SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2560
230.-
สุภาษิตอังกฤษ-คำ�สอนใจของไทย
ที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน
รัชนี ซอโสตถิกุล
รัชนี ซอโสตถิกุล
	 สุภาษิตอังกฤษ-ค�ำสอนใจของไทย ที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน / รัชนี ซอโสตถิกุล
	 1. สุภาษิตและค�ำพังเพย
398.9
ISBN 978-974-03-3628-0
สพจ. 536/6
ลิขสิทธิ์ของส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิมพ์ครั้งที่ 1 จ�ำนวน 3,000 เล่ม พ.ศ. 2534
พิมพ์ครั้งที่ 2 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2536
พิมพ์ครั้งที่ 3 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2538
พิมพ์ครั้งที่ 4 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2541
พิมพ์ครั้งที่ 5 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2544
พิมพ์ครั้งที่ 6 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2546
พิมพ์ครั้งที่ 7 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2549
พิมพ์ครั้งที่ 8 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2550
พิมพ์ครั้งที่ 9 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2560
(พิมพ์ครั้งที่ 6 ของส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
การผลิตและการลอกเลียนหนังสือเล่มนี้ไม่ว่ารูปแบบใดทั้งสิ้น
ต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้จัดจ�ำหน่าย	 ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
	 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
สาขา	 ศาลาพระเกี้ยว โทร. 0-2218-7000-3 โทรสาร 0-2255-4441
	 สยามสแควร์ โทร. 0-2218-9881-2 โทรสาร 0-2254-9495
	 ม.นเรศวร จ. พิษณุโลก โทร. 0-5526-0162-4 โทรสาร 0-5526-0165
	 ม.เทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา โทร. 0-4421-6131-4 โทรสาร 0-4421-6135
	 ม.บูรพา จ.ชลบุรี โทร. 0-3839-4855-9 โทรสาร 0-3839-3239
	 โรงเรียนนายร้อย จปร. จ.นครนายก โทร. 0-3739-3023 โทรสาร 0-3739-3023
	 ม.พะเยา จ.พะเยา โทร. 0-5446-6799-800 โทรสาร 0-5446-6798
	 จัตุรัสจามจุรี (CHAMCHURI SQUARE) ชั้น 4 โทร. 0-2160-5301-2
	 โทรสาร 0-2160-5304
	 หัวหมาก โทร. 0-2374-1378 โทรสาร 0-2374-1377
	 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา โทร. 0-4492-2662-3
	 โทรสาร 0-4492-2664 มือถือ 08-6392-7785
	 Call Center (จัดส่งทั่วประเทศ) โทร. 0-2255-4433 http://www.chulabook.com
	 และเครือข่าย
ร้านค้า หนังสือเข้าชั้นเรียน ติดต่อ แผนกขายส่ง สาขาหัวหมาก โทร. 0-2374-1375-6 โทรสาร 0-2374-1375
มีจ�ำหน่ายที่ 	 ร้านซีเอ็ดทุกสาขา ร้านนายอินทร์ทุกสาขา และร้านหนังสือชั้นน�ำทั่วประเทศ
กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ ผิวข�ำ
ออกแบบปก : วัชรวีร์ อาสาสุ
พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3557 โทรสาร 0-2218-3551
www.cuprint.chula.ac.th
ค�ำน�ำ
	 ก่อนที่จะเขียนหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับ
ส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทย โดยมีวัตถุประสงค์จะให้เป็นประโยชน์
แก่ผู้ที่ศึกษาภาษาอังกฤษและภาษาไทย โดยเฉพาะผู้ที่สนใจวิชาแปล
ซึ่งจะต้องแปลส�ำนวนอังกฤษเป็นไทยหรือส�ำนวนไทยเป็นอังกฤษ แต่
การแปลค�ำต่อค�ำอาจจะไม่เป็นที่เข้าใจกัน สิ่งที่ดีที่สุดคือ พยายามหา
ส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน แล้วแปล
ส�ำนวนไทยเป็นส�ำนวนอังกฤษ หรือแปลส�ำนวนอังกฤษเป็นส�ำนวน
ไทย
	 การแปลสุภาษิตก็เช่นกัน ส่วนใหญ่เราจะไม่แปลค�ำต่อค�ำ
หากสามารถจะหาได้ เราจะแปลเป็นสุภาษิตของอีกภาษาหนึ่งที่มี
ความหมายคล้ายคลึงกัน การที่เป็นเช่นนี้เพราะทั้งส�ำนวนและสุภาษิต
