SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
โดย
นาย พีรพล พรหมพิทกษ์พร
                 ั
   การสารวจเพื่อเก็บข้อมูลในการจัดทาสเปกตรัมไลบรารี่
   การประยุกค์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม
   การนาไลบรารี่ไปประยุกต์ใช้กับเพืนที่อื่นๆ
                                    ้
   รูปแบบสเปกตรัมไลบรารี่
   มาตรฐานการสารวจความถูกต้องทางภาคสนาม
   การวางแผนก่อนการสารวจ
    ◦ การเลือกพืนที่สารวจ
                  ้
    ◦ วัตถุประสงค์ในการลงพื้นที่สารวจ
    ◦ ข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์
   การเตรียมตัวก่อนการสารวจ
   บันทึกช่วยจา
   เงื่อนไขที่เหมาะสมสาหรับการวัดสเปกตรัม
    ◦ มุมของพระอาทิตย์
    ◦ เงื่อนไขของเมฆ
    ◦ สภาพภูมิประเทศ
Spectrometer   Fiber Optic   Spectralon




Interface                                  Screen
อบต.เกษตรสุวรรณ   เทศบาลตาบลห้วยกะปิ
     ชลบุรี             ชลบุรี
• ประเมินขนาดของพื้นที่สารวจ

• บันทึกค่าองค์ประกอบต่างๆ
• ส่วนของตัวพืช ข้อมูลของพื้นที่ ข้อมูลสภาพแวดล้อม

• ทาการวัดค่ามุมของพระอาทิตย์ (Elevation) และมุมจากทิศ
  เหนือ (Azimuth)
ประกอบอุปกรณ์
เครื่องสเปกโตรมิเตอร์
เข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ


   กาหนดตาแหน่งของ
   เครื่องมือวัด


       คานวณหาความสูงให้
       สัมพันธ์กันกับพืนที่ใน
                       ้
       การมองของอุปกรณ์
วัดอุปกรณ์เทียบค่า
และวัดพืช โดยทา
หลายๆตาแหน่ง


   รวบรวมค่าสเปกตรัม
   และตรวจสอบ


      ค้นหาปัจจัยที่ทาให้เกิด
      ความผิดพลาดในการ
      วัดสเปกตรัม
ข้าว              อ้อย              สับปะรด
พันธุ์ชัยนาท 1     พันธุ์อู่ทอง 3     พันธุ์ปัตตาเวีย
อายุ 1 เดือน       อายุ 9 เดือน        อายุ 5 เดือน
สูง 0.4 เมตร        สูง 3 เมตร         สูง 0.5 เมตร
   นาหว่าน       ออกเฉียงเหนือ-ใต้   ออกเฉียงเหนือ-ใต้
มันสาปะหลัง             ยางพารา
 พันธุ์ระยอง 5   พันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251
  อายุ 8 เดือน          อายุ 60 เดือน
 สูง 2.2 เมตร            สูง 8 เมตร
เหนือ-ตะวันออก      ออกเฉียงเหนือ-ใต้
   การใช้เครื่องมือวัดสเปกตรัมหรือเรียกว่าสเปกโตรมิเตอร์ ค่าที่วัดออกมาได้จะอยู่ในรูป
    ของค่าความเข้มแสง ดังนั้นต้องนามาคานวณเพื่อแปลงให้อยู่ในรูปของค่าสเปกตรัมการ
    สะท้อน (Reflectance)



เมื่อ Iout คือ ความเข้มแสงของรังสีที่สะท้อนออกมาจากวัสดุที่สนใจ
       Iin คือ ความเข้มแสงของรังสีที่ตกกระทบวัสดุทสนใจ
                                                  ี่
       R คือ การสะท้อนของแสง (Reflectance)
   วัดความเข้มแสงของวัสดุเทียมค่า Iout1
   %R1 = ( Iout1/Iin1 ) * 100
   Iin1 = ( Iout1/%R1 ) * 100
   วัดความเข้มแสงของพืช Iout2
   %R2 = ( Iout2/Iin2 ) * 100 ; เมื่อ Iin1 = Iin2
   %R2 = ( Iout2/[( Iout1/%R1 ) * 100] ) * 100
                                     Reference panel
   %R2 = ( Iout2/[( Iout1/%R1 ) * 100] ) * 100



