SlideShare a Scribd company logo
1
สุรุจิชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๖. สุรุจิชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๘๙)
ว่าด้วยพระมเหสีของพระเจ้าสุรุจิ
(พระนางสุเมธาสดับพระดารัสของท้าวสักกะแล้วได้บอกคุณคือศีลของตนว่า)
[๑๐๒] ดิฉันเป็นหญิงที่สามีพึงเลี้ยงดู
ซึ่งถูกเชิญมาเป็ นมเหสีของพระเจ้าสุรุจิเป็ นคนแรก พระเจ้าสุรุจิได้นาดิฉันมา
๑๐,๐๐๐ ปีแล้ว
[๑๐๓] ท่านพราหมณ์ ดิฉันนั้นยังไม่รู้สึกเลยว่า
ได้ล่วงเกินพระเจ้าสุรุจิผู้ครอบครองมิถิลานคร แคว้นวิเทหะ ด้วยกาย วาจา
และใจ ไม่ว่าในที่แจ้งหรือในที่ลับเลย
[๑๐๔] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด
เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง
[๑๐๕] ดิฉันเป็นที่รักที่พอพระทัยของพระภัสดา พระมารดาผู้เป็นแม่ผัว
พระราชบิดาผู้เป็นพ่อผัว เป็นที่รักของดิฉัน ท่านพราหมณ์ ท่านทั้ง ๒
นั้นทรงแนะนาดิฉันอยู่จนตลอดพระชนมชีพ
[๑๐๖] ดิฉันนั้นยินดีในการไม่เบียดเบียน
มีปกติประพฤติธรรมโดยส่วนเดียว ตั้งใจมาบารุงท่านเหล่านั้นโดยเคารพ
มิได้เกียจคร้านทั้งกลางคืนและกลางวัน
[๑๐๗] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด
เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง
[๑๐๘] ท่านพราหมณ์ ดิฉันมิได้มีความริษยา หรือความโกรธในหญิง
๑๖,๐๐๐ นาง ผู้เป็นภรรยาร่วมกันเหล่านั้นในกาลไหนๆ เลย
[๑๐๙] ดิฉันยินดีที่จะเกื้อกูลพวกนาง
ไม่มีสักนางหนึ่งเลยซึ่งเป็ นที่เกลียดชังของดิฉัน
ดิฉันช่วยเหลือพวกนางผู้ร่วมสามีกันทุกคนเป็นประจา เหมือนช่วยเหลือตนเอง
[๑๑๐] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด
เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง
[๑๑๑] พวกทาส กรรมกร คนรับใช้ และคนที่อาศัยเลี้ยงชีพเหล่าอื่น
ดิฉันมีความแช่มชื่นเบิกบาน ใช้สอยด้วยเหตุที่เหมาะสมเสมอ
[๑๑๒] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด
เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง
2
[๑๑๓] แม้สมณะและพราหมณ์ทั้งหลาย และแม้พวกวณิพกเหล่าอื่น
ดิฉันมีฝ่ามืออันชุ่ม เลี้ยงดูให้อิ่มหนาสาราญ ด้วยข้าวและน้าเป็ นประจา
[๑๑๔] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด
เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง
[๑๑๕] ดิฉันเข้าจาอุโบสถประกอบด้วยองค์ ๘ ทุกวัน ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า
และ ๘ ค่าแห่งปักษ์ พร้อมทั้งวันปาฏิหาริยปักษ์
สารวมแล้วในศีลทั้งหลายในกาลทุกเมื่อ
[๑๑๖] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด
เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง
(ท้าวสักกะทรงสรรเสริญพระนางสุเมธาว่า)
[๑๑๗] พระราชบุตรีผู้เจริญ ผู้เพียบพร้อมด้วยยศ
คุณธรรมทั้งหลายที่พระนางระบุถึงในพระองค์ มีอยู่ในพระนางทั้งหมด
[๑๑๘] กษัตริย์ผู้สมบูรณ์ด้วยพระชาติ เป็นอภิชาตบุตรผู้เรืองยศ
เป็นพระธรรมราชาแห่งชาววิเทหะ จะอุบัติแด่พระนาง
(พระนางสุเมธาทรงโสมนัส จึงตรัสถามว่า)
[๑๑๙] พระดาบสผู้มีดวงตาแจ่มใส ครองผ้าเปื้อนฝุ่น
ยืนอยู่ในอากาศที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง กล่าววาจาเป็นที่น่าชื่นใจ จับใจดิฉันยิ่งนัก
[๑๒๐] ท่านเป็นเทวดามาจากสวรรค์หรือหนอ
หรือว่าเป็ นฤๅษีผู้มีฤทธิ์มาก ท่านเป็นใครกันแน่มาถึงที่นี้
จงประกาศตนให้ดิฉันทราบ
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๑๒๑]
หมู่เทพมาประชุมพร้อมกันที่สภาชื่อสุธรรมาถวายบังคมท่านผู้ใด
ท่านผู้นั้นคือข้าพเจ้าท้าวสักกสหัสสนัยน์ได้มายังสานักของพระนาง
[๑๒๒] หญิงคนใดในมนุษยโลก ประพฤติธรรมสม่าเสมอ มีปัญญา มีศีล
มีความเคารพสามี นับถือแม่ผัวประดุจเทวดา
[๑๒๓] เทวดาทั้งหลายซึ่งมิใช่มนุษย์ย่อมมาเยือนหญิงมนุษย์
ผู้มีปัญญาดี มีการงานอันสะอาดเช่นนั้น
[๑๒๔] พระนางผู้เจริญ ก็พระนางมีกรรมอันสั่งสมไว้ดีแล้ว
และมีการประพฤติที่ดีงามไว้ในปางก่อน ทรงเกิดในราชสกุลนี้
เป็นหญิงที่มีความสาเร็จตามความปรารถนาทุกสิ่งทุกอย่าง
[๑๒๕] พระราชบุตรี ก็พระนางทรงกาชัยชนะนี้ไว้ได้ในโลกทั้ง ๒
คือทรงเข้าถึงเทวโลก ๑ มีเกียรติยศชื่อเสียงในชีวิตนี้ ๑
3
[๑๒๖] พระนางสุเมธา ขอพระองค์ทรงสุขสาราญ
รักษาธรรมไว้ในพระองค์ตลอดกาลนานเถิด
เรานี้ขอลากลับไปสู่สวรรค์ชั้นไตรทศ การพบพระนางเป็ นที่พอใจของเรา
สุรุจิชาดกที่ ๖ จบ
------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
สุรุจิชาดก
ว่าด้วย พระเจ้าสุรุจิ
พระศาสดา เมื่อทรงอาศัยพระนครสาวัตถี ประทับอยู่ ณ ปุพพาราม
ปราสาทของมิคารมารดา ทรงพระปรารภพร ๘
ประการที่มหาอุบาสิกาวิสาขาได้รับ. ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
เรื่องพิสดารมีว่า วันหนึ่ง นางวิสาขาฟังธรรมกถาในพระเชตวันวิหาร
แล้วกราบทูลนิมนต์พระผู้มีพระภาคเจ้ากับภิกษุสงฆ์ฉันเช้า แล้วกลับเรือน.
พอล่วงราตรีนั้น มหาเมฆอันเป็นไปในทวีปทั้งสี่ยังฝนให้ตก.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกพวกภิกษุมา ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ฝนตกในเชตวันอย่างใด ตกในทวีปทั้งสี่อย่างนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
มหาเมฆกลุ่มสุดท้ายพึงเปียกกายเราได้ ขณะที่ฝนกาลังตก
ก็เสด็จหายไปจากพระเชตวันกับพวกภิกษุด้วยกาลังฤทธิ์
ปรากฏที่ซุ้มประตูของนางวิสาขา.
อุบาสิกายินดีร่าเริงบันเทิงใจว่า อัศจรรย์นัก พ่อเจ้าพระคุณเอ๋ย
พิศวงนัก พ่อมหาจาเริญเอ๋ย เพราะความที่พระตถาคตทรงมีฤทธิ์มาก
ทรงอานุภาพมาก ในเมื่อห้วงน้าเพียงเข่าก็มี เพียงเอวก็มีกาลังไหลไป
เท้าหรือจีวรของภิกษุแม้รูปหนึ่งที่ชื่อว่าเปี ยกไม่มีเลยแหละ
แล้วอังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธองค์เป็นประมุข
ได้กราบทูลข้อนี้กะพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ทรงเสร็จภัตกิจแล้วว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ขอประทานพร ๘
ประการกะพระผู้มีพระภาคเจ้า พระเจ้าข้า.
ตรัสว่า วิสาขา พระตถาคตทั้งหลายผ่านพ้นพรไปแล้วละ.
กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พรใดๆ ควรแก่ข้าพระองค์
และพรใดๆ ไม่มีโทษ ข้าพระองค์ทูลขอพรนั้นๆ พระเจ้าข้า.
ตรัสว่า กล่าวเถิดวิสาขา.
กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ข้าพระองค์ขอปรารถนาเพื่อจะถวายผ้าอาบน้าฝนแก่ภิกษุสงฆ์ตลอดชีพ
ฯลฯ เพื่อจะถวายภัตแก่ภิกษุผู้มา
ฯลฯ ภัตแก่ภิกษุผู้จะไป
4
ฯลฯ ภัตรแก่ภิกษุไข้
ฯลฯ ภัตแก่ภิกษุผู้พยาบาลไข้
ฯลฯ ยาแก่ภิกษุผู้ไข้
ฯลฯ ข้าวยาคูประจา เพื่อจะถวายผ้าอาบแด่ภิกษุณีสงฆ์.
พระศาสดาตรัสถามว่า วิสาขา เธอเห็นอานาจประโยชน์อะไรถึงขอพร
๘ ประการกะพระตถาคต เมื่อนางกราบทูลอานิสงส์ของพร ๘ ประการแล้ว
ตรัสว่า ดีละ ดีละ วิสาขา เธอเห็นอานิสงส์เหล่านี้ ขอพร ๘ ประการ
แล้วประทานพร ๘ ประการ ด้วยพระดารัสว่า วิสาขา เราอนุญาตพร ๘
ประการแก่เธอ แล้วทรงอนุโมทนาเสร็จเสด็จหลีกไป.
อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อพระศาสดาเสด็จประทับอยู่ ณ ปุพพาราม
พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนาในธรรมสภาว่า
ผู้มีอายุทั้งหลาย
มหาอุบาสิกาวิสาขาแม้ดารงในอัตภาพมาตุคามก็ยังได้พร ๘
ประการจากสานักทศพล โอ! นางมีคุณมาก.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อกี้พวกเธอสนทนากันด้วยเรื่องอะไร
เมื่อพวกภิกษุพากันกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นที่วิสาขาได้รับพรในสานักของเรา
แม้ในครั้งก่อนก็เคยได้รับแล้วเหมือนกัน. ทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล
พระราชาทรงพระนามสุรุจิ เสวยราชสมบัติในพระนครมิถิลา
ทรงได้พระราชโอรส ก็ได้ทรงขนานพระนามพระราชโอรสนั้นว่า สุรุจิกุมาร.