มิได้มีความหมายตรงไปตรงมา แต่แฝงความหมายพิเศษไว้ ตัวอย่าง
เช่น ส�ำนวนอังกฤษ “eat one’s cake and have it (too)” มิได้มี
ความหมายเกี่ยวกับการรับประทานขนมเค้กแต่มีความหมายว่า หวัง
อยากจะได้พร้อม ๆ กันทั้งสองอย่าง ซึ่งเป็นไปไม่ได้ จะต้องเลือกเอา
อย่างใดอย่างหนึ่ง ส�ำนวนนี้มีความหมายคล้ายคลึงกับส�ำนวนไทย
“จับปลาสองมือ” ซึ่งตามรูปค�ำเกี่ยวกับการจับปลาด้วยมือสองมือ
แต่ความหมายที่แท้จริงมิได้เกี่ยวกับการจับปลาเลย สุภาษิตก็เช่น
กัน ตัวอย่างเช่น สุภาษิตอังกฤษ “Don’t count your chickens
before they are hatched.” มีความหมายตรงกับสุภาษิตไทย
ค�ำน�ำ 1
“ไม่เห็นน�้ำอย่าเพิ่งตัดกระบอก ไม่เห็นกระรอกอย่าเพิ่งโก่งหน้าไม้” ซึ่ง
หมายความว่า อย่า รีบ ด่วนกระท�ำสิ่งใดล่วงหน้าไปก่อน โดยที่ยังไม่มี
อะไรแน่นอนในอนาคต สุภาษิตอังกฤษมิได้มีความหมายเกี่ยวกับการ
นับลูกไก่และสุภาษิตไทยก็มิได้มีความหมายเกี่ยวกับการตัดกระบอก
ใส่น�้ำหรือการโก่งหน้าไม้ยิงกระรอก ตามรูปค�ำที่ปรากฏแต่อย่างใด
	 สิ่งที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับความคล้ายคลึงกันของ
ส�ำนวนสุภาษิตก็คือ ส�ำนวนและสุภาษิตเป็นเสมือนกระจกเงาสะท้อน
ให้เห็นธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี ลัทธิศาสนา ต�ำนาน
นิทาน กีฬา การละเล่น ความประพฤติ ทัศนคติเกี่ยวกับความดี ความ
ชั่ว ความสุข ความทุกข์ ความรัก การแต่งงาน การท�ำงาน การพูด
และอื่น ๆ ของมนุษย์แต่ละชาติแต่ละภาษา ฉะนั้นการศึกษาส�ำนวน
สุภาษิตของแต่ละชาติท�ำให้เราได้เข้าใจธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และ
วัฒนธรรมของชาตินั้น ๆ นอกเหนือจากความรู้เรื่องภาษา
	 ในหนังสือชุดเรียนภาษาอังกฤษนอกต�ำราของศาสตราจารย์
ดร.วิทย์ ศิวะศริยานนท์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์สมบัติ จ�ำปาเงิน ได้
กล่าวถึงการศึกษาภาษิตและค�ำพังเพยในภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษา
อังกฤษ ไว้ว่า
	 ภาษิตนับเป็นสมบัติส�ำคัญของภาษา ในการเรียนภาษาต่าง
ประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ จึงควรสนใจภาษิตและค�ำพังเพยในภาษา
นั้น ๆ ด้วย เพราะจะเป็นทางท�ำให้เราเข้าใจความรู้สึกนึกคิด จิตใจ
และอุดมคติของเขา นอกจากนั้น อาจได้ข้อคิดและคติธรรมมาเพิ่มพูน
สติปัญญาเราด้วย เพราะแม้วัฒนธรรมจะแตกต่างกัน และลักษณะที่
เป็นรากฐานของมนุษย์เราถึงแม้จะต่างชาติต่างภาษาก็มิได้ผิดแผกกัน
เท่าใดนัก ผลที่จะได้อีกอย่างหนึ่งในการศึกษาภาษิตและค�ำพังเพยใน
ค�ำน�ำ 2
ภาษาต่างประเทศก็คือในแง่เปรียบเทียบ คือ เปรียบเทียบภาษิตของ
เขาและของเราในเรื่องต่าง ๆ ข้อนี้จะเป็นประโยชน์โดยตรงส�ำหรับ
นักภาษาเป็นอันมาก เพราะถ้าได้ศึกษาในด้านนี้แล้วจะรู้สึกได้ทันที
ว่า ภาษิตต่างประเทศค�ำนี้ตรงกับหรือเทียบได้กับของไทยที่มีอยู่แล้ว
อย่างไร ท�ำให้ไม่ต้องหลงลมไปแปลภาษิตอังกฤษเป็นภาษาไทย หรือ
แปลภาษิตไทยเป็นภาษาอังกฤษขึ้นใหม่ ซึ่งถึงจะแปลอย่างไรก็เทียบ
กันไม่ได้
	 ในการเปรียบเทียบสุภาษิตอังกฤษและสุภาษิตไทยที่มีความ
หมายคล้ายคลึงกันนี้ ผู้เขียนได้เอาสุภาษิตอังกฤษเป็นหลัก สุภาษิต
อังกฤษบางบทอาจจะมิได้มีความหมายตรงกับสุภาษิตไทย แต่มีความ
หมายคล้ายคลึงกับค�ำพังเพยหรือส�ำนวนในภาษาไทย เช่น สุภาษิต
อังกฤษ “Fine feathers make fine birds.” มีความหมายตรงกับ
ค�ำพังเพยในภาษาไทย “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” หรือ
สุภาษิตอังกฤษ “It’s too late to shut the stable door after
the horse has been stolen.” มีความหมายตรงกับส�ำนวนไทย
“วัวหายล้อมคอก” ด้วยเหตุที่สุภาษิตอังกฤษอาจจะมีความหมาย
คล้ายคลึงกับค�ำพังเพยและส�ำนวนไทย และค�ำพังเพยและส�ำนวน
ไทยเหล่านี้ล้วนเป็นคติสอนใจ ผู้เขียนจึงใช้ค�ำกลาง ๆ คือ ‘ค�ำสอน
ใจของไทย’ แทน ‘สุภาษิตไทย’