   ในตารางจะแสดงค่าที่วัดได้จากพื้นที่การปลูกยางพารา
   เนื่องจากข้อมูลในแต่ละไฟล์จะมีจานวนเยอะ จึงต้องหาแนวทางในการทาให้เป็นการ
    คานวณแบบอัตโนมัติ
   ไฟล์จากเครื่องสเปกโตรมิเตอร์เป็นชนิด *.cmbl
   เนื่องจากข้อกาหนดของวิธีในการวัดค่าสเปกตรัม ทาให้ข้อมูลที่ได้เกิดความแปรปรวน
   ตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูลในเซตนั้นจะหาจากการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
    (Coefficient of Correlation [r])




   โดยจะมีค่าอยู่ระหว่าง -1.0 ถึง +1.0 โดยที่ค่าที่อยู่ใกล้ -1.0 หรือ +1.0 ถือว่ามี
    ความสัมพันธ์กันมากที่สุด ส่วน 0 หมายความว่า ตัวแปรทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์กัน
    แม้แต่น้อย ส่วนเครื่องหมาย + หรือ - บงบอกว่าความสัมพันธ์นั้น เป็นตามกันหรือ
    ตรงกันข้าม
   นาผลที่ได้มาพิจารณาตามย่านความถี่ เพื่อดูความสัมพันธ์ให้ตรงตามกับพืชและพื้นที่
    และนาผลที่ได้ไปใช้งาน
   จากการคานวณจะได้ย่านความยาวคลื่นในการวิเคราะห์ดังนี้ 450, 472, 490, 536,
    590, 620, 750 และ 896nm จากข้อมูลช่วงค่าลายเส้นของพืชและย่านที่ใช้ในการ
    วิเคราะห์ จะทาให้สามารถทราบถึงความแตกต่างของสเปกตรัมของพืชทั้ง 5 ชนิด
   ข้อมู ลภาพถ่ ายดาวเทียมในวันที่ 3 มีน าคม 2553 โดยเลือกซีนของภาพที่มีชื่ อว่า
    HJ1A-HSI-12-102-B2-20100303-L20000263206 มาใช้ในการวิเคราะห์
    เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่เพาะปลูกพืช 4 จาก 5 ชนิดซึ่งก็คือ มันสาปะหลัง สับปะรด
    ยางพารา และอ้อย (ไม่มีข้าว)
   ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 โดยเลือกซีนของภาพที่มีชื่อ
    ว่า HJ1A-HSI-12-102-A1-20091110-L20000203604 มาใช้ในการวิเคราะห์
    เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่เพาะปลูกข้าว
   มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่เพาะปลูก โดยข้อมูลภาคสนามจะเป็น
    ของวันที่ 1-3 และ 20-22 กรกฎาคม 2553 และวันที่ 7-8 สิงหาคม 2553
   Spectral Angle Mapper Classification (SAM) คือจะทาการกาหนดค่าข้อมูลแล้ว
    ปรับแก้โดยการนาค่าสเปกตรัมของทั้งสองค่ามาคานวณในลักษณะของเวกเตอร์ n มิติ
    (n คือ จานวนแบนด์)
   เป็ น ฟั ง ก์ ชั น ในการเปลี่ ย นรู ป เชิ ง เส้ น เพื่ อ ใช้ ใ นการประมาณค่ า ขนาดที่ แ ท้ จ ริ ง ของ
    ข้อมูลภาพ ทาการแยกสัญญาณรบกวนออกจากข้อมูล และช่วยลดเวลาในการคานวณ
    สาหรับในส่วนของการประมวลผล
   ค่า eigenvalues และภาพ MNF จะถูก
    ใช้ในการประเมินขนาดของข้อมูล โดย
    ค่า eigenvalues ในแต่ละแถบความถี่
    จะประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ โดย
    เรียงลาดับตามขนาดของข้อมูล ภาพที่ได้
    จะมีข้อมูลที่สอดคล้องกับความเชื่อมโยง
    เชิงพื้นที่ ในขณะที่ภาพสัญญาณรบกวน
    จะไม่มีข้อมูลในเชิงพื้นที่เลย
   จากข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่จึงได้มีแนวคิดในการนามาใช้งานกับพื้นที่อื่นๆ โดยจะทา
    การคัด เลือ กจากพื้น ที่ ที่ มี ข้ อมู ล ทางภาคสนาม ซึ่งจากการขอความอนุ เ คราะห์จ าก
    ส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตรท าให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล พื้ น ที่ ภ าคสนามซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ใ นการ
    เพาะปลู ก ข้าวแถวบริเวณภาคกลางและภาคเหนื อ (โดยมี แค่บางจั งหวัดไม่ครบทุ ก
    จังหวัด) จึงนาข้อมูลนี้ไปค้นหาเพื่อเทียบพื้นที่เดียวกันกับภาพถ่ายดาวเทียม
   จากการค้นหาจึงได้ทาการเลือกพื้นที่จังหวัดพะเยา โดยเลือกข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมใน
    วันที่ 30 กันยายน 2553 โดยเลือกซีนของภาพที่มีชื่อว่า HJ1A-HSI-15-94-A2-
    20100930-L20000004187 มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่
    เพาะปลูกข้าว โดยข้อมูลภาคสนามจะเป็นของวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552
   จากผลที่ ไ ด้ จ ะเห็ น ได้ ว่ า ค่ า ความถู ก ต้ อ งในการประเมิ น พื้ น ที่ เ พาะปลู ก ข้ า วเท่ า กั บ
    64.79% และพื้นที่ที่ไม่ใช่ข้าวเท่ากับ 94.66% ถ้ารวมความถูกต้องของพื้นที่ทั้งหมด
    จะเท่ากับ 88.2626% ซึ่งค่อนข้างมีความถูกต้องสูง ดังนั้นจากการทดสอบดังที่กล่าว
    มานี้ทาให้สามารถสรุปได้ว่าสามารถนาข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่มาใช้ในการประเมิน
    พื้นที่เพาะปลูกได้ ต่อมาจึงนาข้อมูลนี้มาสร้างให้เป็นรูปแบบมาตรฐาน
   ข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่น้อยเกินไป
   การกาหนดแถบความถี่ในการวิเคราะห์ข้อมูล
   ความคลาดคลื่นตาแหน่งพิกดภาพดาวเทียม
                              ั
   การเลือกฟังก์ชันในการคานวณ
   ข้อมูลภาคสนาม
   จากข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่ของพืชทั้ง 5 ชนิด นามาสร้างเป็นรูปแบบมาตรฐานที่เหมาะสม
    สาหรับการนาไปใช้งาน โดยจากการศึกษาและสืบค้นทางอินเตอร์เน็ตพบว่าไลบรารี่โดยทั่วไป
    เช่น ไลบรารี่ของ USGS (เป็นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ที่ให้ข้อมูลที่เป็นกลางเกี่ยวกับสุขภาพ
    ของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม) จะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
   ASCII เป็นส่วนของไฟล์ที่อยู่ในรูปแบบของแอสกี (เป็นรหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการ
    แลกเปลี่ยนสารสนเทศ) ประกอบด้วยข้อมูลค่าสเปกตรัมการสะท้อนที่ย่านความยาวคลื่นต่างๆ
    โดยสามารถนาค่าหล่านี้ไปใช้ในการคานวณได้ ชนิดของไฟล์ คือ *.asc
   DESCRIPT เป็นส่วนในการอธิบายถึงองค์ประกอบของสิ่งต่างๆที่ทาให้ได้ข้อมูลสเปกตรัมมา
    เช่น รายละเอียดของวัตถุ สถานที่ในการสารวจ สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ชนิดของไฟล์ คือ *.html
   PLOTS เป็นรูปที่แสดงค่าสเปกตรัมการสะท้อนที่ย่านความยาวคลื่นต่างๆ ชนิดของไฟล์ คือ
    *.png
   รูปแบบดังกล่าวนี้สามารถนาไปใช้งานได้ทันทีโดยค่าที่ได้สามารถนาไปคานวณในแบบ
    ต่างๆ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ เช่น หาความแตกต่างในแต่ละย่านความยาวคลื่น หา
    ความโดดเด่นของวัตถุแต่ละชนิด เป็นต้น
   โดยซอฟแวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์จะอยู่ในรูปแบบของซอฟแวร์ที่ชื่อว่า CSTAR
    Spectral Analysis Management System (SAMS)
    (http://sams.projects.atlas.ca.gov/)
   เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล การเรียงลาดับ และประมวลผลค่าสเปกตรัม
   นอกจากนี้รูปแบบดังกล่าวยังสามารถนไปใช้งานร่วมกันกับซอฟแวร์ประมวลผลภาพได้
    ทันที เช่น ซอฟแวร์ Environment for Visualization of Images (ENVI ITT Visual
    Solutions) เป็นต้น
   แต่รูปแบบนี้ก็ถีงว่าเป็นเพียงหนึ่งในรูปแบบที่มีการใช้กัน ถ้าจะนาไปใช้กับซอฟแวร์
    เฉพาะทางอื่น เช่น ERDAS IMAGINE เป็นต้น อาจจาเป็นต้องทาการแปลงข้อมูลอีกครั้ง
    ดั ง นั้ น การแปลงในขั้ น นี้ จ าเป็ น ต้ อ งรู้ รู ป แบบข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ข องซอฟแวร์ นั้ น แล้ ว จึ ง น า
    รูปแบบดังกล่าวมาใช้นั้นเอง
   ASCII
   DESCRIPT
   PLOTS
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum Library