พระกุมารทรงเจริญวัย ทรงดาริว่า เราจักเรียนศิลปะในเมืองตักกสิลา
เสด็จไปประทับนั่งพักที่ศาลาใกล้ประตูพระนคร.
ฝ่ายพระราชโอรสของพระเจ้าพาราณสี
ทรงพระนามพรหมทัตกุมาร ก็เสด็จไปในที่นั้นเหมือนกัน
ประทับนั่งพักเหนือแผ่นกระดานที่พระสุรุจิกุมารประทับนั่งนั้นแล.
พระกุมารทั้งสองทรงไต่ถามกันแล้ว มีความสนิทสนมกัน
ไปสู่สานักอาจารย์ร่วมกันทีเดียว ทรงให้ค่าคานับอาจารย์ ตั้งต้นเรียนศิลปะ
ไม่ช้านานนักต่างก็สาเร็จศิลปะ พากันอาลาอาจารย์
เสด็จร่วมทางกันมาหน่อยหนึ่ง ประทับยืนที่ทางสองแพร่ง ทรงสวมกอดกันไว้
ต่างทรงกระทากติกากัน เพื่อจะทรงรักษามิตรธรรมให้ยั่งยืนไปว่า
ถ้าข้าพเจ้ามีโอรส ท่านมีพระธิดา หรือท่านมีพระโอรส ข้าพเจ้ามีธิดา
เราจักกระทาอาวาหมงคลและวิวาหมงคล แก่โอรสและธิดาของเรานั้น.
5
ครั้นกุมารทั้งสองเสวยราชสมบัติ พระสุรุจิมหาราชมีพระโอรส
พระประยูรญาติขนานพระนามพระโอรสนั้นว่าสุรุจิกุมาร.
พระพรหมทัตมีพระธิดา พระประยูรญาติขนานนามพระธิดานั้นว่าสุเมธา.
พระกุมารสุรุจิทรงจาเริญวัยเสด็จไปเมืองตักกสิลา ทรงเรียนศิลปะเสร็จเสด็จมา.
พระราชบิดามีพระประสงค์จะอภิเษกพระกุมารในราชสมบัติ
ทรงพระดาริว่า ข่าวว่า พระเจ้าพาราณสีพระสหายของเรามีพระธิดา
เราจักสถาปนานางนั้นแลให้เป็ นอัครมเหสีของลูกเรา
ทรงประทานบรรณาการเป็นอันมาก
ทรงส่งพวกอามาตย์ไปเพื่อต้องการพระนางนั้น.
ขณะที่พวกอามาตย์เหล่านั้นยังมาไม่ถึง
พระเจ้าพาราณสีตรัสถามพระเทวีว่า นางผู้เจริญ
อะไรเป็ นทุกข์อย่างยิ่งของมาตุคาม.
พระเทวีกราบทูลว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อม ความหึงหญิงที่ร่วมผัว
เป็นความทุกข์ของมาตุคามเจ้าค่ะ.
ตรัสว่า นางผู้เจริญ ถ้าเช่นนั้น
เราต้องช่วยกันเปลื้องสุเมธาเทวีลูกหญิงของเราจากทุกข์นั้น
เราจักให้แก่ผู้ที่จักครองเธอแต่นางเดียวเท่านั้น.
เมื่ออามาตย์เหล่านั้นพากันมาถึงทูลรับพระนามของพระนางแล้ว
ท้าวเธอจึงตรัสว่า ดูราพ่อทั้งหลาย อันที่จริง
เมื่อก่อนข้าพเจ้ากระทาปฏิญาณไว้กับพระสหายของข้าพเจ้า ถึงกระนั้น
ข้าพเจ้าก็มิได้ประสงค์เลยที่ส่งนางเข้าไปภายในกลุ่มสตรี
เราประสงค์ที่ให้นางแก่ผู้ที่จะครองนางผู้เดียวเท่านั้น.
อามาตย์เหล่านั้นพากันส่งข่าวสู่สานักพระราชา พระราชาตรัสว่า
ราชสมบัติของเราใหญ่หลวง มิถิลานครมีอาณาเขตถึง ๗ โยชน์
กาหนดแห่งราชัยถึง ๓๐๐ โยชน์ อย่างต่าสุด ควรจะได้สตรี ๑๖,๐๐๐ นาง
แล้วมิได้ทรงบอกไป.
แต่พระกุมารสุรุจิทรงสดับรูปสมบัติของพระนางสุเมธาแล้ว
ก็ติดพระหทัยด้วยการเกี่ยวข้องโดยสดับ
จึงส่งกระแสพระดารัสถึงพระราชบิดามารดาว่า
หม่อมฉันจักครองนางผู้เดียวเท่านั้น หม่อมฉันไม่ต้องการกลุ่มสตรี
โปรดเชิญนางมาเถิด.
พระราชบิดามารดาไม่ทรงขัดพระหทัยของพระกุมาร
ทรงส่งทรัพย์เป็ นอันมาก
เชิญพระนางมาด้วยบริวารขบวนใหญ่แล้วทรงอภิเษกร่วมกัน
กระทาพระนางให้เป็ นพระมเหสีของพระกุมาร
6
พระกุมารนั้นทรงพระนามว่าสุรุจิมหาราช ทรงครองราชสมบัติโดยธรรม
ทรงอยู่ร่วมกับพระนางด้วยความรัก.
ก็พระนางประทับอยู่ในพระราชวังของท้าวเธอตลอด ๑๐,๐๐๐
ปีไม่ทรงได้พระโอรสหรือพระธิดาเลย.
ครั้งนั้น ชาวเมืองประชุมกันชวนกันร้องขานขึ้นในท้องพระลานหลวง.
เมื่อท้าวเธอดารัสว่า นี่อะไรกัน ก็กราบทูลว่า
โทษของพระราชาไม่มีพระเจ้าข้า
แต่พระโอรสผู้จะสืบวงศ์ของพระองค์ยังไม่มีเลย
พระองค์ทรงมีพระเทวีพระนางเดียว ธรรมดาราชสกุลต้องมีหญิง ๑๖,๐๐๐
นางเป็ นอย่างต่าที่สุด พระองค์โปรดรับกลุ่มสตรีเถิดพระเจ้าข้า
เผื่อบรรดาหญิงเหล่านั้นจักมีสักคนหนึ่งที่มีบุญ จักได้พระโอรส
ถูกท้าวเธอตรัสห้ามเสียว่า พ่อคุณเอ๋ย พากันพูดอะไร เราได้ปฏิญาณไว้แล้วว่า
จักไม่ครองหญิงอื่นเลย จึงได้เชิญหญิงนี้มาได้ เราไม่มุสาวาทได้
เราไม่ต้องการกลุ่มแห่งสตรี เลยพากันหลีกไป.
พระนางสุเมธาทรงสดับพระดารัสนั้น ดาริว่า
พระราชามิได้ทรงนาสตรีอื่นๆ มาเลย เพราะทรงพระดารัสตรัสจริงแน่นอน
แต่เรานี่แหละจักหามาถวายแก่พระองค์
ทรงดารงในตาแหน่งพระมเหสีเช่นพระมารดาของพระราชา จึงทรงนามาซึ่งสตรี
๔,๐๐๐ นาง คือสาวน้อยเชื้อกษัตริย์ ๑,๐๐๐ เชื้อขุนนาง ๑,๐๐๐ เชื้อเศรษฐี
๑,๐๐๐ นางระบาผู้ชานาญในกระบวนฟ้ อนราทุกอย่าง ๑,๐๐๐
คัดที่พอพระหฤทัยของพระนาง.
แม้พวกนั้นพากันอยู่ในราชสกุลตั้ง ๑๐,๐๐๐ ปี
ก็ไม่ได้พระโอรสหรือธิดาดุจกัน.
พระนางคัดพวกอื่นๆ มาถวายคราวละ ๔,๐๐๐ ถึงสามคราว.
แม้พวกนั้นก็ไม่ได้พระโอรสพระธิดา. รวมเป็นหญิงที่พระนางนามาถวาย
๑๖,๐๐๐ นาง. เวลาล่วงไป ๔๐,๐๐๐ ปี รวมกับเวลาที่ทรงอยู่กับพระนางองค์เดียว
๑๐,๐๐๐ ปี เป็น ๕๐,๐๐๐ ปี.
ครั้งนั้นชาวเมืองประชุมชวนกันร้องขานขึ้นอีก เมื่อท้าวเธอตรัสว่า
เรื่องอะไรกันเล่า พากันกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ
พระองค์โปรดบังคับพระเทวีทั้งหลาย เพื่อปรารถนาพระโอรสเถิดพระเจ้าข้า.
พระราชาทรงรับว่า ดีแล้ว ตรัส (กะพระเทวี) ว่าพวกเธอปรารถนาบุตรเถิด.
ตั้งแต่นั้นพระเทวีเหล่านั้น เมื่อปรารถนาพระโอรส พากันนอบน้อมเทวดาต่างๆ
พากันบาเพ็ญวัตรต่างๆ พระโอรสก็ไม่อุบัติอยู่นั่นเอง.
ครั้งนั้น พระราชาตรัสกะพระนางสุเมธาว่า นางผู้เจริญ
เชิญเธอปรารถนาพระโอรสเถิด. พระนางรับพระดารัสว่า สาธุแล้ว ครั้นถึงดิถีที่
7
๑๕ ทรงสมาทานอุโบสถ ประทับนั่งเหนือพระแท่นอันสมควร
ทรงระลึกถึงศีลทั้งหลายอยู่ในพระตาหนักอันทรงสิริ.
พระเทวีที่เหลือพากันประพฤติวัตรอย่างแพะอย่างโคต่างไปสู่พระอุทยาน.
ด้วยเดชแห่งศีลของพระนางสุเมธา พิภพของท้าวสักกะหวั่นไหว.
ท้าวสักกะทรงนึกว่า นางสุเมธาปรารถนาพระโอรส เราต้องให้โอรสแก่เธอ
แต่ว่าเราไม่อาจที่จะให้ตามมีตามได้ ต้องเลือกเฟ้ นโอรสที่สมควรแก่เธอ
เมื่อทรงเลือกเฟ้ นก็ทรงเห็นเทพบุตรนฬการ.