	 การเปรียบเทียบสุภาษิตอังกฤษกับค�ำสอนใจของไทยที่มี
ความหมายคล้ายคลึงกันในหนังสือเล่มนี้ มีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ
	 1.	 ยกสุภาษิตอังกฤษและค�ำสอนใจของไทยที่มีความหมาย
ตรงกัน หรือคล้ายคลึงกันมาเปรียบเทียบกันเป็นคู่ ๆ
	 2.	 ให้ความหมายที่คล้ายคลึงกันของสุภาษิตอังกฤษและ
ค�ำสอนใจของไทยนั้น ๆ
ค�ำน�ำ 3
3.	 แสดงวิธีใช้โดยการยกตัวอย่างประกอบ ตัวอย่างที่ยก
มามีทั้งที่ปรากฏตามหนังสือต่าง ๆ และที่ผู้เขียนเขียนขึ้น เพื่อช่วยให้
เข้าใจความหมายของสุภาษิตหรือค�ำสอนใจดีขึ้น หากเป็นตัวอย่างที่
ผู้เขียนเขียนขึ้นก็จะไม่มีวงเล็บบอกชื่อหนังสือหรือผู้แต่ง
	 4.	 อธิบายที่มาของสุภาษิตทั้งสองภาษา ถ้ามีหลักฐาน
แน่นอนที่สามารถจะอ้างได้ อธิบายความคล้ายคลึงหรือความแตกต่าง
ในบางแง่ของความหมาย รวมทั้งการใช้ค�ำอุปมาอุปไมยของสุภาษิต
ทั้งสองภาษา
	 สุภาษิตหลักที่น�ำมาเปรียบเทียบเป็นคู่ ๆ ในหนังสือเล่มนี้
มีทั้งหมด 100 สุภาษิต และหากมีสุภาษิตอื่นในภาษาเดียวกันที่มี
ความหมายคล้ายคลึงกันแต่ละสุภาษิต ก็จะยกมาแสดงประกอบด้วย
สุภาษิตหลักบางสุภาษิตอาจมีสุภาษิตอื่น ๆ ที่มีความหมายคล้ายคลึง
กันอีกมากมาย เช่น สุภาษิตที่สอนใจเกี่ยวกับการพูด คือ “Speech
is silver, silence is gold,” มีสุภาษิตอื่นที่มีความหมายคล้ายคลึง
กันถึง 48 สุภาษิต นอกจากนี้ หากมีสุภาษิตชาติอื่นที่มีความหมาย
คล้ายคลึงกัน ก็จะน�ำมาเขียนแสดงไว้ด้วย
	 สุภาษิตทั้ง 100 สุภาษิตนี้ เป็นคติสอนใจในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยว
กับการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ และเพื่อให้ผู้อ่านค้นหาสุภาษิตที่ต้องการ
ได้ง่าย ผู้เขียนจึงจัดเรียงตามล�ำดับอักษรตัวแรกของสุภาษิตอังกฤษ
มิได้จัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามความหมายที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม
ในตอนท้ายของหนังสือเล่มนี้ก็มีดัชนีที่เรียงล�ำดับสุภาษิต ค�ำพังเพย
และส�ำนวนไทยตามล�ำดับตัวอักษรไทยพร้อมทั้งเลขหน้า เพื่อช่วยผู้
อ่านได้ค้นหาสุภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนไทยที่ต้องการได้รวดเร็ว
ขึ้น
ค�ำน�ำ 4
ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์
แก่ผู้อ่านเช่นเดียวกับหนังสือส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทยที่มีความ
หมายคล้ายคลึงกัน และสิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนรู้สึกภูมิใจอย่างยิ่งก็คือ การ
ได้มีส่วนช่วยอนุรักษ์และเผยแพร่ภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนของ
ไทย ภาษิตค�ำพังเพยและส�ำนวนไทยเป็นสมบัติวัฒนธรรมทางภาษา
อย่างหนึ่งที่แสดงภูมิปัญญาของคนไทย การที่เราสามารถน�ำสุภาษิต
ค�ำพังเพย และส�ำนวนไทยมาเปรียบเทียบกับสุภาษิตอังกฤษแสดงว่า
ชาติไทยเรามีความเจริญทางด้านวัฒนธรรมและภาษาไม่แพ้ชาติตะวัน
ตก สุภาษิตค�ำพังเพยและส�ำนวนเป็นมรดกทางภาษาที่บรรพบุรุษได้
มอบไว้ให้แก่เรา และเราควรจะช่วยกันอนุรักษ์ไว้ มิใช่ปล่อยให้สูญหาย
ไป
	 ปัจจุบันนี้ คนไทยส่วนใหญ่ไม่ค่อยรู้จักสุภาษิต ค�ำพังเพย
หรือส�ำนวนไทยที่ใช้กันมาแต่โบราณ อาจจะเป็นเพราะหนังสือที่เขียน
เกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้มีน้อย ถ้ามีก็เพียงแต่ยกค�ำเหล่านั้นมาและบอก
ความหมายสั้น ๆ โดยไม่ได้ให้ค�ำอธิบายที่กระจ่าง ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจ
สุภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนเหล่านั้นดีขึ้น คนไทยสมัยใหม่บางคน
คิดว่า สุภาษิต ค�ำพังเพย หรือส�ำนวนเป็นสิ่งที่ล้าสมัย ทั้งที่มีความ
ส�ำคัญและมีประโยชน์เป็นอันมาก ดังในค�ำน�ำของหนังสือ ค�ำพังเพย
สุภาษิตสุนทรภู่สอนหญิง สอนชาย รวบรวมโดยกองวิชาการ 09 ที่ว่า
	 ค�ำพังเพยก็ดี สุภาษิตก็ดี แม้การศึกษาจะเจริญถึงขีดใดก็ตาม