More Related Content

Similar to SMMS 53 Spectrum Library

หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 KruNistha Akkho
 
2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)saintja
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602CUPress
 
First Week
First WeekFirst Week
First Weekwirotela
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทางNut Seraphim
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมnoeiinoii
 

Similar to SMMS 53 Spectrum Library (19)

หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
คู่มือ58170038
คู่มือ58170038คู่มือ58170038
คู่มือ58170038
 
2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602
 
First Week
First WeekFirst Week
First Week
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
SMMS Rainfall
SMMS  RainfallSMMS  Rainfall
SMMS Rainfall
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
Epi info unit08
Epi info unit08Epi info unit08
Epi info unit08
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

More from Sunt Uttayarath

โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53Sunt Uttayarath
 
สรุปโครงการ SMMS 53
สรุปโครงการ  SMMS 53สรุปโครงการ  SMMS 53
สรุปโครงการ SMMS 53Sunt Uttayarath
 
สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53Sunt Uttayarath
 
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010Sunt Uttayarath
 
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010Sunt Uttayarath
 
Presentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationPresentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationSunt Uttayarath
 

More from Sunt Uttayarath (8)

SMMS Application
SMMS ApplicationSMMS Application
SMMS Application
 
โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53
 
SMMS Landslide
SMMS  LandslideSMMS  Landslide
SMMS Landslide
 
สรุปโครงการ SMMS 53
สรุปโครงการ  SMMS 53สรุปโครงการ  SMMS 53
สรุปโครงการ SMMS 53
 
สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53
 
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
 
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
 
Presentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationPresentation SMMS Application
Presentation SMMS Application
 