แท้จริง เทพบุตรนฬการนั้นเป็นสัตว์ถึงพร้อมด้วยบุญ
เมื่ออยู่ในนครพาราณสี ในอัตภาพครั้งก่อน ถึงเวลาหว่านข้าวไปไร่
เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่ง ส่งพวกทาสและกรรมกรไปหว่านกัน
ตนเองกลับพาพระปัจเจกพุทธเจ้าไปสู่เรือน ให้ฉันแล้วนิมนต์มาที่ฝั่งคงคา
ร่วมมือกันกับลูกชายสร้างบรรณศาลา เอาไม้มะเดื่อเป็นเชิงฝา เอาไม้อ้อเป็นฝา
ผูกประตู ทาที่จงกรม นิมนต์พระปัจเจกพุทธเจ้าอยู่ ณ
บรรณศาลานั้นแหละตลอดไตรมาส ท่านจาพรรษาแล้ว
พ่อลูกทั้งคู่ก็นิมนต์ให้ครองไตรจีวร แล้วส่งท่านไป.
ด้วยทานองนี้เองได้นิมนต์พระปัจเจกพุทธเจ้าถึง ๗ องค์ ให้อยู่ ณ
บรรณศาลานั้น แล้วให้ครองไตรจีวร. บางอาจารย์กล่าวว่า
พ่อลูกทั้งคู่เป็ นช่างจักสานกาลังขนเอาไม้ไผ่ที่ฝั่งคงคา
เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าจึงพากันกระทาเช่นนั้น ดังนี้ก็มี.
พ่อลูกทั้งคู่นั้น ครั้นทากาลกิริยาบังเกิดในภพดาวดึงส์
เสวยอิสริยะแห่งเทวดาอันใหญ่ กลับไปกลับมาอยู่ในกามภพทั้ง ๖ ชั้น.
เทพบุตรทั้งคู่นั้นปรารถนาจะจุติจากชั้นนั้นไปบังเกิดในเทวโลกชั้นสูง.
ท้าวสักกะทรงทราบความเป็ นอย่างนั้น
เสด็จไปถึงประตูวิมานของเทพบุตรองค์หนึ่งในสององค์นั้น
ตรัสกับเทพบุตรนั้นผู้มาบังคมแล้วยืนอยู่ว่า ดูราท่านผู้นิรทุกข์
ควรที่ท่านจะไปสู่มนุษยโลก.
เธอทูลว่า ข้าแต่มหาราช โลกมนุษย์น่ารังเกียจสกปรก
ฝูงชนที่ตั้งอยู่ในโลกมนุษย์นั้น ต่างทาบุญมีให้ทานเป็นต้น ปรารถนาเทวโลก
ข้าพระองค์จักไปในโลกมนุษย์นั้นทาอะไร.
ตรัสว่า ผู้นิรทุกข์
ท่านจักได้บริโภคทิพยสมบัติที่เคยบริโภคในเทวโลกในโลกมนุษย์
จักได้อยู่ในปราสาทแก้วสูง ๒๕ โยชน์ ยาว ๙ โยชน์ กว้าง ๘ โยชน์
เชิญท่านรับคาเถิด. เธอจึงรับ.
ท้าวสักกะทรงถือปฏิญญาของเธอแล้ว
เสด็จไปสู่อุทยานด้วยแปลงเพศเป็นฤาษี จงกรมในอากาศเบื้องบนสตรีเหล่านั้น
8
ทรงสาแดงพระองค์ให้ปรากฏ ตรัสว่า
อาตมภาพจะให้โอรสผู้ประเสริฐแก่นางคนไหนเล่า
นางคนไหนจักรับโอรสผู้ประเสริฐ.
สตรี ๑,๐๐๐ นางต่างยอหัตถ์วิงวอนว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ
โปรดให้แก่ดิฉันๆ.
ทีนั้นท้าวสักกะก็ตรัสว่า อาตมภาพจะให้โอรสแก่หมู่สตรีที่มีศีล
พวกเธอมีศีลอย่างไร มีอาจาระอย่างไรเล่า.
สตรีเหล่านั้นพากันลดมือที่ยกขึ้นลงหมดกล่าวว่า
ถ้าพระคุณเจ้าปรารถนาจะให้แก่สตรีผู้มีศีล
เชิญไปสู่สานักของพระนางสุเมธาเถิด.
ท้าวเธอก็เหาะไปทางอากาศนั้นเอง
ประทับยืนตรงช่องพระแกลใกล้พระทวารปราสาทของพระนาง. ครั้งนั้น
สตรีเหล่านั้นพากันกราบทูลแด่พระนางว่า ทูลกระหม่อมแม่เจ้าขา
เชิญพระแม่เจ้าเสด็จมาเถิด
เทวราชพระองค์หนึ่งประสงค์จะถวายพระโอรสผู้ประเสริฐแด่พระแม่เจ้า
เหาะมาทางอากาศกาลังสถิตที่ช่องพระแกลเจ้าข้า.
พระนางเสด็จไปด้วยท่าทางอันตระหนัก ทรงเปิดพระแกลตรัสว่า
ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ได้ยินว่า พระคุณเจ้าจะให้โอรสผู้ประเสริฐแก่สตรีผู้มีศีล
เป็นความจริงหรือ พระเจ้าข้า. ท้าวเธอตรัสว่า ดูก่อนพระเทวี
ขอถวายพระพรเป็นความจริง. พระนางตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น
ขอพระคุณเจ้าโปรดให้แก่ดิฉัน. ตรัสถามว่า ก็ศีลของบพิตรเป็ นอย่างไร เชิญตรัส
ถ้าชอบใจอาตมภาพ อาตมภาพจักถวายพระโอรสผู้ประเสริฐ.
พระนางทรงสดับพระดารัสของท้าวเธอแล้วตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น
เชิญพระคุณเจ้าค่อยสดับเถิด.
เมื่อจะทรงแถลงศีลคุณของตน ได้ทรงภาษิตพระคาถา ๑๕ คาถาว่า
ดิฉันถูกเชิญมา
เป็นพระอัครมเหสีคนแรกของพระเจ้าสุรุจิตลอดเวลาหมื่นปี
พระเจ้าสุรุจินาดิฉันมาผู้เดียว ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ดิฉันนั้นมิได้รู้สึกเลยว่า
ได้ล่วงเกินพระเจ้าสุรุจิผู้เป็นจอมประชาชนชาววิเทหรัฐครองพระนครมิถิลา
ด้วยกาย วาจาหรือใจ ทั้งในที่แจ้งหรือในที่ลับเลย ข้าแต่พระฤาษี
ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ
ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ดิฉันเป็ นที่พอใจของพระภัสดา
พระชนนีและพระชนกของพระภัสดาก็เป็นที่รักของดิฉัน
พระองค์ท่านเหล่านั้นทรงแนะนาดิฉันตลอดเวลาที่พระองค์ท่านยังทรงพระชนมชี
9
พอยู่ ดิฉันนั้นยินดีในความไม่เบียดเบียน มีปกติประพฤติธรรมโดยส่วนเดียว
มุ่งบาเรอพระองค์ท่านเหล่านั้นโดยเคารพ ไม่เกียจคร้านทั้งกลางคืนกลางวัน
ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด
เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์
ความริษยาหรือความโกรธในสตรีผู้เป็ นราชเทวีร่วมกัน ๑๖,๐๐๐ คน
มิได้มีแก่ดิฉันในกาลไหนๆ เลย
ดิฉันชื่นชมด้วยความเกื้อกูลแก่พระราชเทวีเหล่านั้น
และคนไหนที่จะไม่เป็นที่รักของดิฉันไม่มีเลย
ดิฉันอนุเคราะห์หญิงผู้ร่วมสามีทั่วกันทุกคน ในกาลทุกเมื่อ
เหมือนอนุเคราะห์ตนฉะนั้น ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตว์จริงนี้
ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง.
ดิฉันเลี้ยงดูทาสกรรมกร
ซึ่งจะต้องเลี้ยงดูและชนเหล่าอื่นผู้อาศัยเลี้ยงชีวิต โดยเหมาะสมกับหน้าที่
ดิฉันมีอินทรีย์อันเบิกบานในกาลทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤาษี
ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ
ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง.
ดิฉันมีฝ่ามืออันชุ่มเลี้ยงดูสมณพราหมณ์และวณิพกเหล่าอื่น
ให้อิ่มหนาสาราญด้วยข้าวและน้าทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤาษี
ด้วยการกล่าวคาสัตว์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ
ขอศีรษะของดิฉันจงแตกเป็น ๗ เสี่ยง.
ดิฉันเข้าอยู่ประจาอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ตลอดดิถีที่
๑๔, ๑๕ และดิถีที่ ๘ แห่งปักษ์และตลอดปาฏิหาริยปักษ์
ดิฉันสารวมแล้วในศีลทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้
ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง.
ธรรมดาว่าการประมาณของพระนางซึ่งแม้จะพรรณนา ๑๐๐ คาถา
๑,๐๐๐ คาถาก็หาเพียงพอไม่ ด้วยประการฉะนี้.
ในเวลาที่พระนางพรรณนาคุณของตนได้ด้วยพระคาถา ๑๕ เท่านั้น
ท้าวสักกะก็ตัดพระดารัสของพระนางเสีย เพราะท้าวเธอมีกิจที่ต้องกระทามาก.
เมื่อจะทรงสรรเสริญพระนางว่าคุณของพระนางจริงทั้งนั้น จึงตรัส ๒
คาถาว่า
ดูก่อนราชบุตรี ผู้เรืองยศงดงาม คุณอันเป็ นธรรมเหล่านั้นมีทุกอย่าง
พระราชโอรสผู้เป็ นกษัตริย์ สมบูรณ์ด้วยพระชาติ เป็นอภิชาตบุตร
เรืองพระยศเป็ นธรรมราชาแห่งชนชาววิเทหะ จงอุบัติแก่พระนาง.
พระนางทรงสดับพระดารัสของท้าวเธอแล้ว ทรงโสมนัส
10
เมื่อจะตรัสถามท้าวเธอได้ทรงภาษิต ๒ พระคาถาว่า
ท่านผู้มีดวงตาน่ายินดี ทรงผ้าคลุกธุลี สถิตอยู่บนเวหาอันไม่มีสิ่งใดกั้น
ได้กล่าววาจาอันเป็นที่พอใจจับใจของดิฉัน ท่านเป็นเทวดามาจากสวรรค์
เป็ นฤาษีผู้มีฤทธิ์มาก หรือว่าเป็ นใครมาถึงที่นี้
ขอท่านจงกล่าวความจริงให้ดิฉันทราบด้วย.