แต่ก็ยังเป็นของจ�ำเป็นในการศึกษาอยู่ทุกยุคทุกสมัย เช่น ครูบาอาจารย์
น�ำมาใช้ในการสอน โฆษกใช้ในการพูด หรือนักเขียน นักประพันธ์ใช้
ในการเขียน รวมทั้งผู้สนใจก็ได้รับการน�ำทางสู่การประเทืองปัญญา
ไม่จ�ำกัดวัย จ�ำกัดเพศ และระดับความรู้ รวมความว่า ทั้งค�ำพังเพย
ค�ำน�ำ 5
และสุภาษิตย่อมให้ประโยชน์อย่างใหญ่หลวงส�ำหรับผู้สนใจทุกท่าน
	 ท้ายที่สุดนี้ผู้เขียนใคร่จะขอบพระคุณรองศาสตราจารย์
ดร.นววรรณ พันธุเมธา อาจารย์ภาควิชาภาษาไทยของคณะอักษร
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สละเวลาช่วยอ่านและให้ความ
เห็นเกี่ยวกับความหมายและการใช้สุภาษิตค�ำสอนใจของไทยใน
หนังสือเล่มนี้ ในส่วนที่เป็นสุภาษิตอังกฤษ ผู้เขียนขอขอบพระคุณ
อาจารย์ William S. Whorton อาจารย์แห่งภาควิชาภาษาอังกฤษ
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้ช่วยอ่านและให้ค�ำ
แนะน�ำที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เขียน
ค�ำน�ำ 6
ประวัติผู้เขียน
			 รองศาสตราจารย์รัชนี ซอโสตถิกุล
การศึกษา
	 -	 อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
	 -	 อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (อังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลงานทางวิชาการ
	 -	 ความยืดหยุ่นในการอ่าน (2523)
	 -	 ความสัมพันธ์ระหว่างการเขียนและการอ่าน (2523)
	 -	 How to Make the Studying and Teaching of Reading Less
Boring (2523)
	 -	 ส�ำนวนอังกฤษที่พ้องรูป แต่มีความหมายต่างกับส�ำนวนไทย (2524)
	 -	 ค�ำในภาษาอังกฤษที่มีรูปและเสียงคล้ายคลึงกัน แต่มีความหมายต่าง
กัน (2526)
ต�ำราที่พิมพ์แล้ว
	 -	 How to Improve Your Reading (พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง 2522 พิมพ์ครั้ง
ที่สอง 2535 พิมพ์ครั้งที่สาม 2550)
-	 ส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน (พิมพ์ครั้ง
ที่หนึ่ง 2526 พิมพ์ครั้งที่สอง 2531 พิมพ์ครั้งที่สาม 2533 พิมพ์ครั้ง
ที่สี่ 2535 พิมพ์ครั้งที่ห้า 2537 พิมพ์ครั้งที่หก 2539 พิมพ์ครั้งที่เจ็ด
2540 พิมพ์ครั้งที่แปด 2548 และพิมพ์ครั้งที่เก้า 2560)
	 -	 สุภาษิตอังกฤษ-ค�ำสอนของไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน (พิมพ์
ครั้งที่หนึ่ง 2534 พิมพ์ครั้งที่สอง 2536 พิมพ์ครั้งที่สาม 2538 พิมพ์
ครั้งที่สี่ 2541 พิมพ์ครั้งที่ห้า 2544 พิมพ์ครั้งที่หก 2546 พิมพ์ครั้งที่
เจ็ด 2549 พิมพ์ครั้งที่แปด 2550 พิมพ์ครั้งที่เก้า 2560)
	 -	 ส�ำนวน ภาษิต และค�ำพังเพยของไทยที่น�ำสัตว์มาเปรียบ (พิมพ์ครั้งที่
หนึ่ง 2542 พิมพ์ครั้งที่สอง 2543 พิมพ์ครั้งที่สาม 2545 พิมพ์ครั้งที่สี่
2549 พิมพ์ครั้งที่ห้า 2551)
	 -	 ส�ำนวนและภาษิตอังกฤษที่น�ำสัตว์มาเปรียบ (พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง 2544)
ปัจจุบัน
	 -	 อดีตอาจารย์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย

More Related Content

Similar to 9789740336280

ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีSopa Aruncharoenkit
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 

Similar to 9789740336280 (20)

วิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษวิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษ
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
Media
MediaMedia
Media
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
Unit 1 about myself
Unit 1 about myselfUnit 1 about myself
Unit 1 about myself
 
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to printChapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรี
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419
 

9789740336280

  • 1.