SMMS 53 Spectrum Library

  • 2. การสารวจเพื่อเก็บข้อมูลในการจัดทาสเปกตรัมไลบรารี่  การประยุกค์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม  การนาไลบรารี่ไปประยุกต์ใช้กับเพืนที่อื่นๆ ้  รูปแบบสเปกตรัมไลบรารี่
  • 3. มาตรฐานการสารวจความถูกต้องทางภาคสนาม  การวางแผนก่อนการสารวจ ◦ การเลือกพืนที่สารวจ ้ ◦ วัตถุประสงค์ในการลงพื้นที่สารวจ ◦ ข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์  การเตรียมตัวก่อนการสารวจ  บันทึกช่วยจา  เงื่อนไขที่เหมาะสมสาหรับการวัดสเปกตรัม ◦ มุมของพระอาทิตย์ ◦ เงื่อนไขของเมฆ ◦ สภาพภูมิประเทศ
  • 4. Spectrometer Fiber Optic Spectralon Interface Screen
  • 5. อบต.เกษตรสุวรรณ เทศบาลตาบลห้วยกะปิ ชลบุรี ชลบุรี
  • 6. • ประเมินขนาดของพื้นที่สารวจ • บันทึกค่าองค์ประกอบต่างๆ • ส่วนของตัวพืช ข้อมูลของพื้นที่ ข้อมูลสภาพแวดล้อม • ทาการวัดค่ามุมของพระอาทิตย์ (Elevation) และมุมจากทิศ เหนือ (Azimuth)
  • 7.
  • 8. ประกอบอุปกรณ์ เครื่องสเปกโตรมิเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ กาหนดตาแหน่งของ เครื่องมือวัด คานวณหาความสูงให้ สัมพันธ์กันกับพืนที่ใน ้ การมองของอุปกรณ์
  • 9. วัดอุปกรณ์เทียบค่า และวัดพืช โดยทา หลายๆตาแหน่ง รวบรวมค่าสเปกตรัม และตรวจสอบ ค้นหาปัจจัยที่ทาให้เกิด ความผิดพลาดในการ วัดสเปกตรัม
  • 10. ข้าว อ้อย สับปะรด พันธุ์ชัยนาท 1 พันธุ์อู่ทอง 3 พันธุ์ปัตตาเวีย อายุ 1 เดือน อายุ 9 เดือน อายุ 5 เดือน สูง 0.4 เมตร สูง 3 เมตร สูง 0.5 เมตร นาหว่าน ออกเฉียงเหนือ-ใต้ ออกเฉียงเหนือ-ใต้
  • 11. มันสาปะหลัง ยางพารา พันธุ์ระยอง 5 พันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 8 เดือน อายุ 60 เดือน สูง 2.2 เมตร สูง 8 เมตร เหนือ-ตะวันออก ออกเฉียงเหนือ-ใต้
  • 12. การใช้เครื่องมือวัดสเปกตรัมหรือเรียกว่าสเปกโตรมิเตอร์ ค่าที่วัดออกมาได้จะอยู่ในรูป ของค่าความเข้มแสง ดังนั้นต้องนามาคานวณเพื่อแปลงให้อยู่ในรูปของค่าสเปกตรัมการ สะท้อน (Reflectance) เมื่อ Iout คือ ความเข้มแสงของรังสีที่สะท้อนออกมาจากวัสดุที่สนใจ Iin คือ ความเข้มแสงของรังสีที่ตกกระทบวัสดุทสนใจ ี่ R คือ การสะท้อนของแสง (Reflectance)
  • 13. วัดความเข้มแสงของวัสดุเทียมค่า Iout1  %R1 = ( Iout1/Iin1 ) * 100  Iin1 = ( Iout1/%R1 ) * 100  วัดความเข้มแสงของพืช Iout2  %R2 = ( Iout2/Iin2 ) * 100 ; เมื่อ Iin1 = Iin2  %R2 = ( Iout2/[( Iout1/%R1 ) * 100] ) * 100 Reference panel
  • 14. %R2 = ( Iout2/[( Iout1/%R1 ) * 100] ) * 100  ในตารางจะแสดงค่าที่วัดได้จากพื้นที่การปลูกยางพารา
  • 15. เนื่องจากข้อมูลในแต่ละไฟล์จะมีจานวนเยอะ จึงต้องหาแนวทางในการทาให้เป็นการ คานวณแบบอัตโนมัติ  ไฟล์จากเครื่องสเปกโตรมิเตอร์เป็นชนิด *.cmbl
  • 16.
  • 17. เนื่องจากข้อกาหนดของวิธีในการวัดค่าสเปกตรัม ทาให้ข้อมูลที่ได้เกิดความแปรปรวน  ตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูลในเซตนั้นจะหาจากการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Coefficient of Correlation [r])  โดยจะมีค่าอยู่ระหว่าง -1.0 ถึง +1.0 โดยที่ค่าที่อยู่ใกล้ -1.0 หรือ +1.0 ถือว่ามี ความสัมพันธ์กันมากที่สุด ส่วน 0 หมายความว่า ตัวแปรทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์กัน แม้แต่น้อย ส่วนเครื่องหมาย + หรือ - บงบอกว่าความสัมพันธ์นั้น เป็นตามกันหรือ ตรงกันข้าม