ท้าวสักกะ เมื่อจะตรัสบอกแก่พระนาง จึงได้ตรัส ๖ พระคาถาว่า
หมู่เทวดามาประชุมกันที่สุธรรมาสภา ย่อมกราบไหว้ท้าวสักกะองค์ใด
ข้าพเจ้าเป็ นท้าวสักกะองค์นั้น มีดวงตาพันหนึ่งมายังสานักของท่าน
หญิงเหล่าใดในเทวโลกเป็ นผู้มีปกติประพฤติสม่าเสมอ มีปัญญา มีศีล
มีพ่อผัวแม่ผัวเป็นเทวดา ยาเกรงสามี
เทวดาทั้งหลายผู้มิใช่มนุษย์มาเยี่ยมหญิงเช่นนั้น ผู้มีปัญญา มีกรรมอันสะอาด
เป็นหญิงมนุษย์
ดูก่อนนางผู้เจริญ ท่านเกิดในราชสกุลนี้
พรั่งพร้อมไปด้วยสิ่งที่น่าปรารถนาทุกอย่างด้วยสุจริตธรรมที่ท่านประพฤติดีแล้วใ
นปางก่อน ดูก่อนพระราชบุตรี ก็แหละข้อนี้เป็นชัยชนะในโลกทั้งสองของท่าน
คือการอุบัติในเทวโลก และเกียรติในชีวิตนี้
ดูก่อนพระนางสุเมธา ขอให้พระนางจงมีสุข ยั่งยืนนาน
จงรักษาธรรมไว้ในตนให้ยั่งยืนเถิด ข้าพเจ้านี้ขอลาไปสู่ไตรทิพย์
การพบเห็นท่านเป็ นการพบเห็นที่ดูดดื่มใจของข้าพเจ้ายิ่งนัก.
ท้าวสักกะประทานโอวาทแก่พระนางว่า
ก็กิจที่ต้องกระทาของข้าพเจ้ามีอยู่ในเทวโลก เหตุนั้น ข้าพเจ้าต้องไป
ท่านจงไม่ประมาทเถิดนะ แล้วเสด็จหลีกไป.
ครั้นถึงเวลาใกล้รุ่ง
นฬการเทพบุตรก็จุติถือปฏิสนธิในพระครรโภทรของพระนาง.
พระนางทรงทราบความที่พระองค์ทรงครรภ์กราบทูลแก่พระราชา
พระราชาประทานเครื่องผดุงครรภ์ ถ้วนกาหนดทศมาส
พระนางก็ประสูติพระโอรส
พระประยูรญาติทรงขนานพระนามพระโอรสว่ามหาปนาท.
ชาวแคว้นทั้งสอง (อังคะและมคธ)
พากันทิ้งเหรียญกระษาปณ์ลงที่ท้องพระลานหลวงคนละ ๑ กระษาปณ์
เพื่อให้พระราชาทรงทราบว่า เป็ นค่าน้านมของพระลูกเจ้าแห่งชาวเรา
เหรียญกระษาปณ์ได้เป็นกองใหญ่โต. แม้พระราชาจะตรัสห้าม
ก็พากันกราบทูลว่า
จักได้เป็นทุนรอนในเวลาที่พระลูกเจ้าของพวกข้าพระองค์ทรงพระเจริญ
ต่างไม่รับคืนพากันหลีกไป.
11
พระกุมารทรงพระเจริญด้วยบริวารมากมาย ครั้นทรงถึงวัยมีพระชนม์
๑๖ พรรษา ก็ทรงลุความสาเร็จในศิลปะทุกประการ.
พระราชาทรงตรวจดูพระชนม์ของพระโอรสแล้ว ตรัสกับพระเทวีว่า นางผู้เจริญ
ในเวลาอภิเษกลูกของเราในราชสมบัติ
จักสร้างปราสาทอันน่ารื่นรมย์ให้เธอแล้วถึงทาการอภิเษก.
พระนางรับพระโองการว่า ดีแล้วพระเจ้าคะ.
พระราชารับสั่งให้หาอาจารย์ในวิชาพื้นที่มา ตรัสว่า
พ่อทั้งหลายจงคุมช่างให้สร้างปราสาทเพื่อลูกของเรา ณ ที่ไม่ห่างวังของเรา
เราจักอภิเษกลูกของเรานั้นในราชสมบัติ. พวกอาจารย์ในวิชาพื้นที่เหล่านั้น
รับพระโองการว่า ขอเดชะใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม
ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายขอรับใส่เกล้าฯ แล้วพากันตรวจภูมิประเทศ.
ขณะนั้นพิภพของท้าวสักกะสาแดงอาการร้อน
ท้าวเธอทรงทราบเหตุนั้นตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมา ตรัสสั่งว่า ไปเถิดพ่อเอ๋ย
จงสร้างปราสาทแก้วยาว ๙ โยชน์กว้าง ๘ โยชน์สูง ๒๕
โยชน์ให้แก่มหาปนาทราชกุมารเถิด.
วิสสุกรรมเทพบุตรแปลงเพศเป็ นช่างไปสู่สานักของพวกช่าง
แล้วส่งพวกช่างนั้นไปเสียด้วยคาว่า พวกคุณกินข้าวเช้าแล้วค่อยมาเถิด
แล้วประหารแผ่นดินด้วยท่อนไม้.
ทันใดนั้นเอง ปราสาท ๗ ชั้นมีขนาดดังกล่าวแล้วก็ผุดขึ้น.
มงคล ๓ ประการ คือ มงคลฉลองปราสาท
มงคลอภิเษกสมโภชเศวตฉัตร
และอาวาหมงคลของพระกุมารมหาปนาทได้มีคราวเดียวกันแล.
ชาวแคว้นทั้งสองพากันประชุมในสถานมงคล ให้กาลเวลาล่วงไปถึง ๗
ปี ด้วยการมหรสพฉลองมงคล. พระราชามิได้ทรงบอกให้พวกนั้นเลิกงานเลย.
สิ่งของทั้งหมดเป็นต้นว่า ผ้าเครื่องประดับของเคี้ยวของกินของชนเหล่านั้น
ได้เป็นสิ่งของของราชสกุลทั้งนั้นเลย.
ครั้นล่วง ๗ ปี ฝูงชนเหล่านั้นพากันร้องทุกข์
พระสุรุจิมหาราชตรัสถามว่า นี่อะไรกันเล่า ก็พากันกราบทูลว่า
ข้าแต่พระมหาราช เมื่อพวกข้าพระองค์พากันสมโภชการมงคล ๗ ปีผ่านไปแล้ว
ที่สุดของงานมงคลจะมีเมื่อไรเล่า พระเจ้าข้า.
ลาดับนั้น พระราชาตรัสว่า ตลอดกาลถึงเท่านี้ ลูกเราไม่เคยหัวเราะเลย
เมื่อใดเธอหัวเราะ เมื่อนั้นพวกเจ้าทั้งหลายจงพากันไปเถิด.
ครั้งนั้น มหาชนเที่ยวตีกลองป่าวร้อง
เชิญนักฟ้ อนของพระเจ้ามหาปนาทนั้นประชุม นักฟ้ อน ๖,๐๐๐
พากันมาประชุมแบ่งกันเป็น ๗ ส่วน
12
พากันราฟ้ อนก็มิอาจที่จะให้พระราชาทรงพระสรวลได้ ทั้งนี้
เพราะความที่ท้าวเธอเคยทอดพระเนตรกระบวนฟ้ อนราอันเป็ นทิพย์มาช้านาน
การฟ้ อนของนักฟ้ อนเหล่านั้น จึงมิได้เป็ นที่ต้องพระหทัย.
ครั้งนั้นจอมนักฟ้ อน ๒ นาย คือกัณฑกรรณและปัณฑุกรรณคิดว่า
พวกเราจะให้พระราชาทรงพระสรวลให้ได้ พากันเข้าไปในท้องพระลาน.
บรรดาจอมนักฟ้ อนทั้งสองคนนั้น
กัณฑกรรณให้ปลูกต้นมะม่วงใหญ่ชื่ออตุละ
ที่พระราชทวารแล้วขว้างกลุ่มด้ายขึ้นไปให้คล้องที่กิ่งของต้นมะม่วงนั้น
แล้วไต่ขึ้นไปตามเส้นด้าย. ได้ยินว่า
ไม้มะม่วงชื่ออตุละเป็ นต้นมะม่วงของท้าวเวสวัณ ครั้งนั้น
พวกทาสของท้าวเวสวัณก็พากันตัดกิ่งน้อยใหญ่ของต้นมะม่วงนั้นโค่นลงมา
นักฟ้ อนที่เหลือเก็บกิ่งเหล่านั้นกองไว้แล้วรดด้วยน้า
กัณฑกรรณนั้นนุ่งห่มผ้ากรองดอกไม้ลุกขึ้นฟ้ อนราไป.
พระเจ้ามหาปนาททอดพระเนตรเห็นเขาแล้ว ก็มิได้ทรงพระสรวลเลย.
ปัณฑุกรรณได้ทาเชิงตะกอนไม้ในท้องพระลานหลวงแล้วเดินเข้าสู่กอ
งไฟกับบริษัทของตน ครั้นไฟดับแล้ว นักฟ้ อนทั้งหลายเอาน้ารดเชิงตะกอน
ปัณฑุกรรณนั้นกับบริษัทนุ่งห่มผ้ากรองดอกไม้ลุกขึ้นฟ้ อนรา.
พระราชาทรงทอดพระเนตรการนั้นแล้ว
คงมิได้ทรงพระสรวลอยู่นั่นเอง.
เมื่อสุดฝีมือที่จะให้พระราชาพระองค์นั้นทรงพระสรวล
ฝูงคนก็พากันระส่าระสายด้วยประการฉะนี้.
ท้าวสักกะทรงทราบเหตุนั้นจึงทรงส่งนักฟ้ อนเทวดาไปด้วยพระเทวบัญชาว่า
ไปเถิดพ่อเอ๋ย จงทาให้พระมหาปนาทะทรงพระสรวลเสด็จอุฎฐาการจงได้เถิด.
เทพนักฟ้ อนนั้นมายืนอยู่บนอากาศในท้องพระลานหลวง
แสดงขบวนฟ้ อนที่เรียกว่า อุปัฑฒังคะ. มือข้างเดียวเท่านั้น เท้าก็ข้างเดียว
ตาก็ข้างเดียว แม้คิ้วก็ข้างเดียว ฟ้ อนไปร่ายราไป
เคลื่อนไหวไปที่เหลือคงนิ่งไม่หวั่นไหวเลย.
พระเจ้ามหาปนาทะทอดพระเนตรเห็นการนั้นแล้ว
ทรงพระสรวลหน่อยหนึ่ง.
แต่มหาชนเมื่อหัวเราะก็สุดที่จะกลั้นความขบขันไว้
สุดที่จะดารงสติไว้ได้ ปล่อยอวัยวะหมดเลย ล้มกลิ้งไปในท้องพระลานหลวง.
มงคลเป็นอันเลิกได้ตอนนั้น.
ข้อความที่เหลือในเรื่องนี้ พรรณนาไว้ในมหาปนาทชาดก
พระราชามหาปนาททรงกระทาบุญถวายทานเป็นต้น
เมื่อสิ้นพระชนม์ก็เสด็จไปสู่เทวโลกนั่นเอง.