  • 2.
  • 4. รัชนี ซอโสตถิกุล สุภาษิตอังกฤษ-ค�ำสอนใจของไทย ที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน / รัชนี ซอโสตถิกุล 1. สุภาษิตและค�ำพังเพย 398.9 ISBN 978-974-03-3628-0 สพจ. 536/6 ลิขสิทธิ์ของส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 1 จ�ำนวน 3,000 เล่ม พ.ศ. 2534 พิมพ์ครั้งที่ 2 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2536 พิมพ์ครั้งที่ 3 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2538 พิมพ์ครั้งที่ 4 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2541 พิมพ์ครั้งที่ 5 จ�ำนวน 2,000 เล่ม พ.ศ. 2544 พิมพ์ครั้งที่ 6 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2546 พิมพ์ครั้งที่ 7 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2549 พิมพ์ครั้งที่ 8 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2550 พิมพ์ครั้งที่ 9 จ�ำนวน 1,000 เล่ม พ.ศ. 2560 (พิมพ์ครั้งที่ 6 ของส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) การผลิตและการลอกเลียนหนังสือเล่มนี้ไม่ว่ารูปแบบใดทั้งสิ้น ต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้จัดจ�ำหน่าย ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 สาขา ศาลาพระเกี้ยว โทร. 0-2218-7000-3 โทรสาร 0-2255-4441 สยามสแควร์ โทร. 0-2218-9881-2 โทรสาร 0-2254-9495 ม.นเรศวร จ. พิษณุโลก โทร. 0-5526-0162-4 โทรสาร 0-5526-0165 ม.เทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา โทร. 0-4421-6131-4 โทรสาร 0-4421-6135 ม.บูรพา จ.ชลบุรี โทร. 0-3839-4855-9 โทรสาร 0-3839-3239 โรงเรียนนายร้อย จปร. จ.นครนายก โทร. 0-3739-3023 โทรสาร 0-3739-3023 ม.พะเยา จ.พะเยา โทร. 0-5446-6799-800 โทรสาร 0-5446-6798 จัตุรัสจามจุรี (CHAMCHURI SQUARE) ชั้น 4 โทร. 0-2160-5301-2 โทรสาร 0-2160-5304 หัวหมาก โทร. 0-2374-1378 โทรสาร 0-2374-1377 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา โทร. 0-4492-2662-3 โทรสาร 0-4492-2664 มือถือ 08-6392-7785 Call Center (จัดส่งทั่วประเทศ) โทร. 0-2255-4433 http://www.chulabook.com และเครือข่าย ร้านค้า หนังสือเข้าชั้นเรียน ติดต่อ แผนกขายส่ง สาขาหัวหมาก โทร. 0-2374-1375-6 โทรสาร 0-2374-1375 มีจ�ำหน่ายที่ ร้านซีเอ็ดทุกสาขา ร้านนายอินทร์ทุกสาขา และร้านหนังสือชั้นน�ำทั่วประเทศ กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ ผิวข�ำ ออกแบบปก : วัชรวีร์ อาสาสุ พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3557 โทรสาร 0-2218-3551 www.cuprint.chula.ac.th
  • 5. ค�ำน�ำ ก่อนที่จะเขียนหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับ ส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทย โดยมีวัตถุประสงค์จะให้เป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่ศึกษาภาษาอังกฤษและภาษาไทย โดยเฉพาะผู้ที่สนใจวิชาแปล ซึ่งจะต้องแปลส�ำนวนอังกฤษเป็นไทยหรือส�ำนวนไทยเป็นอังกฤษ แต่ การแปลค�ำต่อค�ำอาจจะไม่เป็นที่เข้าใจกัน สิ่งที่ดีที่สุดคือ พยายามหา ส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน แล้วแปล ส�ำนวนไทยเป็นส�ำนวนอังกฤษ หรือแปลส�ำนวนอังกฤษเป็นส�ำนวน ไทย การแปลสุภาษิตก็เช่นกัน ส่วนใหญ่เราจะไม่แปลค�ำต่อค�ำ หากสามารถจะหาได้ เราจะแปลเป็นสุภาษิตของอีกภาษาหนึ่งที่มี ความหมายคล้ายคลึงกัน การที่เป็นเช่นนี้เพราะทั้งส�ำนวนและสุภาษิต มิได้มีความหมายตรงไปตรงมา