  • 18. นาผลที่ได้มาพิจารณาตามย่านความถี่ เพื่อดูความสัมพันธ์ให้ตรงตามกับพืชและพื้นที่ และนาผลที่ได้ไปใช้งาน
  • 19.
  • 20. จากการคานวณจะได้ย่านความยาวคลื่นในการวิเคราะห์ดังนี้ 450, 472, 490, 536, 590, 620, 750 และ 896nm จากข้อมูลช่วงค่าลายเส้นของพืชและย่านที่ใช้ในการ วิเคราะห์ จะทาให้สามารถทราบถึงความแตกต่างของสเปกตรัมของพืชทั้ง 5 ชนิด
  • 21. ข้อมู ลภาพถ่ ายดาวเทียมในวันที่ 3 มีน าคม 2553 โดยเลือกซีนของภาพที่มีชื่ อว่า HJ1A-HSI-12-102-B2-20100303-L20000263206 มาใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่เพาะปลูกพืช 4 จาก 5 ชนิดซึ่งก็คือ มันสาปะหลัง สับปะรด ยางพารา และอ้อย (ไม่มีข้าว)  ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 โดยเลือกซีนของภาพที่มีชื่อ ว่า HJ1A-HSI-12-102-A1-20091110-L20000203604 มาใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่เพาะปลูกข้าว  มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่เพาะปลูก โดยข้อมูลภาคสนามจะเป็น ของวันที่ 1-3 และ 20-22 กรกฎาคม 2553 และวันที่ 7-8 สิงหาคม 2553
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. Spectral Angle Mapper Classification (SAM) คือจะทาการกาหนดค่าข้อมูลแล้ว ปรับแก้โดยการนาค่าสเปกตรัมของทั้งสองค่ามาคานวณในลักษณะของเวกเตอร์ n มิติ (n คือ จานวนแบนด์)
  • 26.
  • 27.
  • 28. เป็ น ฟั ง ก์ ชั น ในการเปลี่ ย นรู ป เชิ ง เส้ น เพื่ อ ใช้ ใ นการประมาณค่ า ขนาดที่ แ ท้ จ ริ ง ของ ข้อมูลภาพ ทาการแยกสัญญาณรบกวนออกจากข้อมูล และช่วยลดเวลาในการคานวณ สาหรับในส่วนของการประมวลผล  ค่า eigenvalues และภาพ MNF จะถูก ใช้ในการประเมินขนาดของข้อมูล โดย ค่า eigenvalues ในแต่ละแถบความถี่ จะประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ โดย เรียงลาดับตามขนาดของข้อมูล ภาพที่ได้ จะมีข้อมูลที่สอดคล้องกับความเชื่อมโยง เชิงพื้นที่ ในขณะที่ภาพสัญญาณรบกวน จะไม่มีข้อมูลในเชิงพื้นที่เลย
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35. จากข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่จึงได้มีแนวคิดในการนามาใช้งานกับพื้นที่อื่นๆ โดยจะทา การคัด เลือ กจากพื้น ที่ ที่ มี ข้ อมู ล ทางภาคสนาม ซึ่งจากการขอความอนุ เ คราะห์จ าก ส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตรท าให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล พื้ น ที่ ภ าคสนามซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ใ นการ เพาะปลู ก ข้าวแถวบริเวณภาคกลางและภาคเหนื อ (โดยมี แค่บางจั งหวัดไม่ครบทุ ก จังหวัด) จึงนาข้อมูลนี้ไปค้นหาเพื่อเทียบพื้นที่เดียวกันกับภาพถ่ายดาวเทียม  จากการค้นหาจึงได้ทาการเลือกพื้นที่จังหวัดพะเยา โดยเลือกข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมใน วันที่ 30 กันยายน 2553 โดยเลือกซีนของภาพที่มีชื่อว่า HJ1A-HSI-15-94-A2- 20100930-L20000004187 มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการจาแนกพื้นที่ เพาะปลูกข้าว โดยข้อมูลภาคสนามจะเป็นของวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552