13
พระศาสดาทรงนาธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า
มหาปนาท ในครั้งนั้นได้มาเป็น ภัททชิ
สุเมธาเทวีได้มาเป็น นางวิสาขา
วิสสุกรรมได้มาเป็น พระอานนท์
ส่วนท้าวสักกะได้มาเป็ น เราตถาคต แล.
จบอรรถกถาสุรุจิชาดกที่ ๖
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 489 สุรุจิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
Sarod Paichayonrittha
 
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
maruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 489 สุรุจิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
460 ยุธัญชยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๓. จูฬรถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

489 สุรุจิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 สุรุจิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๖. สุรุจิชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๘๙) ว่าด้วยพระมเหสีของพระเจ้าสุรุจิ (พระนางสุเมธาสดับพระดารัสของท้าวสักกะแล้วได้บอกคุณคือศีลของตนว่า) [๑๐๒] ดิฉันเป็นหญิงที่สามีพึงเลี้ยงดู ซึ่งถูกเชิญมาเป็ นมเหสีของพระเจ้าสุรุจิเป็ นคนแรก พระเจ้าสุรุจิได้นาดิฉันมา ๑๐,๐๐๐ ปีแล้ว [๑๐๓] ท่านพราหมณ์ ดิฉันนั้นยังไม่รู้สึกเลยว่า ได้ล่วงเกินพระเจ้าสุรุจิผู้ครอบครองมิถิลานคร แคว้นวิเทหะ ด้วยกาย วาจา และใจ ไม่ว่าในที่แจ้งหรือในที่ลับเลย [๑๐๔] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง [๑๐๕] ดิฉันเป็นที่รักที่พอพระทัยของพระภัสดา พระมารดาผู้เป็นแม่ผัว พระราชบิดาผู้เป็นพ่อผัว เป็นที่รักของดิฉัน ท่านพราหมณ์ ท่านทั้ง ๒ นั้นทรงแนะนาดิฉันอยู่จนตลอดพระชนมชีพ [๑๐๖] ดิฉันนั้นยินดีในการไม่เบียดเบียน มีปกติประพฤติธรรมโดยส่วนเดียว ตั้งใจมาบารุงท่านเหล่านั้นโดยเคารพ มิได้เกียจคร้านทั้งกลางคืนและกลางวัน [๑๐๗] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง [๑๐๘] ท่านพราหมณ์ ดิฉันมิได้มีความริษยา หรือความโกรธในหญิง ๑๖,๐๐๐ นาง ผู้เป็นภรรยาร่วมกันเหล่านั้นในกาลไหนๆ เลย [๑๐๙] ดิฉันยินดีที่จะเกื้อกูลพวกนาง ไม่มีสักนางหนึ่งเลยซึ่งเป็ นที่เกลียดชังของดิฉัน ดิฉันช่วยเหลือพวกนางผู้ร่วมสามีกันทุกคนเป็นประจา เหมือนช่วยเหลือตนเอง [๑๑๐] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง [๑๑๑] พวกทาส กรรมกร คนรับใช้ และคนที่อาศัยเลี้ยงชีพเหล่าอื่น ดิฉันมีความแช่มชื่นเบิกบาน ใช้สอยด้วยเหตุที่เหมาะสมเสมอ [๑๑๒] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง
  • 2. 2 [๑๑๓] แม้สมณะและพราหมณ์ทั้งหลาย และแม้พวกวณิพกเหล่าอื่น ดิฉันมีฝ่ามืออันชุ่ม เลี้ยงดูให้อิ่มหนาสาราญ ด้วยข้าวและน้าเป็ นประจา [๑๑๔] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง [๑๑๕] ดิฉันเข้าจาอุโบสถประกอบด้วยองค์ ๘ ทุกวัน ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า และ ๘ ค่าแห่งปักษ์ พร้อมทั้งวันปาฏิหาริยปักษ์ สารวมแล้วในศีลทั้งหลายในกาลทุกเมื่อ [๑๑๖] ฤๅษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวเท็จ ขอศีรษะจงแตก ๗ เสี่ยง (ท้าวสักกะทรงสรรเสริญพระนางสุเมธาว่า) [๑๑๗] พระราชบุตรีผู้เจริญ ผู้เพียบพร้อมด้วยยศ คุณธรรมทั้งหลายที่พระนางระบุถึงในพระองค์ มีอยู่ในพระนางทั้งหมด [๑๑๘] กษัตริย์ผู้สมบูรณ์ด้วยพระชาติ เป็นอภิชาตบุตรผู้เรืองยศ เป็นพระธรรมราชาแห่งชาววิเทหะ จะอุบัติแด่พระนาง (พระนางสุเมธาทรงโสมนัส จึงตรัสถามว่า) [๑๑๙] พระดาบสผู้มีดวงตาแจ่มใส ครองผ้าเปื้อนฝุ่น ยืนอยู่ในอากาศที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง กล่าววาจาเป็นที่น่าชื่นใจ จับใจดิฉันยิ่งนัก [๑๒๐] ท่านเป็นเทวดามาจากสวรรค์หรือหนอ หรือว่าเป็ นฤๅษีผู้มีฤทธิ์มาก ท่านเป็นใครกันแน่มาถึงที่นี้ จงประกาศตนให้ดิฉันทราบ (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๑๒๑] หมู่เทพมาประชุมพร้อมกันที่สภาชื่อสุธรรมาถวายบังคมท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นคือข้าพเจ้าท้าวสักกสหัสสนัยน์ได้มายังสานักของพระนาง [๑๒๒] หญิงคนใดในมนุษยโลก ประพฤติธรรมสม่าเสมอ มีปัญญา มีศีล มีความเคารพสามี นับถือแม่ผัวประดุจเทวดา [๑๒๓] เทวดาทั้งหลายซึ่งมิใช่มนุษย์ย่อมมาเยือนหญิงมนุษย์ ผู้มีปัญญาดี มีการงานอันสะอาดเช่นนั้น [๑๒๔] พระนางผู้เจริญ ก็พระนางมีกรรมอันสั่งสมไว้ดีแล้ว และมีการประพฤติที่ดีงามไว้ในปางก่อน ทรงเกิดในราชสกุลนี้ เป็นหญิงที่มีความสาเร็จตามความปรารถนาทุกสิ่งทุกอย่าง [๑๒๕] พระราชบุตรี ก็พระนางทรงกาชัยชนะนี้ไว้ได้ในโลกทั้ง ๒ คือทรงเข้าถึงเทวโลก ๑ มีเกียรติยศชื่อเสียงในชีวิตนี้ ๑
  • 3. 3 [๑๒๖] พระนางสุเมธา ขอพระองค์ทรงสุขสาราญ รักษาธรรมไว้ในพระองค์ตลอดกาลนานเถิด เรานี้ขอลากลับไปสู่สวรรค์ชั้นไตรทศ การพบพระนางเป็ นที่พอใจของเรา สุรุจิชาดกที่ ๖ จบ ------------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา สุรุจิชาดก ว่าด้วย พระเจ้าสุรุจิ พระศาสดา เมื่อทรงอาศัยพระนครสาวัตถี ประทับอยู่ ณ ปุพพาราม ปราสาทของมิคารมารดา ทรงพระปรารภพร ๘ ประการที่มหาอุบาสิกาวิสาขาได้รับ. ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. เรื่องพิสดารมีว่า วันหนึ่ง นางวิสาขาฟังธรรมกถาในพระเชตวันวิหาร แล้วกราบทูลนิมนต์พระผู้มีพระภาคเจ้ากับภิกษุสงฆ์ฉันเช้า แล้วกลับเรือน. พอล่วงราตรีนั้น มหาเมฆอันเป็นไปในทวีปทั้งสี่ยังฝนให้ตก. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกพวกภิกษุมา ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฝนตกในเชตวันอย่างใด ตกในทวีปทั้งสี่อย่างนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มหาเมฆกลุ่มสุดท้ายพึงเปียกกายเราได้ ขณะที่ฝนกาลังตก ก็เสด็จหายไปจากพระเชตวันกับพวกภิกษุด้วยกาลังฤทธิ์ ปรากฏที่ซุ้มประตูของนางวิสาขา. อุบาสิกายินดีร่าเริงบันเทิงใจว่า อัศจรรย์นัก พ่อเจ้าพระคุณเอ๋ย พิศวงนัก พ่อมหาจาเริญเอ๋ย เพราะความที่พระตถาคตทรงมีฤทธิ์มาก ทรงอานุภาพมาก ในเมื่อห้วงน้าเพียงเข่าก็มี เพียงเอวก็มีกาลังไหลไป เท้าหรือจีวรของภิกษุแม้รูปหนึ่งที่ชื่อว่าเปี ยกไม่มีเลยแหละ แล้วอังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธองค์เป็นประมุข ได้กราบทูลข้อนี้กะพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ทรงเสร็จภัตกิจแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ขอประทานพร ๘ ประการกะพระผู้มีพระภาคเจ้า พระเจ้าข้า. ตรัสว่า วิสาขา พระตถาคตทั้งหลายผ่านพ้นพรไปแล้วละ. กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พรใดๆ ควรแก่ข้าพระองค์ และพรใดๆ ไม่มีโทษ ข้าพระองค์ทูลขอพรนั้นๆ พระเจ้าข้า. ตรัสว่า กล่าวเถิดวิสาขา. กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ขอปรารถนาเพื่อจะถวายผ้าอาบน้าฝนแก่ภิกษุสงฆ์ตลอดชีพ ฯลฯ เพื่อจะถวายภัตแก่ภิกษุผู้มา ฯลฯ ภัตแก่ภิกษุผู้จะไป
  • 4. 4 ฯลฯ ภัตรแก่ภิกษุไข้ ฯลฯ ภัตแก่ภิกษุผู้พยาบาลไข้ ฯลฯ ยาแก่ภิกษุผู้ไข้ ฯลฯ ข้าวยาคูประจา เพื่อจะถวายผ้าอาบแด่ภิกษุณีสงฆ์. พระศาสดาตรัสถามว่า วิสาขา เธอเห็นอานาจประโยชน์อะไรถึงขอพร ๘ ประการกะพระตถาคต เมื่อนางกราบทูลอานิสงส์ของพร ๘ ประการแล้ว ตรัสว่า ดีละ ดีละ วิสาขา เธอเห็นอานิสงส์เหล่านี้ ขอพร ๘ ประการ แล้วประทานพร ๘ ประการ ด้วยพระดารัสว่า วิสาขา เราอนุญาตพร ๘ ประการแก่เธอ แล้วทรงอนุโมทนาเสร็จเสด็จหลีกไป. อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อพระศาสดาเสด็จประทับอยู่ ณ ปุพพาราม พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนาในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย มหาอุบาสิกาวิสาขาแม้ดารงในอัตภาพมาตุคามก็ยังได้พร ๘ ประการจากสานักทศพล โอ! นางมีคุณมาก. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อกี้พวกเธอสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อพวกภิกษุพากันกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นที่วิสาขาได้รับพรในสานักของเรา แม้ในครั้งก่อนก็เคยได้รับแล้วเหมือนกัน. ทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล พระราชาทรงพระนามสุรุจิ เสวยราชสมบัติในพระนครมิถิลา ทรงได้พระราชโอรส ก็ได้ทรงขนานพระนามพระราชโอรสนั้นว่า สุรุจิกุมาร. พระกุมารทรงเจริญวัย ทรงดาริว่า เราจักเรียนศิลปะในเมืองตักกสิลา เสด็จไปประทับนั่งพักที่ศาลาใกล้ประตูพระนคร. ฝ่ายพระราชโอรสของพระเจ้าพาราณสี ทรงพระนามพรหมทัตกุมาร ก็เสด็จไปในที่นั้นเหมือนกัน ประทับนั่งพักเหนือแผ่นกระดานที่พระสุรุจิกุมารประทับนั่งนั้นแล. พระกุมารทั้งสองทรงไต่ถามกันแล้ว มีความสนิทสนมกัน ไปสู่สานักอาจารย์ร่วมกันทีเดียว ทรงให้ค่าคานับอาจารย์ ตั้งต้นเรียนศิลปะ ไม่ช้านานนักต่างก็สาเร็จศิลปะ พากันอาลาอาจารย์ เสด็จร่วมทางกันมาหน่อยหนึ่ง ประทับยืนที่ทางสองแพร่ง ทรงสวมกอดกันไว้ ต่างทรงกระทากติกากัน เพื่อจะทรงรักษามิตรธรรมให้ยั่งยืนไปว่า ถ้าข้าพเจ้ามีโอรส ท่านมีพระธิดา หรือท่านมีพระโอรส ข้าพเจ้ามีธิดา เราจักกระทาอาวาหมงคลและวิวาหมงคล แก่โอรสและธิดาของเรานั้น.