แต่แฝงความหมายพิเศษไว้ ตัวอย่าง เช่น ส�ำนวนอังกฤษ “eat one’s cake and have it (too)” มิได้มี ความหมายเกี่ยวกับการรับประทานขนมเค้กแต่มีความหมายว่า หวัง อยากจะได้พร้อม ๆ กันทั้งสองอย่าง ซึ่งเป็นไปไม่ได้ จะต้องเลือกเอา อย่างใดอย่างหนึ่ง ส�ำนวนนี้มีความหมายคล้ายคลึงกับส�ำนวนไทย “จับปลาสองมือ” ซึ่งตามรูปค�ำเกี่ยวกับการจับปลาด้วยมือสองมือ แต่ความหมายที่แท้จริงมิได้เกี่ยวกับการจับปลาเลย สุภาษิตก็เช่น กัน ตัวอย่างเช่น สุภาษิตอังกฤษ “Don’t count your chickens before they are hatched.” มีความหมายตรงกับสุภาษิตไทย ค�ำน�ำ 1
  • 6. “ไม่เห็นน�้ำอย่าเพิ่งตัดกระบอก ไม่เห็นกระรอกอย่าเพิ่งโก่งหน้าไม้” ซึ่ง หมายความว่า อย่า รีบ ด่วนกระท�ำสิ่งใดล่วงหน้าไปก่อน โดยที่ยังไม่มี อะไรแน่นอนในอนาคต สุภาษิตอังกฤษมิได้มีความหมายเกี่ยวกับการ นับลูกไก่และสุภาษิตไทยก็มิได้มีความหมายเกี่ยวกับการตัดกระบอก ใส่น�้ำหรือการโก่งหน้าไม้ยิงกระรอก ตามรูปค�ำที่ปรากฏแต่อย่างใด สิ่งที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับความคล้ายคลึงกันของ ส�ำนวนสุภาษิตก็คือ ส�ำนวนและสุภาษิตเป็นเสมือนกระจกเงาสะท้อน ให้เห็นธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี ลัทธิศาสนา ต�ำนาน นิทาน กีฬา การละเล่น ความประพฤติ ทัศนคติเกี่ยวกับความดี ความ ชั่ว ความสุข ความทุกข์ ความรัก การแต่งงาน การท�ำงาน การพูด และอื่น ๆ ของมนุษย์แต่ละชาติแต่ละภาษา ฉะนั้นการศึกษาส�ำนวน สุภาษิตของแต่ละชาติท�ำให้เราได้เข้าใจธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรมของชาตินั้น ๆ นอกเหนือจากความรู้เรื่องภาษา ในหนังสือชุดเรียนภาษาอังกฤษนอกต�ำราของศาสตราจารย์ ดร.วิทย์ ศิวะศริยานนท์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์สมบัติ จ�ำปาเงิน ได้ กล่าวถึงการศึกษาภาษิตและค�ำพังเพยในภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษา อังกฤษ ไว้ว่า ภาษิตนับเป็นสมบัติส�ำคัญของภาษา ในการเรียนภาษาต่าง ประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ จึงควรสนใจภาษิตและค�ำพังเพยในภาษา นั้น ๆ ด้วย เพราะจะเป็นทางท�ำให้เราเข้าใจความรู้สึกนึกคิด จิตใจ และอุดมคติของเขา นอกจากนั้น อาจได้ข้อคิดและคติธรรมมาเพิ่มพูน สติปัญญาเราด้วย เพราะแม้วัฒนธรรมจะแตกต่างกัน และลักษณะที่ เป็นรากฐานของมนุษย์เราถึงแม้จะต่างชาติต่างภาษาก็มิได้ผิดแผกกัน เท่าใดนัก ผลที่จะได้อีกอย่างหนึ่งในการศึกษาภาษิตและค�ำพังเพยใน ค�ำน�ำ 2
  • 7. ภาษาต่างประเทศก็คือในแง่เปรียบเทียบ คือ เปรียบเทียบภาษิตของ เขาและของเราในเรื่องต่าง ๆ ข้อนี้จะเป็นประโยชน์โดยตรงส�ำหรับ นักภาษาเป็นอันมาก เพราะถ้าได้ศึกษาในด้านนี้แล้วจะรู้สึกได้ทันที ว่า ภาษิตต่างประเทศค�ำนี้ตรงกับหรือเทียบได้กับของไทยที่มีอยู่แล้ว อย่างไร ท�ำให้ไม่ต้องหลงลมไปแปลภาษิตอังกฤษเป็นภาษาไทย หรือ แปลภาษิตไทยเป็นภาษาอังกฤษขึ้นใหม่ ซึ่งถึงจะแปลอย่างไรก็เทียบ กันไม่ได้ ในการเปรียบเทียบสุภาษิตอังกฤษและสุภาษิตไทยที่มีความ หมายคล้ายคลึงกันนี้ ผู้เขียนได้เอาสุภาษิตอังกฤษเป็นหลัก สุภาษิต อังกฤษบางบทอาจจะมิได้มีความหมายตรงกับสุภาษิตไทย แต่มีความ หมายคล้ายคลึงกับค�ำพังเพยหรือส�ำนวนในภาษาไทย เช่น สุภาษิต อังกฤษ “Fine feathers make fine birds.” มีความหมายตรงกับ ค�ำพังเพยในภาษาไทย “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” หรือ สุภาษิตอังกฤษ “It’s too late to shut the stable door after the horse has been