  • 36.
  • 37. จากผลที่ ไ ด้ จ ะเห็ น ได้ ว่ า ค่ า ความถู ก ต้ อ งในการประเมิ น พื้ น ที่ เ พาะปลู ก ข้ า วเท่ า กั บ 64.79% และพื้นที่ที่ไม่ใช่ข้าวเท่ากับ 94.66% ถ้ารวมความถูกต้องของพื้นที่ทั้งหมด จะเท่ากับ 88.2626% ซึ่งค่อนข้างมีความถูกต้องสูง ดังนั้นจากการทดสอบดังที่กล่าว มานี้ทาให้สามารถสรุปได้ว่าสามารถนาข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่มาใช้ในการประเมิน พื้นที่เพาะปลูกได้ ต่อมาจึงนาข้อมูลนี้มาสร้างให้เป็นรูปแบบมาตรฐาน
  • 38. ข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่น้อยเกินไป  การกาหนดแถบความถี่ในการวิเคราะห์ข้อมูล  ความคลาดคลื่นตาแหน่งพิกดภาพดาวเทียม ั  การเลือกฟังก์ชันในการคานวณ  ข้อมูลภาคสนาม
  • 39. จากข้อมูลสเปกตรัมไลบรารี่ของพืชทั้ง 5 ชนิด นามาสร้างเป็นรูปแบบมาตรฐานที่เหมาะสม สาหรับการนาไปใช้งาน โดยจากการศึกษาและสืบค้นทางอินเตอร์เน็ตพบว่าไลบรารี่โดยทั่วไป เช่น ไลบรารี่ของ USGS (เป็นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ที่ให้ข้อมูลที่เป็นกลางเกี่ยวกับสุขภาพ ของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม) จะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ  ASCII เป็นส่วนของไฟล์ที่อยู่ในรูปแบบของแอสกี (เป็นรหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการ แลกเปลี่ยนสารสนเทศ) ประกอบด้วยข้อมูลค่าสเปกตรัมการสะท้อนที่ย่านความยาวคลื่นต่างๆ โดยสามารถนาค่าหล่านี้ไปใช้ในการคานวณได้ ชนิดของไฟล์ คือ *.asc  DESCRIPT เป็นส่วนในการอธิบายถึงองค์ประกอบของสิ่งต่างๆที่ทาให้ได้ข้อมูลสเปกตรัมมา เช่น รายละเอียดของวัตถุ สถานที่ในการสารวจ สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ชนิดของไฟล์ คือ *.html  PLOTS เป็นรูปที่แสดงค่าสเปกตรัมการสะท้อนที่ย่านความยาวคลื่นต่างๆ ชนิดของไฟล์ คือ *.png
  • 40. รูปแบบดังกล่าวนี้สามารถนาไปใช้งานได้ทันทีโดยค่าที่ได้สามารถนาไปคานวณในแบบ ต่างๆ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ เช่น หาความแตกต่างในแต่ละย่านความยาวคลื่น หา ความโดดเด่นของวัตถุแต่ละชนิด เป็นต้น  โดยซอฟแวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์จะอยู่ในรูปแบบของซอฟแวร์ที่ชื่อว่า CSTAR Spectral Analysis Management System (SAMS) (http://sams.projects.atlas.ca.gov/)  เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล การเรียงลาดับ และประมวลผลค่าสเปกตรัม
  • 41. นอกจากนี้รูปแบบดังกล่าวยังสามารถนไปใช้งานร่วมกันกับซอฟแวร์ประมวลผลภาพได้ ทันที เช่น ซอฟแวร์ Environment for Visualization of Images (ENVI ITT Visual Solutions) เป็นต้น  แต่รูปแบบนี้ก็ถีงว่าเป็นเพียงหนึ่งในรูปแบบที่มีการใช้กัน ถ้าจะนาไปใช้กับซอฟแวร์ เฉพาะทางอื่น เช่น ERDAS IMAGINE เป็นต้น อาจจาเป็นต้องทาการแปลงข้อมูลอีกครั้ง ดั ง นั้ น การแปลงในขั้ น นี้ จ าเป็ น ต้ อ งรู้ รู ป แบบข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ข องซอฟแวร์ นั้ น แล้ ว จึ ง น า รูปแบบดังกล่าวมาใช้นั้นเอง
  • 42. ASCII  DESCRIPT  PLOTS