  • 5. 5 ครั้นกุมารทั้งสองเสวยราชสมบัติ พระสุรุจิมหาราชมีพระโอรส พระประยูรญาติขนานพระนามพระโอรสนั้นว่าสุรุจิกุมาร. พระพรหมทัตมีพระธิดา พระประยูรญาติขนานนามพระธิดานั้นว่าสุเมธา. พระกุมารสุรุจิทรงจาเริญวัยเสด็จไปเมืองตักกสิลา ทรงเรียนศิลปะเสร็จเสด็จมา. พระราชบิดามีพระประสงค์จะอภิเษกพระกุมารในราชสมบัติ ทรงพระดาริว่า ข่าวว่า พระเจ้าพาราณสีพระสหายของเรามีพระธิดา เราจักสถาปนานางนั้นแลให้เป็ นอัครมเหสีของลูกเรา ทรงประทานบรรณาการเป็นอันมาก ทรงส่งพวกอามาตย์ไปเพื่อต้องการพระนางนั้น. ขณะที่พวกอามาตย์เหล่านั้นยังมาไม่ถึง พระเจ้าพาราณสีตรัสถามพระเทวีว่า นางผู้เจริญ อะไรเป็ นทุกข์อย่างยิ่งของมาตุคาม. พระเทวีกราบทูลว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อม ความหึงหญิงที่ร่วมผัว เป็นความทุกข์ของมาตุคามเจ้าค่ะ. ตรัสว่า นางผู้เจริญ ถ้าเช่นนั้น เราต้องช่วยกันเปลื้องสุเมธาเทวีลูกหญิงของเราจากทุกข์นั้น เราจักให้แก่ผู้ที่จักครองเธอแต่นางเดียวเท่านั้น. เมื่ออามาตย์เหล่านั้นพากันมาถึงทูลรับพระนามของพระนางแล้ว ท้าวเธอจึงตรัสว่า ดูราพ่อทั้งหลาย อันที่จริง เมื่อก่อนข้าพเจ้ากระทาปฏิญาณไว้กับพระสหายของข้าพเจ้า ถึงกระนั้น ข้าพเจ้าก็มิได้ประสงค์เลยที่ส่งนางเข้าไปภายในกลุ่มสตรี เราประสงค์ที่ให้นางแก่ผู้ที่จะครองนางผู้เดียวเท่านั้น. อามาตย์เหล่านั้นพากันส่งข่าวสู่สานักพระราชา พระราชาตรัสว่า ราชสมบัติของเราใหญ่หลวง มิถิลานครมีอาณาเขตถึง ๗ โยชน์ กาหนดแห่งราชัยถึง ๓๐๐ โยชน์ อย่างต่าสุด ควรจะได้สตรี ๑๖,๐๐๐ นาง แล้วมิได้ทรงบอกไป. แต่พระกุมารสุรุจิทรงสดับรูปสมบัติของพระนางสุเมธาแล้ว ก็ติดพระหทัยด้วยการเกี่ยวข้องโดยสดับ จึงส่งกระแสพระดารัสถึงพระราชบิดามารดาว่า หม่อมฉันจักครองนางผู้เดียวเท่านั้น หม่อมฉันไม่ต้องการกลุ่มสตรี โปรดเชิญนางมาเถิด. พระราชบิดามารดาไม่ทรงขัดพระหทัยของพระกุมาร ทรงส่งทรัพย์เป็ นอันมาก เชิญพระนางมาด้วยบริวารขบวนใหญ่แล้วทรงอภิเษกร่วมกัน กระทาพระนางให้เป็ นพระมเหสีของพระกุมาร
  • 6. 6 พระกุมารนั้นทรงพระนามว่าสุรุจิมหาราช ทรงครองราชสมบัติโดยธรรม ทรงอยู่ร่วมกับพระนางด้วยความรัก. ก็พระนางประทับอยู่ในพระราชวังของท้าวเธอตลอด ๑๐,๐๐๐ ปีไม่ทรงได้พระโอรสหรือพระธิดาเลย. ครั้งนั้น ชาวเมืองประชุมกันชวนกันร้องขานขึ้นในท้องพระลานหลวง. เมื่อท้าวเธอดารัสว่า นี่อะไรกัน ก็กราบทูลว่า โทษของพระราชาไม่มีพระเจ้าข้า แต่พระโอรสผู้จะสืบวงศ์ของพระองค์ยังไม่มีเลย พระองค์ทรงมีพระเทวีพระนางเดียว ธรรมดาราชสกุลต้องมีหญิง ๑๖,๐๐๐ นางเป็ นอย่างต่าที่สุด พระองค์โปรดรับกลุ่มสตรีเถิดพระเจ้าข้า เผื่อบรรดาหญิงเหล่านั้นจักมีสักคนหนึ่งที่มีบุญ จักได้พระโอรส ถูกท้าวเธอตรัสห้ามเสียว่า พ่อคุณเอ๋ย พากันพูดอะไร เราได้ปฏิญาณไว้แล้วว่า จักไม่ครองหญิงอื่นเลย จึงได้เชิญหญิงนี้มาได้ เราไม่มุสาวาทได้ เราไม่ต้องการกลุ่มแห่งสตรี เลยพากันหลีกไป. พระนางสุเมธาทรงสดับพระดารัสนั้น ดาริว่า พระราชามิได้ทรงนาสตรีอื่นๆ มาเลย เพราะทรงพระดารัสตรัสจริงแน่นอน แต่เรานี่แหละจักหามาถวายแก่พระองค์ ทรงดารงในตาแหน่งพระมเหสีเช่นพระมารดาของพระราชา จึงทรงนามาซึ่งสตรี ๔,๐๐๐ นาง คือสาวน้อยเชื้อกษัตริย์ ๑,๐๐๐ เชื้อขุนนาง ๑,๐๐๐ เชื้อเศรษฐี ๑,๐๐๐ นางระบาผู้ชานาญในกระบวนฟ้ อนราทุกอย่าง ๑,๐๐๐ คัดที่พอพระหฤทัยของพระนาง. แม้พวกนั้นพากันอยู่ในราชสกุลตั้ง ๑๐,๐๐๐ ปี ก็ไม่ได้พระโอรสหรือธิดาดุจกัน. พระนางคัดพวกอื่นๆ มาถวายคราวละ ๔,๐๐๐ ถึงสามคราว. แม้พวกนั้นก็ไม่ได้พระโอรสพระธิดา. รวมเป็นหญิงที่พระนางนามาถวาย ๑๖,๐๐๐ นาง. เวลาล่วงไป ๔๐,๐๐๐ ปี รวมกับเวลาที่ทรงอยู่กับพระนางองค์เดียว ๑๐,๐๐๐ ปี เป็น ๕๐,๐๐๐ ปี. ครั้งนั้นชาวเมืองประชุมชวนกันร้องขานขึ้นอีก เมื่อท้าวเธอตรัสว่า เรื่องอะไรกันเล่า พากันกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ พระองค์โปรดบังคับพระเทวีทั้งหลาย เพื่อปรารถนาพระโอรสเถิดพระเจ้าข้า. พระราชาทรงรับว่า ดีแล้ว ตรัส (กะพระเทวี) ว่าพวกเธอปรารถนาบุตรเถิด. ตั้งแต่นั้นพระเทวีเหล่านั้น เมื่อปรารถนาพระโอรส พากันนอบน้อมเทวดาต่างๆ พากันบาเพ็ญวัตรต่างๆ พระโอรสก็ไม่อุบัติอยู่นั่นเอง. ครั้งนั้น พระราชาตรัสกะพระนางสุเมธาว่า นางผู้เจริญ เชิญเธอปรารถนาพระโอรสเถิด. พระนางรับพระดารัสว่า สาธุแล้ว ครั้นถึงดิถีที่
  • 7. 7 ๑๕ ทรงสมาทานอุโบสถ ประทับนั่งเหนือพระแท่นอันสมควร ทรงระลึกถึงศีลทั้งหลายอยู่ในพระตาหนักอันทรงสิริ. พระเทวีที่เหลือพากันประพฤติวัตรอย่างแพะอย่างโคต่างไปสู่พระอุทยาน. ด้วยเดชแห่งศีลของพระนางสุเมธา พิภพของท้าวสักกะหวั่นไหว. ท้าวสักกะทรงนึกว่า นางสุเมธาปรารถนาพระโอรส เราต้องให้โอรสแก่เธอ แต่ว่าเราไม่อาจที่จะให้ตามมีตามได้ ต้องเลือกเฟ้ นโอรสที่สมควรแก่เธอ เมื่อทรงเลือกเฟ้ นก็ทรงเห็นเทพบุตรนฬการ. แท้จริง เทพบุตรนฬการนั้นเป็นสัตว์ถึงพร้อมด้วยบุญ เมื่ออยู่ในนครพาราณสี ในอัตภาพครั้งก่อน ถึงเวลาหว่านข้าวไปไร่ เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่ง ส่งพวกทาสและกรรมกรไปหว่านกัน ตนเองกลับพาพระปัจเจกพุทธเจ้าไปสู่เรือน ให้ฉันแล้วนิมนต์มาที่ฝั่งคงคา ร่วมมือกันกับลูกชายสร้างบรรณศาลา เอาไม้มะเดื่อเป็นเชิงฝา เอาไม้อ้อเป็นฝา ผูกประตู ทาที่จงกรม นิมนต์พระปัจเจกพุทธเจ้าอยู่ ณ บรรณศาลานั้นแหละตลอดไตรมาส ท่านจาพรรษาแล้ว พ่อลูกทั้งคู่ก็นิมนต์ให้ครองไตรจีวร แล้วส่งท่านไป. ด้วยทานองนี้เองได้นิมนต์พระปัจเจกพุทธเจ้าถึง ๗ องค์ ให้อยู่ ณ บรรณศาลานั้น แล้วให้ครองไตรจีวร. บางอาจารย์กล่าวว่า พ่อลูกทั้งคู่เป็ นช่างจักสานกาลังขนเอาไม้ไผ่ที่ฝั่งคงคา เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าจึงพากันกระทาเช่นนั้น ดังนี้ก็มี. พ่อลูกทั้งคู่นั้น ครั้นทากาลกิริยาบังเกิดในภพดาวดึงส์ เสวยอิสริยะแห่งเทวดาอันใหญ่ กลับไปกลับมาอยู่ในกามภพทั้ง ๖ ชั้น. เทพบุตรทั้งคู่นั้นปรารถนาจะจุติจากชั้นนั้นไปบังเกิดในเทวโลกชั้นสูง. ท้าวสักกะทรงทราบความเป็ นอย่างนั้น เสด็จไปถึงประตูวิมานของเทพบุตรองค์หนึ่งในสององค์นั้น ตรัสกับเทพบุตรนั้นผู้มาบังคมแล้วยืนอยู่ว่า ดูราท่านผู้นิรทุกข์ ควรที่ท่านจะไปสู่มนุษยโลก. เธอทูลว่า ข้าแต่มหาราช โลกมนุษย์น่ารังเกียจสกปรก ฝูงชนที่ตั้งอยู่ในโลกมนุษย์นั้น ต่างทาบุญมีให้ทานเป็นต้น ปรารถนาเทวโลก ข้าพระองค์จักไปในโลกมนุษย์นั้นทาอะไร. ตรัสว่า ผู้นิรทุกข์ ท่านจักได้บริโภคทิพยสมบัติที่เคยบริโภคในเทวโลกในโลกมนุษย์ จักได้อยู่ในปราสาทแก้วสูง ๒๕ โยชน์ ยาว ๙ โยชน์ กว้าง ๘ โยชน์ เชิญท่านรับคาเถิด. เธอจึงรับ. ท้าวสักกะทรงถือปฏิญญาของเธอแล้ว เสด็จไปสู่อุทยานด้วยแปลงเพศเป็นฤาษี จงกรมในอากาศเบื้องบนสตรีเหล่านั้น