stolen.” มีความหมายตรงกับส�ำนวนไทย “วัวหายล้อมคอก” ด้วยเหตุที่สุภาษิตอังกฤษอาจจะมีความหมาย คล้ายคลึงกับค�ำพังเพยและส�ำนวนไทย และค�ำพังเพยและส�ำนวน ไทยเหล่านี้ล้วนเป็นคติสอนใจ ผู้เขียนจึงใช้ค�ำกลาง ๆ คือ ‘ค�ำสอน ใจของไทย’ แทน ‘สุภาษิตไทย’ การเปรียบเทียบสุภาษิตอังกฤษกับค�ำสอนใจของไทยที่มี ความหมายคล้ายคลึงกันในหนังสือเล่มนี้ มีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ 1. ยกสุภาษิตอังกฤษและค�ำสอนใจของไทยที่มีความหมาย ตรงกัน หรือคล้ายคลึงกันมาเปรียบเทียบกันเป็นคู่ ๆ 2. ให้ความหมายที่คล้ายคลึงกันของสุภาษิตอังกฤษและ ค�ำสอนใจของไทยนั้น ๆ ค�ำน�ำ 3
  • 8. 3. แสดงวิธีใช้โดยการยกตัวอย่างประกอบ ตัวอย่างที่ยก มามีทั้งที่ปรากฏตามหนังสือต่าง ๆ และที่ผู้เขียนเขียนขึ้น เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมายของสุภาษิตหรือค�ำสอนใจดีขึ้น หากเป็นตัวอย่างที่ ผู้เขียนเขียนขึ้นก็จะไม่มีวงเล็บบอกชื่อหนังสือหรือผู้แต่ง 4. อธิบายที่มาของสุภาษิตทั้งสองภาษา ถ้ามีหลักฐาน แน่นอนที่สามารถจะอ้างได้ อธิบายความคล้ายคลึงหรือความแตกต่าง ในบางแง่ของความหมาย รวมทั้งการใช้ค�ำอุปมาอุปไมยของสุภาษิต ทั้งสองภาษา สุภาษิตหลักที่น�ำมาเปรียบเทียบเป็นคู่ ๆ ในหนังสือเล่มนี้ มีทั้งหมด 100 สุภาษิต และหากมีสุภาษิตอื่นในภาษาเดียวกันที่มี ความหมายคล้ายคลึงกันแต่ละสุภาษิต ก็จะยกมาแสดงประกอบด้วย สุภาษิตหลักบางสุภาษิตอาจมีสุภาษิตอื่น ๆ ที่มีความหมายคล้ายคลึง กันอีกมากมาย เช่น สุภาษิตที่สอนใจเกี่ยวกับการพูด คือ “Speech is silver, silence is gold,” มีสุภาษิตอื่นที่มีความหมายคล้ายคลึง กันถึง 48 สุภาษิต นอกจากนี้ หากมีสุภาษิตชาติอื่นที่มีความหมาย คล้ายคลึงกัน ก็จะน�ำมาเขียนแสดงไว้ด้วย สุภาษิตทั้ง 100 สุภาษิตนี้ เป็นคติสอนใจในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยว กับการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ และเพื่อให้ผู้อ่านค้นหาสุภาษิตที่ต้องการ ได้ง่าย ผู้เขียนจึงจัดเรียงตามล�ำดับอักษรตัวแรกของสุภาษิตอังกฤษ มิได้จัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามความหมายที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม ในตอนท้ายของหนังสือเล่มนี้ก็มีดัชนีที่เรียงล�ำดับสุภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนไทยตามล�ำดับตัวอักษรไทยพร้อมทั้งเลขหน้า เพื่อช่วยผู้ อ่านได้ค้นหาสุภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนไทยที่ต้องการได้รวดเร็ว ขึ้น ค�ำน�ำ 4
  • 9. ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ แก่ผู้อ่านเช่นเดียวกับหนังสือส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทยที่มีความ หมายคล้ายคลึงกัน และสิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนรู้สึกภูมิใจอย่างยิ่งก็คือ การ ได้มีส่วนช่วยอนุรักษ์และเผยแพร่ภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนของ ไทย ภาษิตค�ำพังเพยและส�ำนวนไทยเป็นสมบัติวัฒนธรรมทางภาษา อย่างหนึ่งที่แสดงภูมิปัญญาของคนไทย การที่เราสามารถน�ำสุภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนไทยมาเปรียบเทียบกับสุภาษิตอังกฤษแสดงว่า ชาติไทยเรามีความเจริญทางด้านวัฒนธรรมและภาษาไม่แพ้ชาติตะวัน ตก สุภาษิตค�ำพังเพยและส�ำนวนเป็นมรดกทางภาษาที่บรรพบุรุษได้ มอบไว้ให้แก่เรา และเราควรจะช่วยกันอนุรักษ์ไว้ มิใช่ปล่อยให้สูญหาย ไป ปัจจุบันนี้ คนไทยส่วนใหญ่ไม่ค่อยรู้จักสุภาษิต ค�ำพังเพย