนไปถึงปีละ 40.7 องศา จึงเป็น สาเหตุที่การเกิดอุปราคาไม่อยู่ตรงวันเดียวกันตามปฏิทิน นอกจากนี้แล้ว line of nodes ก็ยังเคลื่อนไป ปีละ 19.3 องศาอีกด้วย ฉะนั้นการคานวณการเกิดอุปราคาไม่ใช่เรื่องกล้วยๆเสียแล้ว เพราะคนที่คานวณ จะต้องมีตารางการโคจรอย่างละเอียด จึงจะคานวณตาแหน่งของการเกิดอุปราคาได้ นี่ยังไม่กล่าวรวมถึง ปัจจัยอื่นที่จะทาให้การคาดการณ์ยากขึ้นไปอีก
  • 7. 7 (ภาพที่ 7) มองจากขั้วโลกเหนือลงมาจะแสดงตาแหน่งวงโคจรของดวงจันทร์รอบโลกที่เป็นวงรี ความรีขยายให้เกินความจริงเพื่อให้เห็นชัดๆ รูปซ้ายยังไม่ได้ปรับการเคลื่อนแกนของวงรี รูปขวา ขยายให้เห็นการเคลื่อนของแกนวงรี ในขณะที่โลกและดวงจันทร์เคลื่อนตัวโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ พร้อมๆกัน ภาพโดย Dr Nick Strobel วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เสนอหัวข้อโครงงานกับครูที่ปรึกษา 2.ศึกษาและรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์อุปราคา 3.ออกแบบการจัดวางข้อมูล 4.จัดทาตามรูปแบบที่ได้วางไว้ 5.ทดสอบการตอบโจทย์ปัญหาและปรับปรุง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.โน้ตบุ๊ค 2.โทรศัพท์มือถือ 3.อินเทอร์เน็ต 4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ งบประมาณ 50 บาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์อุปราคา 2.เป็นสื่อการศึกษาให้กับบุคคลที่สนใจปรากฏการณ์อุปราคา สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง https://guru.sanook.com/6115/ http://www.vcharkarn.com/varticle/121 http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E- Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html