  • 8. 8 ทรงสาแดงพระองค์ให้ปรากฏ ตรัสว่า อาตมภาพจะให้โอรสผู้ประเสริฐแก่นางคนไหนเล่า นางคนไหนจักรับโอรสผู้ประเสริฐ. สตรี ๑,๐๐๐ นางต่างยอหัตถ์วิงวอนว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ โปรดให้แก่ดิฉันๆ. ทีนั้นท้าวสักกะก็ตรัสว่า อาตมภาพจะให้โอรสแก่หมู่สตรีที่มีศีล พวกเธอมีศีลอย่างไร มีอาจาระอย่างไรเล่า. สตรีเหล่านั้นพากันลดมือที่ยกขึ้นลงหมดกล่าวว่า ถ้าพระคุณเจ้าปรารถนาจะให้แก่สตรีผู้มีศีล เชิญไปสู่สานักของพระนางสุเมธาเถิด. ท้าวเธอก็เหาะไปทางอากาศนั้นเอง ประทับยืนตรงช่องพระแกลใกล้พระทวารปราสาทของพระนาง. ครั้งนั้น สตรีเหล่านั้นพากันกราบทูลแด่พระนางว่า ทูลกระหม่อมแม่เจ้าขา เชิญพระแม่เจ้าเสด็จมาเถิด เทวราชพระองค์หนึ่งประสงค์จะถวายพระโอรสผู้ประเสริฐแด่พระแม่เจ้า เหาะมาทางอากาศกาลังสถิตที่ช่องพระแกลเจ้าข้า. พระนางเสด็จไปด้วยท่าทางอันตระหนัก ทรงเปิดพระแกลตรัสว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ได้ยินว่า พระคุณเจ้าจะให้โอรสผู้ประเสริฐแก่สตรีผู้มีศีล เป็นความจริงหรือ พระเจ้าข้า. ท้าวเธอตรัสว่า ดูก่อนพระเทวี ขอถวายพระพรเป็นความจริง. พระนางตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น ขอพระคุณเจ้าโปรดให้แก่ดิฉัน. ตรัสถามว่า ก็ศีลของบพิตรเป็ นอย่างไร เชิญตรัส ถ้าชอบใจอาตมภาพ อาตมภาพจักถวายพระโอรสผู้ประเสริฐ. พระนางทรงสดับพระดารัสของท้าวเธอแล้วตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น เชิญพระคุณเจ้าค่อยสดับเถิด. เมื่อจะทรงแถลงศีลคุณของตน ได้ทรงภาษิตพระคาถา ๑๕ คาถาว่า ดิฉันถูกเชิญมา เป็นพระอัครมเหสีคนแรกของพระเจ้าสุรุจิตลอดเวลาหมื่นปี พระเจ้าสุรุจินาดิฉันมาผู้เดียว ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ดิฉันนั้นมิได้รู้สึกเลยว่า ได้ล่วงเกินพระเจ้าสุรุจิผู้เป็นจอมประชาชนชาววิเทหรัฐครองพระนครมิถิลา ด้วยกาย วาจาหรือใจ ทั้งในที่แจ้งหรือในที่ลับเลย ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ดิฉันเป็ นที่พอใจของพระภัสดา พระชนนีและพระชนกของพระภัสดาก็เป็นที่รักของดิฉัน พระองค์ท่านเหล่านั้นทรงแนะนาดิฉันตลอดเวลาที่พระองค์ท่านยังทรงพระชนมชี
  • 9. 9 พอยู่ ดิฉันนั้นยินดีในความไม่เบียดเบียน มีปกติประพฤติธรรมโดยส่วนเดียว มุ่งบาเรอพระองค์ท่านเหล่านั้นโดยเคารพ ไม่เกียจคร้านทั้งกลางคืนกลางวัน ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ความริษยาหรือความโกรธในสตรีผู้เป็ นราชเทวีร่วมกัน ๑๖,๐๐๐ คน มิได้มีแก่ดิฉันในกาลไหนๆ เลย ดิฉันชื่นชมด้วยความเกื้อกูลแก่พระราชเทวีเหล่านั้น และคนไหนที่จะไม่เป็นที่รักของดิฉันไม่มีเลย ดิฉันอนุเคราะห์หญิงผู้ร่วมสามีทั่วกันทุกคน ในกาลทุกเมื่อ เหมือนอนุเคราะห์ตนฉะนั้น ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตว์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง. ดิฉันเลี้ยงดูทาสกรรมกร ซึ่งจะต้องเลี้ยงดูและชนเหล่าอื่นผู้อาศัยเลี้ยงชีวิต โดยเหมาะสมกับหน้าที่ ดิฉันมีอินทรีย์อันเบิกบานในกาลทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง. ดิฉันมีฝ่ามืออันชุ่มเลี้ยงดูสมณพราหมณ์และวณิพกเหล่าอื่น ให้อิ่มหนาสาราญด้วยข้าวและน้าทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตว์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตกเป็น ๗ เสี่ยง. ดิฉันเข้าอยู่ประจาอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ตลอดดิถีที่ ๑๔, ๑๕ และดิถีที่ ๘ แห่งปักษ์และตลอดปาฏิหาริยปักษ์ ดิฉันสารวมแล้วในศีลทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤาษี ด้วยการกล่าวคาสัตย์จริงนี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคาเท็จ ขอศีรษะของดิฉันจงแตก ๗ เสี่ยง. ธรรมดาว่าการประมาณของพระนางซึ่งแม้จะพรรณนา ๑๐๐ คาถา ๑,๐๐๐ คาถาก็หาเพียงพอไม่ ด้วยประการฉะนี้. ในเวลาที่พระนางพรรณนาคุณของตนได้ด้วยพระคาถา ๑๕ เท่านั้น ท้าวสักกะก็ตัดพระดารัสของพระนางเสีย เพราะท้าวเธอมีกิจที่ต้องกระทามาก. เมื่อจะทรงสรรเสริญพระนางว่าคุณของพระนางจริงทั้งนั้น จึงตรัส ๒ คาถาว่า ดูก่อนราชบุตรี ผู้เรืองยศงดงาม คุณอันเป็ นธรรมเหล่านั้นมีทุกอย่าง พระราชโอรสผู้เป็ นกษัตริย์ สมบูรณ์ด้วยพระชาติ เป็นอภิชาตบุตร เรืองพระยศเป็ นธรรมราชาแห่งชนชาววิเทหะ จงอุบัติแก่พระนาง. พระนางทรงสดับพระดารัสของท้าวเธอแล้ว ทรงโสมนัส
  • 10. 10 เมื่อจะตรัสถามท้าวเธอได้ทรงภาษิต ๒ พระคาถาว่า ท่านผู้มีดวงตาน่ายินดี ทรงผ้าคลุกธุลี สถิตอยู่บนเวหาอันไม่มีสิ่งใดกั้น ได้กล่าววาจาอันเป็นที่พอใจจับใจของดิฉัน ท่านเป็นเทวดามาจากสวรรค์ เป็ นฤาษีผู้มีฤทธิ์มาก หรือว่าเป็ นใครมาถึงที่นี้ ขอท่านจงกล่าวความจริงให้ดิฉันทราบด้วย. ท้าวสักกะ เมื่อจะตรัสบอกแก่พระนาง จึงได้ตรัส ๖ พระคาถาว่า หมู่เทวดามาประชุมกันที่สุธรรมาสภา ย่อมกราบไหว้ท้าวสักกะองค์ใด ข้าพเจ้าเป็ นท้าวสักกะองค์นั้น มีดวงตาพันหนึ่งมายังสานักของท่าน หญิงเหล่าใดในเทวโลกเป็ นผู้มีปกติประพฤติสม่าเสมอ มีปัญญา มีศีล มีพ่อผัวแม่ผัวเป็นเทวดา ยาเกรงสามี เทวดาทั้งหลายผู้มิใช่มนุษย์มาเยี่ยมหญิงเช่นนั้น ผู้มีปัญญา มีกรรมอันสะอาด เป็นหญิงมนุษย์ ดูก่อนนางผู้เจริญ ท่านเกิดในราชสกุลนี้ พรั่งพร้อมไปด้วยสิ่งที่น่าปรารถนาทุกอย่างด้วยสุจริตธรรมที่ท่านประพฤติดีแล้วใ นปางก่อน ดูก่อนพระราชบุตรี ก็แหละข้อนี้เป็นชัยชนะในโลกทั้งสองของท่าน คือการอุบัติในเทวโลก และเกียรติในชีวิตนี้ ดูก่อนพระนางสุเมธา ขอให้พระนางจงมีสุข ยั่งยืนนาน จงรักษาธรรมไว้ในตนให้ยั่งยืนเถิด ข้าพเจ้านี้ขอลาไปสู่ไตรทิพย์ การพบเห็นท่านเป็ นการพบเห็นที่ดูดดื่มใจของข้าพเจ้ายิ่งนัก. ท้าวสักกะประทานโอวาทแก่พระนางว่า ก็กิจที่ต้องกระทาของข้าพเจ้ามีอยู่ในเทวโลก เหตุนั้น ข้าพเจ้าต้องไป ท่านจงไม่ประมาทเถิดนะ แล้วเสด็จหลีกไป. ครั้นถึงเวลาใกล้รุ่ง นฬการเทพบุตรก็จุติถือปฏิสนธิในพระครรโภทรของพระนาง. พระนางทรงทราบความที่พระองค์ทรงครรภ์กราบทูลแก่พระราชา พระราชาประทานเครื่องผดุงครรภ์ ถ้วนกาหนดทศมาส พระนางก็ประสูติพระโอรส พระประยูรญาติทรงขนานพระนามพระโอรสว่ามหาปนาท. ชาวแคว้นทั้งสอง (อังคะและมคธ) พากันทิ้งเหรียญกระษาปณ์ลงที่ท้องพระลานหลวงคนละ ๑ กระษาปณ์ เพื่อให้พระราชาทรงทราบว่า เป็ นค่าน้านมของพระลูกเจ้าแห่งชาวเรา เหรียญกระษาปณ์ได้เป็นกองใหญ่โต. แม้พระราชาจะตรัสห้าม ก็พากันกราบทูลว่า จักได้เป็นทุนรอนในเวลาที่พระลูกเจ้าของพวกข้าพระองค์ทรงพระเจริญ ต่างไม่รับคืนพากันหลีกไป.
  • 11. 11 พระกุมารทรงพระเจริญด้วยบริวารมากมาย ครั้นทรงถึงวัยมีพระชนม์ ๑๖ พรรษา ก็ทรงลุความสาเร็จในศิลปะทุกประการ. พระราชาทรงตรวจดูพระชนม์ของพระโอรสแล้ว ตรัสกับพระเทวีว่า นางผู้เจริญ ในเวลาอภิเษกลูกของเราในราชสมบัติ จักสร้างปราสาทอันน่ารื่นรมย์ให้เธอแล้วถึงทาการอภิเษก. พระนางรับพระโองการว่า ดีแล้วพระเจ้าคะ. พระราชารับสั่งให้หาอาจารย์ในวิชาพื้นที่มา ตรัสว่า พ่อทั้งหลายจงคุมช่างให้สร้างปราสาทเพื่อลูกของเรา ณ ที่ไม่ห่างวังของเรา เราจักอภิเษกลูกของเรานั้นในราชสมบัติ. พวกอาจารย์ในวิชาพื้นที่เหล่านั้น รับพระโองการว่า ขอเดชะใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายขอรับใส่เกล้าฯ แล้วพากันตรวจภูมิประเทศ. ขณะนั้นพิภพของท้าวสักกะสาแดงอาการร้อน ท้าวเธอทรงทราบเหตุนั้นตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมา ตรัสสั่งว่า ไปเถิดพ่อเอ๋ย จงสร้างปราสาทแก้วยาว ๙ โยชน์กว้าง ๘ โยชน์สูง ๒๕ โยชน์ให้แก่มหาปนาทราชกุมารเถิด. วิสสุกรรมเทพบุตรแปลงเพศเป็ นช่างไปสู่สานักของพวกช่าง แล้วส่งพวกช่างนั้นไปเสียด้วยคาว่า พวกคุณกินข้าวเช้าแล้วค่อยมาเถิด แล้วประหารแผ่นดินด้วยท่อนไม้. ทันใดนั้นเอง ปราสาท ๗ ชั้นมีขนาดดังกล่าวแล้วก็ผุดขึ้น. มงคล ๓ ประการ คือ มงคลฉลองปราสาท มงคลอภิเษกสมโภชเศวตฉัตร และอาวาหมงคลของพระกุมารมหาปนาทได้มีคราวเดียวกันแล. ชาวแคว้นทั้งสองพากันประชุมในสถานมงคล ให้กาลเวลาล่วงไปถึง ๗ ปี ด้วยการมหรสพฉลองมงคล. พระราชามิได้ทรงบอกให้พวกนั้นเลิกงานเลย. สิ่งของทั้งหมดเป็นต้นว่า ผ้าเครื่องประดับของเคี้ยวของกินของชนเหล่านั้น ได้เป็นสิ่งของของราชสกุลทั้งนั้นเลย. ครั้นล่วง ๗ ปี ฝูงชนเหล่านั้นพากันร้องทุกข์ พระสุรุจิมหาราชตรัสถามว่า นี่อะไรกันเล่า ก็พากันกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช เมื่อพวกข้าพระองค์พากันสมโภชการมงคล ๗ ปีผ่านไปแล้ว ที่สุดของงานมงคลจะมีเมื่อไรเล่า พระเจ้าข้า. ลาดับนั้น พระราชาตรัสว่า ตลอดกาลถึงเท่านี้ ลูกเราไม่เคยหัวเราะเลย เมื่อใดเธอหัวเราะ เมื่อนั้นพวกเจ้าทั้งหลายจงพากันไปเถิด. ครั้งนั้น มหาชนเที่ยวตีกลองป่าวร้อง เชิญนักฟ้ อนของพระเจ้ามหาปนาทนั้นประชุม นักฟ้ อน ๖,๐๐๐ พากันมาประชุมแบ่งกันเป็น ๗ ส่วน
  • 12. 12 พากันราฟ้ อนก็มิอาจที่จะให้พระราชาทรงพระสรวลได้ ทั้งนี้ เพราะความที่ท้าวเธอเคยทอดพระเนตรกระบวนฟ้ อนราอันเป็ นทิพย์มาช้านาน การฟ้ อนของนักฟ้ อนเหล่านั้น จึงมิได้เป็ นที่ต้องพระหทัย. ครั้งนั้นจอมนักฟ้ อน ๒ นาย คือกัณฑกรรณและปัณฑุกรรณคิดว่า พวกเราจะให้พระราชาทรงพระสรวลให้ได้ พากันเข้าไปในท้องพระลาน. บรรดาจอมนักฟ้ อนทั้งสองคนนั้น กัณฑกรรณให้ปลูกต้นมะม่วงใหญ่ชื่ออตุละ ที่พระราชทวารแล้วขว้างกลุ่มด้ายขึ้นไปให้คล้องที่กิ่งของต้นมะม่วงนั้น แล้วไต่ขึ้นไปตามเส้นด้าย. ได้ยินว่า ไม้มะม่วงชื่ออตุละเป็ นต้นมะม่วงของท้าวเวสวัณ ครั้งนั้น พวกทาสของท้าวเวสวัณก็พากันตัดกิ่งน้อยใหญ่ของต้นมะม่วงนั้นโค่นลงมา นักฟ้ อนที่เหลือเก็บกิ่งเหล่านั้นกองไว้แล้วรดด้วยน้า กัณฑกรรณนั้นนุ่งห่มผ้ากรองดอกไม้ลุกขึ้นฟ้ อนราไป. พระเจ้ามหาปนาททอดพระเนตรเห็นเขาแล้ว ก็มิได้ทรงพระสรวลเลย. ปัณฑุกรรณได้ทาเชิงตะกอนไม้ในท้องพระลานหลวงแล้วเดินเข้าสู่กอ งไฟกับบริษัทของตน ครั้นไฟดับแล้ว นักฟ้ อนทั้งหลายเอาน้ารดเชิงตะกอน ปัณฑุกรรณนั้นกับบริษัทนุ่งห่มผ้ากรองดอกไม้ลุกขึ้นฟ้ อนรา. พระราชาทรงทอดพระเนตรการนั้นแล้ว คงมิได้ทรงพระสรวลอยู่นั่นเอง. เมื่อสุดฝีมือที่จะให้พระราชาพระองค์นั้นทรงพระสรวล ฝูงคนก็พากันระส่าระสายด้วยประการฉะนี้. ท้าวสักกะทรงทราบเหตุนั้นจึงทรงส่งนักฟ้ อนเทวดาไปด้วยพระเทวบัญชาว่า ไปเถิดพ่อเอ๋ย จงทาให้พระมหาปนาทะทรงพระสรวลเสด็จอุฎฐาการจงได้เถิด. เทพนักฟ้ อนนั้นมายืนอยู่บนอากาศในท้องพระลานหลวง แสดงขบวนฟ้ อนที่เรียกว่า อุปัฑฒังคะ. มือข้างเดียวเท่านั้น เท้าก็ข้างเดียว ตาก็ข้างเดียว แม้คิ้วก็ข้างเดียว ฟ้ อนไปร่ายราไป เคลื่อนไหวไปที่เหลือคงนิ่งไม่หวั่นไหวเลย. พระเจ้ามหาปนาทะทอดพระเนตรเห็นการนั้นแล้ว ทรงพระสรวลหน่อยหนึ่ง. แต่มหาชนเมื่อหัวเราะก็สุดที่จะกลั้นความขบขันไว้ สุดที่จะดารงสติไว้ได้ ปล่อยอวัยวะหมดเลย ล้มกลิ้งไปในท้องพระลานหลวง. มงคลเป็นอันเลิกได้ตอนนั้น. ข้อความที่เหลือในเรื่องนี้ พรรณนาไว้ในมหาปนาทชาดก พระราชามหาปนาททรงกระทาบุญถวายทานเป็นต้น เมื่อสิ้นพระชนม์ก็เสด็จไปสู่เทวโลกนั่นเอง.
  • 13. 13 พระศาสดาทรงนาธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า มหาปนาท ในครั้งนั้นได้มาเป็น ภัททชิ สุเมธาเทวีได้มาเป็น นางวิสาขา วิสสุกรรมได้มาเป็น พระอานนท์ ส่วนท้าวสักกะได้มาเป็ น เราตถาคต แล. จบอรรถกถาสุรุจิชาดกที่ ๖ -----------------------------------------------------