หรือส�ำนวนไทยที่ใช้กันมาแต่โบราณ อาจจะเป็นเพราะหนังสือที่เขียน เกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้มีน้อย ถ้ามีก็เพียงแต่ยกค�ำเหล่านั้นมาและบอก ความหมายสั้น ๆ โดยไม่ได้ให้ค�ำอธิบายที่กระจ่าง ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจ สุภาษิต ค�ำพังเพย และส�ำนวนเหล่านั้นดีขึ้น คนไทยสมัยใหม่บางคน คิดว่า สุภาษิต ค�ำพังเพย หรือส�ำนวนเป็นสิ่งที่ล้าสมัย ทั้งที่มีความ ส�ำคัญและมีประโยชน์เป็นอันมาก ดังในค�ำน�ำของหนังสือ ค�ำพังเพย สุภาษิตสุนทรภู่สอนหญิง สอนชาย รวบรวมโดยกองวิชาการ 09 ที่ว่า ค�ำพังเพยก็ดี สุภาษิตก็ดี แม้การศึกษาจะเจริญถึงขีดใดก็ตาม แต่ก็ยังเป็นของจ�ำเป็นในการศึกษาอยู่ทุกยุคทุกสมัย เช่น ครูบาอาจารย์ น�ำมาใช้ในการสอน โฆษกใช้ในการพูด หรือนักเขียน นักประพันธ์ใช้ ในการเขียน รวมทั้งผู้สนใจก็ได้รับการน�ำทางสู่การประเทืองปัญญา ไม่จ�ำกัดวัย จ�ำกัดเพศ และระดับความรู้ รวมความว่า ทั้งค�ำพังเพย ค�ำน�ำ 5
  • 10. และสุภาษิตย่อมให้ประโยชน์อย่างใหญ่หลวงส�ำหรับผู้สนใจทุกท่าน ท้ายที่สุดนี้ผู้เขียนใคร่จะขอบพระคุณรองศาสตราจารย์ ดร.นววรรณ พันธุเมธา อาจารย์ภาควิชาภาษาไทยของคณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สละเวลาช่วยอ่านและให้ความ เห็นเกี่ยวกับความหมายและการใช้สุภาษิตค�ำสอนใจของไทยใน หนังสือเล่มนี้ ในส่วนที่เป็นสุภาษิตอังกฤษ ผู้เขียนขอขอบพระคุณ อาจารย์ William S. Whorton อาจารย์แห่งภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้ช่วยอ่านและให้ค�ำ แนะน�ำที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เขียน ค�ำน�ำ 6
  • 11. ประวัติผู้เขียน รองศาสตราจารย์รัชนี ซอโสตถิกุล การศึกษา - อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (อังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานทางวิชาการ - ความยืดหยุ่นในการอ่าน (2523) - ความสัมพันธ์ระหว่างการเขียนและการอ่าน (2523) - How to Make the Studying and Teaching of Reading Less Boring (2523) - ส�ำนวนอังกฤษที่พ้องรูป แต่มีความหมายต่างกับส�ำนวนไทย (2524) - ค�ำในภาษาอังกฤษที่มีรูปและเสียงคล้ายคลึงกัน แต่มีความหมายต่าง กัน (2526) ต�ำราที่พิมพ์แล้ว - How to Improve Your Reading (พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง 2522 พิมพ์ครั้ง ที่สอง 2535 พิมพ์ครั้งที่สาม 2550)
  • 12. - ส�ำนวนอังกฤษและส�ำนวนไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน (พิมพ์ครั้ง ที่หนึ่ง 2526 พิมพ์ครั้งที่สอง 2531 พิมพ์ครั้งที่สาม 2533 พิมพ์ครั้ง ที่สี่ 2535 พิมพ์ครั้งที่ห้า 2537 พิมพ์ครั้งที่หก 2539 พิมพ์ครั้งที่เจ็ด 2540 พิมพ์ครั้งที่แปด 2548 และพิมพ์ครั้งที่เก้า 2560) - สุภาษิตอังกฤษ-ค�ำสอนของไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน (พิมพ์ ครั้งที่หนึ่ง 2534 พิมพ์ครั้งที่สอง 2536 พิมพ์ครั้งที่สาม 2538 พิมพ์ ครั้งที่สี่ 2541 พิมพ์ครั้งที่ห้า 2544 พิมพ์ครั้งที่หก 2546 พิมพ์ครั้งที่ เจ็ด 2549 พิมพ์ครั้งที่แปด 2550 พิมพ์ครั้งที่เก้า 2560) - ส�ำนวน ภาษิต และค�ำพังเพยของไทยที่น�ำสัตว์มาเปรียบ (พิมพ์ครั้งที่ หนึ่ง 2542 พิมพ์ครั้งที่สอง 2543 พิมพ์ครั้งที่สาม 2545 พิมพ์ครั้งที่สี่ 2549 พิมพ์ครั้งที่ห้า 2551) - ส�ำนวนและภาษิตอังกฤษที่น�ำสัตว์มาเปรียบ (พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง 2544) ปัจจุบัน - อดีตอาจารย์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย