SlideShare a Scribd company logo
1
มหามังคลชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๑๕. มหามังคลชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๕๓)
ว่าด้วยมหามงคล
(ศิษย์ผู้เป็นหัวหน้าถามอาจารย์ว่า)
[๑๕๕] ในเวลาต้องการความเป็ นมงคล นรชนร่ายพระเวทอะไร
นรชนนั้นเรียนพระเวทอะไร หรือบรรดาสุตะ เรียนสุตะบทไหน
และกระทาอย่างไร จึงได้รับความคุ้มครองโดยสวัสดิภาพ
ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
(พระโพธิสัตว์บอกมงคลว่า)
[๑๕๖] เทวดาและเทพบิดรทั้งปวง สัตว์เลื้อยคลานและสรรพสัตว์ทั้งปวง
อันผู้ใดแผ่เมตตาอยู่เป็นนิตย์
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการแผ่เมตตานั้นในสัตว์ทั้งหลายว่า
เป็นความสวัสดีของผู้นั้น
(พระโพธิสัตว์กล่าวมงคลต่อไปอีกว่า)
[๑๕๗] ผู้ใดมีความประพฤติถ่อมตนต่อชาวโลกทั้งปวง คือ
ต่อหญิงชายทั้งหลาย พร้อมทั้งพวกเด็ก เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคาที่หยาบคาย
ไม่กล่าววาจาที่ขัดแย้ง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความอดกลั้นนั้นว่า
เป็นความสวัสดีของผู้นั้น
[๑๕๘] ผู้ใดมีปัญญา มีความรู้ ในเมื่อเหตุเกิดขึ้น
ไม่ดูหมิ่นมิตรสหายโดยศิลปะ สกุล ทรัพย์ และโดยชาติ
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความไม่ดูหมิ่นนั้นในสหายทั้งหลายว่า
เป็นความสวัสดีของผู้นั้น
[๑๕๙] ผู้ใดพูดจาไม่โกหก คบเพื่อนดี และไม่ประทุษร้ายมิตร
แบ่งปันทรัพย์ของตนให้ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการกระทานั้นในมิตรทั้งหลายว่า
เป็นความสวัสดีของผู้นั้น
[๑๖๐] ผู้ใดมีภรรยาซึ่งมีวัยเท่าๆ กัน สามัคคีกัน คล้อยตามกัน
เป็นผู้ใคร่ธรรม ให้กาเนิดลูกได้ เป็นหญิงมีสกุล มีศีล มีความซื่อสัตย์
จงรักภักดีต่อสามี บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการประพฤตินั้นในภรรยาทั้งหลายว่า
เป็นความสวัสดีของผู้นั้น
[๑๖๑] ผู้ใดมีพระราชาผู้เป็นใหญ่กว่าหมู่ชน ทรงมีพระเกียรติยศ
หยั่งรู้ความเป็ นผู้บริสุทธิ์ และความพากเพียร
โดยปราศจากความคลางแคลงพระทัยว่า ผู้นี้เป็นเพื่อนร่วมใจของเรา
2
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความไม่คลางแคลงพระทัยนั้นว่า
เป็นความสวัสดีของผู้นั้นในพระราชาทั้งหลาย
[๑๖๒] ผู้ใดมีศรัทธา มีจิตเลื่อมใส พลอยอนุโมทนา ให้ข้าวน้า
ดอกไม้ของหอม และเครื่องลูบไล้เป็ นทาน บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการให้ทานนั้นว่า
เป็นความสวัสดีของผู้นั้นในสวรรค์
[๑๖๓] ผู้ใดเป็นผู้คงแก่เรียนทั้งหลาย ผู้สาเร็จด้วยการประพฤติชอบ
เป็นสัตบุรุษ ได้ยินได้ฟังมามาก เป็นผู้แสวงหาคุณความดี มีศีล
ชาระล้างด้วยธรรมของพระอริยะ
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการชาระล้างด้วยธรรมของพระอริยะนั้นว่า
เป็นความสวัสดีในท่ามกลางพระอรหันต์ของผู้นั้น
(พระโพธิสัตว์รวมยอดเทศนาด้วยพระอรหันต์ ตรัสมหามงคล ๘
ประการว่า)
[๑๖๔] มงคลทั้ง ๘ ประการเหล่านี้เป็นความสวัสดีในโลก
ที่ท่านผู้รู้สรรเสริญ มีความสุขเป็นกาไร
ขอเชิญนรชนคนมีปัญญาในโลกประพฤติปฏิบัติมงคลเหล่านั้นเถิด
เพราะในมงคลทางโลก ไม่มีอะไรจริงสักอย่างเดียว
มหามังคลชาดกที่ ๑๕ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
มหามังคลชาดก
ว่าด้วย มงคล
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภมหามงคลสูตร จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ความพิสดารว่า ในพระนครราชคฤห์
บุรุษผู้หนึ่งอยู่ท่ามกลางมหาชนที่ประชุมกัน ณ เรือนรับแขก พูดขึ้นว่า
วันนี้มงคลกิริยาจะมีแก่เรา ดังนี้ แล้วลุกขึ้นเดินไปด้วยกรณียกิจอย่างหนึ่ง.
บุรุษอีกคนหนึ่งได้ฟังคาบุรุษนั้นแล้วกล่าวว่า บุรุษนี้กล่าวว่ามงคล
แล้วก็ไปเสีย อะไรหนอที่ชื่อว่ามงคล?
บุรุษอีกคนหนึ่ง นอกจากสองคนที่กล่าวแล้วกล่าวว่า
การเห็นรูปเป็ นมงคลอย่างยิ่ง ความจริงคนบางคนลุกขึ้นแต่เช้าทีเดียว
ได้เห็นโคเผือกก็ดี หญิงมีครรภ์นอนอยู่ก็ดี ปลาตะเพียนก็ดี หม้อเต็มด้วยน้าก็ดี
เนยข้นก็ดี เนยใสก็ดี ผ้าใหม่ก็ดี ข้าวปายาสก็ดี การเห็นอย่างนี้ชื่อว่าเป็นมงคล
นอกจากนี้ไม่ชื่อว่าเป็นมงคล.
คนบางพวกก็พากันยินดีถ้อยคาที่ผู้นั้นพูดว่า พูดถูก.
อีกคนหนึ่งคัดค้านว่า นั่นไม่ใช่มงคล การสดับฟังชื่อว่าเป็ นมงคล
3
คนบางคนได้ฟังคาคนกล่าวว่า สมบูรณ์ เจริญ สบาย บริโภค เคี้ยวกิน ดังนี้
การได้ฟังอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นมงคล นอกจากนั้นไม่ชื่อว่าเป็นมงคล.
คนบางพวกก็พากันยินดีถ้อยคานี้ผู้นั้นพูดว่า พูดถูก.
อีกคนหนึ่งคัดค้านว่า นั่นไม่ใช่มงคล การจับต้องชื่อว่าเป็ นมงคล
ความจริงคนบางคนลุกขึ้นแต่เช้าทีเดียว ได้จับต้องแผ่นดินหรือหญ้าเขียวๆ
โคมัยสด ผ้าที่สะอาด ปลาตะเพียน ทอง เงิน หรือโภชนะ
การจับต้องอย่างนี้ชื่อว่าเป็นมงคล นอกจากนี้ไม่ชื่อว่าเป็ นมงคล.
คนบางพวกก็พากันยินดีถ้อยคาที่ผู้นั้นพูดว่า พูดถูก.
คนทั้งหลายได้มีความเห็นแตกต่างกัน เป็ น ๓ จาพวก ๓ อย่างนี้ คือ
พวกทิฏฐมังคลิกะ พวกสุตมังคลิกะ และพวกมุตมังคลิกะ
ต่างไม่อาจมีความเห็นร่วมกันได้
เทวดาทั้งหลายตั้งต้นแต่ภุมมเทวดาตลอดถึงพรหมโลก ก็ไม่รู้โดยถ่องแท้ว่า
สิ่งนี้เป็ นมงคล.
ท้าวสักกะทรงพระดาริว่า ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก
ผู้อื่นนอกจากพระผู้มีพระภาค ชื่อว่าสามารถที่จะกล่าวแก้มงคลปัญหานี้ได้ไม่มี
เราจักเข้าเฝ้ าพระผู้มีพระภาคทูลถามปัญหานี้ ครั้นถึงเวลาราตรี
ท้าวเธอจึงเข้าไปเฝ้ าพระศาสดา ถวายบังคมแล้วประคองอัญชลี
ทูลถามปัญหาด้วยคาถาว่า พหู เทวา มนุสฺสา จ ดังนี้เป็ นต้น.
ลาดับนั้น พระศาสดาตรัสมหามงคล ๓๘ ประการ ด้วยคาถา ๑๒
คาถาแก่ท้าวสักกะ เมื่อมงคลสูตรจบลง
เทวดาประมาณแสนโกฏิได้บรรลุพระอรหัต
ที่เป็นพระโสดาบันเป็ นต้นนับไม่ถ้วน.
ท้าวสักกะทรงสดับมงคลแล้ว เสด็จไปวิมานของพระองค์.
เมื่อพระศาสดาตรัสมงคลแล้ว มนุษย์พร้อมทั้งเทวดาก็พากันยินดีว่า
ตรัสถูก.
ครั้งนั้น
ภิกษุทั้งหลายประชุมกันสรรเสริญพระคุณของพระศาสดาในธรรมสภาว่า
อาวุโสทั้งหลาย พระศาสดาทรงแก้มงคลปัญหาซึ่งพ้นวิสัยของผู้อื่น
ตัดความราคาญใจของมนุษย์และเทวดาเสียได้
ดุจยังดวงจันทร์ให้ตั้งขึ้นในท้องฟ้ าฉะนั้น อาวุโสทั้งหลาย
พระตถาคตทรงมีพระปัญญามากถึงเพียงนี้.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้
พวกเธอนั่งสนทนากันถึงเรื่องอะไร? เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
การแก้มงคลปัญหาของเราผู้บรรลุสัมโพธิญาณแล้วในบัดนี้ ไม่น่าอัศจรรย์
4
เรานั้นเมื่อครั้งยังเป็ นพระโพธิสัตว์ ประพฤติจริยธรรมอยู่ได้กล่าวแก้มงคลปัญหา
ตัดความสงสัยของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเสียได้ ดังนี้.
แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์ได้อุบัติในตระกูลพราหมณ์ผู้สมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติในนิคมตาบล
หนึ่ง มารดาบิดาได้ตั้งชื่อให้ว่า รักขิตกุมาร.
รักขิตกุมารนั้น ครั้นเจริญวัย เรียนศิลปะที่เมืองตักกสิลาสาเร็จแล้ว
มีภรรยา เมื่อมารดาบิดาล่วงลับไป จึงตรวจตราทรัพย์สมบัติ
แล้วเกิดความสังเวชใจ ได้ให้ทานเป็นการใหญ่ ละกามเสีย
บวชในดินแดนหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิด
มีเผือกมันและผลไม้ในป่าเป็ นอาหาร อยู่ ณ ประเทศแห่งหนึ่ง.
พระโพธิสัตว์ได้มีอันเตวาสิกมาเป็ นบริวารมากขึ้น โดยลาดับถึง ๕๐๐ คน.
อยู่มาวันหนึ่ง ดาบสเหล่านั้นเข้าไปหาพระโพธิสัตว์
นมัสการแล้วกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ สมัยเมื่อเป็นฤดูฝน
ข้าพเจ้าทั้งหลายจักลงจากหิมวันตประเทศ จาริกไปตามชนบท
เพื่อเสพรสเค็มและรสเปรี้ยว ด้วยอาการอย่างนี้
ร่างกายของพวกข้าพเจ้าจักแข็งแรง ทั้งจักเป็นการพักแข้งด้วย.
เมื่อพระโพธิสัตว์กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น พวกท่านจงไปกันเถิด
เราจักอยู่ที่นี่แหละ ดาบสเหล่านั้นจึงนมัสการพระโพธิสัตว์
แล้วลงจากดินแดนหิมพานต์ จาริกไปถึงพระนครพาราณสี อยู่ในพระราชอุทยาน
สักการะและความนับถือได้มีแก่ดาบสเหล่านั้นเป็นอันมาก.
ภายหลังวันหนึ่ง
มหาชนประชุมกันที่เรือนรับแขกในพระนครพาราณสี ตั้งมงคลปัญหาขึ้น
ข้อความทั้งหมดพึงทราบตามนัยแห่งเรื่องในปัจจุบันนั่นแหละ.
ก็ในคราวนั้น มหาชนไม่เห็นผู้ที่สามารถจะแก้มงคลปัญหา
ตัดความสงสัยของพวกมนุษย์ได้ จึงพากันไปพระราชอุทยาน
ถามมงคลปัญหากะหมู่ฤๅษี.
ฤๅษีทั้งหลายจึงปรึกษากะพระราชาว่า มหาบพิตร
อาตมาทั้งหลายไม่อาจแก้มงคลปัญหานี้ได้ แต่อาจารย์ของพวกอาตมา
ชื่อว่ารักขิตดาบส เป็นผู้มีปัญญามาก อยู่ ณ ดินแดนหิมพานต์
ท่านจักแก้มงคลปัญหานี้อย่างจับใจของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย.
พระราชาตรัสว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญทั้งหลาย
ชื่อว่าดินแดนหิมพานต์ไกลและไปยาก พวกข้าพเจ้าไม่อาจไปที่นั้นได้
ถ้าจะให้ดีแล้ว พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายนี่แหละจงไปสานักอาจารย์
5
ถามปัญหาแล้วเรียน จาไว้กลับมาบอกแก่พวกข้าพเจ้า.
ดาบสเหล่านั้นรับว่า ดีแล้ว แล้วไปสานักอาจารย์นมัสการแล้ว
เมื่ออาจารย์ทาปฏิสันถารแล้วถามถึงคุณธรรมของพระราชาและชนบทที่จาริกไป
จึงกราบเรียนอุบัติเหตุแห่งทิฏฐมงคลเป็ นต้นนั้นตั้งแต่ต้นมา
แล้วประกาศความที่พระราชาอาราธนา และตนอยากจะรู้ปัญหา จึงมาหาอาจารย์
วิงวอนว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอโอกาส
ขอท่านจงกล่าวมงคลปัญหาทาให้แจ่มแจ้งแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายเถิด.
ลาดับนั้น ดาบสอันเตวาสิกผู้ใหญ่ เมื่อจะถามอาจารย์ จึงกล่าวคาถาที่
๑ ว่า :-
นรชนรู้วิชาอะไรก็ดี รู้สุตะทั้งหลายอะไรก็ดี กระซิบถามกันว่า
อะไรเป็ นมงคล ในเวลาปรารถนามงคล นรชนนั้นจะทาอย่างไร
จึงจะเป็นผู้อันความสวัสดีคุ้มครองแล้วทั้งในโลกนี้และโลกหน้า.
ข้อนี้มีอธิบายว่า
ข้าแต่ท่านอาจารย์นรชนรู้เวทอะไร ในบรรดาเวท ๓ อย่างก็ดี
รู้สุตตปริยัติอะไรในระหว่างสุตะทั้งหลายก็ดี
เมื่อต้องการมงคลยังกระซิบถามกันอยู่ว่า อะไรเป็ นมงคลในเวลาปรารถนามงคล
นรชนนั้นจะทาอย่างไร คือในการกระซิบถามกันเป็นต้นเหล่านั้น จะทาอย่างไร
คือโดยนิยามอย่างไร จึงจะเป็ นผู้อันความสวัสดี
คืออันมงคลที่ปราศจากโทษคุ้มครองแล้ว คือรักษาแล้ว ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ขอท่านได้ถือเอาประโยชน์โลกนี้และประโยชน์โลกหน้า
แสดงอธิมงคลแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายเถิด.
ครั้นอันเตวาสิกผู้ใหญ่ถามมงคลปัญหาอย่างนี้แล้ว
พระมหาสัตว์เมื่อจะตัดความสงสัยของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
แสดงมงคลด้วยพุทธลีลาว่า นี้ด้วย นี้ด้วย เป็นมงคล.
จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
เทวดาและพรหมทั้งปวง ทีฆชาติและสรรพสัตว์ทั้งหลาย
อันบุคคลใดอ่อนน้อมอยู่เป็นนิจด้วยเมตตา บัณฑิตทั้งหลายกล่าว
เมตตาของบุคคลนั้นแลว่า เป็ นสวัสดิมงคลในสัตว์ทั้งหลาย.
จริงอยู่ บุคคลผู้มีปกติอยู่ด้วยเมตตา
ย่อมเป็นที่รักของสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง เป็ นผู้ไม่กาเริบเพราะความเพียร
ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ บุคคลนั้นจึงเป็นผู้อันมงคลนี้รักษาคุ้มครอง.
พระมหาสัตว์ ครั้นแสดงมงคลที่ ๑ ดังนี้แล้ว
เมื่อจะแสดงมงคลที่ ๒ เป็ นต้น จึงกล่าวคาถาทั้งหลายเหล่านี้ว่า :-
ผู้ใดประพฤติถ่อมตนแก่สัตวโลกทั้งปวงแก่หญิงและชายพร้อมทั้งเด็ก
เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคาชั่วร้าย ไม่กล่าวลาเลิกถึงเรื่องเก่าๆ
6
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความอดกลั้นของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดิมงคล.
ผู้ใดเป็ นผู้มีปัญญาดี มีความรู้ปรุโปร่งในเมื่อเหตุเกิดขึ้น
ไม่ดูหมิ่นมิตรสหายทั้งหลายด้วยศิลปะ สกุล ทรัพย์และด้วยชาติ
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการไม่ดูหมิ่นสหายของผู้นั้นว่า
เป็นสวัสดิมงคลในสหายทั้งหลาย.
สัตบุรุษทั้งหลายเป็นผู้ชอบพอคุ้นเคยกัน เป็ นมิตรแท้ของผู้ใด
ผู้มีคาพูดมั่นคง อนึ่ง ผู้ใด เป็ นผู้ไม่ประทุษร้ายมิตร
แบ่งปันทรัพย์ของตนให้แก่มิตร
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการได้ประโยชน์เพราะอาศัยมิตร
และการแบ่งปันของผู้นั้นว่า เป็ นสวัสดิมงคลในมิตรทั้งหลาย.
ภรรยาของผู้ใดมีวัยเสมอกัน อยู่ร่วมกันด้วยความปรองดอง
ประพฤติตามใจกัน เป็นคนใคร่ธรรม ไม่เป็นหญิงหมัน มีศีลโดยสมควรแก่สกุล
รู้จักปรนนิบัติสามี บัณฑิตทั้งหลายกล่าวคุณความดีในภรรยาของผู้นั้นว่า
เป็นสวัสดิมงคลในภรรยาทั้งหลาย.
พระราชาผู้เป็นเจ้าชีวิตทรงพระอิสริยยศ ทรงทราบความสะอาด
และความขยันหมั่นเพียรของราชเสวกคนใด และทรงทราบราชเสวกคนใด
ด้วยความเป็นผู้ไม่ร้าวรานกับพระองค์
และทรงทราบราชเสวกคนใดว่ามีความจงรักภักดีต่อพระองค์
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวคุณความดีของราชเสวกนั้นๆ ว่า
เป็นสวัสดิมงคลในพระราชาทั้งหลาย.
บุคคลใดมีศรัทธา ให้ข้าวน้า ให้ดอกไม้ของหอม และเครื่องลูบไล้
มีจิตเลื่อมใสบันเทิงใจ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวคุณข้อนั้นของบุคคลนั้นแลว่า
เป็นสวัสดิมงคลในสวรรค์ทั้งหลาย.
สัตบุรุษทั้งหลาย ผู้รู้แจ้งด้วยญาณ ผู้ยินดีแล้วในสัมมาปฏิบัติ
เป็ นพหูสูต แสวงหาคุณเป็ นผู้มีศีล ยังบุคคลใดให้บริสุทธิ์ด้วยอริยธรรม
บัณฑิตทั้งหลายยกย่องความดีของสัตบุรุษนั้นว่า
เป็นสวัสดิมงคลในท่ามกลางพระอรหันต์.
พระมหาสัตว์ถือเอายอดแห่งเทศนาด้วยพระอรหัต
แสดงมงคลแปดด้วยคาถา ๘ คาถาอย่างนี้แล้ว เมื่อจะสรรเสริญมงคลเหล่านั้น
จึงกล่าวคาถาสุดท้ายว่า :-
ความสวัสดีเหล่านี้แล
ผู้รู้สรรเสริญแล้วมีสุขเป็นผลกาไรในโลก นรชนผู้มีปัญญาพึงเสพความสวัสดีเหล่
านั้นไว้ในโลกนี้ ก็ในมงคลมีประเภท คือทิฏฐมงคล
สุตมงคลและมุตมงคล มงคลสักนิดหนึ่งที่จะเป็ นมงคลจริงๆ ไม่มีเลย.
พระฤๅษีทั้งหลายสดับมงคลเหล่านั้นแล้ว พอล่วงไปได้ ๗-๘ วัน
7
ก็พากันลาอาจารย์ไปในพระราชอุทยานนั้น.
พระราชาเสด็จไปสานักพระฤๅษีเหล่านั้น แล้วถามปัญหา
พระฤๅษีทั้งหลายได้กล่าวแก้มงคลปัญหา
ตามทานองที่อาจารย์บอกมาแด่พระราชา แล้วมาดินแดนหิมพานต์.
ตั้งแต่นั้นมา มงคลได้ปรากฏในโลก
ผู้ที่ประพฤติในข้อมงคลทั้งหลายตายไปได้เกิดในสวรรค์.
พระโพธิสัตว์เจริญพรหมวิหาร ๔ พาหมู่ฤๅษีไปเกิดในพรหมโลก.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นที่เรากล่าวแก้มงคลปัญหา
แม้ในกาลก่อนเราก็กล่าวแก้มงคลปัญหามาแล้ว ดังนี้.
แล้วทรงประชุมชาดกว่า
หมู่ฤๅษีในครั้งนั้น ได้มาเป็น พุทธบริษัท ในบัดนี้
อันเตวาสิกผู้ใหญ่ผู้ถามมงคลปัญหาในครั้งนั้น
ได้มาเป็น พระสารีบุตร ในบัดนี้
ส่วนอาจารย์ในครั้งนั้น ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถามหามังคลชาดกที่ ๑๕
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
Theeraphisith Candasaro
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕Rose Banioki
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
maruay songtanin
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 

Similar to 453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
 
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
 
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๖๑. ทุติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 

More from maruay songtanin

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 

453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๑๕. มหามังคลชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๕๓) ว่าด้วยมหามงคล (ศิษย์ผู้เป็นหัวหน้าถามอาจารย์ว่า) [๑๕๕] ในเวลาต้องการความเป็ นมงคล นรชนร่ายพระเวทอะไร นรชนนั้นเรียนพระเวทอะไร หรือบรรดาสุตะ เรียนสุตะบทไหน และกระทาอย่างไร จึงได้รับความคุ้มครองโดยสวัสดิภาพ ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า (พระโพธิสัตว์บอกมงคลว่า) [๑๕๖] เทวดาและเทพบิดรทั้งปวง สัตว์เลื้อยคลานและสรรพสัตว์ทั้งปวง อันผู้ใดแผ่เมตตาอยู่เป็นนิตย์ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการแผ่เมตตานั้นในสัตว์ทั้งหลายว่า เป็นความสวัสดีของผู้นั้น (พระโพธิสัตว์กล่าวมงคลต่อไปอีกว่า) [๑๕๗] ผู้ใดมีความประพฤติถ่อมตนต่อชาวโลกทั้งปวง คือ ต่อหญิงชายทั้งหลาย พร้อมทั้งพวกเด็ก เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคาที่หยาบคาย ไม่กล่าววาจาที่ขัดแย้ง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความอดกลั้นนั้นว่า เป็นความสวัสดีของผู้นั้น [๑๕๘] ผู้ใดมีปัญญา มีความรู้ ในเมื่อเหตุเกิดขึ้น ไม่ดูหมิ่นมิตรสหายโดยศิลปะ สกุล ทรัพย์ และโดยชาติ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความไม่ดูหมิ่นนั้นในสหายทั้งหลายว่า เป็นความสวัสดีของผู้นั้น [๑๕๙] ผู้ใดพูดจาไม่โกหก คบเพื่อนดี และไม่ประทุษร้ายมิตร แบ่งปันทรัพย์ของตนให้ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการกระทานั้นในมิตรทั้งหลายว่า เป็นความสวัสดีของผู้นั้น [๑๖๐] ผู้ใดมีภรรยาซึ่งมีวัยเท่าๆ กัน สามัคคีกัน คล้อยตามกัน เป็นผู้ใคร่ธรรม ให้กาเนิดลูกได้ เป็นหญิงมีสกุล มีศีล มีความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อสามี บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการประพฤตินั้นในภรรยาทั้งหลายว่า เป็นความสวัสดีของผู้นั้น [๑๖๑] ผู้ใดมีพระราชาผู้เป็นใหญ่กว่าหมู่ชน ทรงมีพระเกียรติยศ หยั่งรู้ความเป็ นผู้บริสุทธิ์ และความพากเพียร โดยปราศจากความคลางแคลงพระทัยว่า ผู้นี้เป็นเพื่อนร่วมใจของเรา
  • 2. 2 บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความไม่คลางแคลงพระทัยนั้นว่า เป็นความสวัสดีของผู้นั้นในพระราชาทั้งหลาย [๑๖๒] ผู้ใดมีศรัทธา มีจิตเลื่อมใส พลอยอนุโมทนา ให้ข้าวน้า ดอกไม้ของหอม และเครื่องลูบไล้เป็ นทาน บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการให้ทานนั้นว่า เป็นความสวัสดีของผู้นั้นในสวรรค์ [๑๖๓] ผู้ใดเป็นผู้คงแก่เรียนทั้งหลาย ผู้สาเร็จด้วยการประพฤติชอบ เป็นสัตบุรุษ ได้ยินได้ฟังมามาก เป็นผู้แสวงหาคุณความดี มีศีล ชาระล้างด้วยธรรมของพระอริยะ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการชาระล้างด้วยธรรมของพระอริยะนั้นว่า เป็นความสวัสดีในท่ามกลางพระอรหันต์ของผู้นั้น (พระโพธิสัตว์รวมยอดเทศนาด้วยพระอรหันต์ ตรัสมหามงคล ๘ ประการว่า) [๑๖๔] มงคลทั้ง ๘ ประการเหล่านี้เป็นความสวัสดีในโลก ที่ท่านผู้รู้สรรเสริญ มีความสุขเป็นกาไร ขอเชิญนรชนคนมีปัญญาในโลกประพฤติปฏิบัติมงคลเหล่านั้นเถิด เพราะในมงคลทางโลก ไม่มีอะไรจริงสักอย่างเดียว มหามังคลชาดกที่ ๑๕ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา มหามังคลชาดก ว่าด้วย มงคล พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภมหามงคลสูตร จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ความพิสดารว่า ในพระนครราชคฤห์ บุรุษผู้หนึ่งอยู่ท่ามกลางมหาชนที่ประชุมกัน ณ เรือนรับแขก พูดขึ้นว่า วันนี้มงคลกิริยาจะมีแก่เรา ดังนี้ แล้วลุกขึ้นเดินไปด้วยกรณียกิจอย่างหนึ่ง. บุรุษอีกคนหนึ่งได้ฟังคาบุรุษนั้นแล้วกล่าวว่า บุรุษนี้กล่าวว่ามงคล แล้วก็ไปเสีย อะไรหนอที่ชื่อว่ามงคล? บุรุษอีกคนหนึ่ง นอกจากสองคนที่กล่าวแล้วกล่าวว่า การเห็นรูปเป็ นมงคลอย่างยิ่ง ความจริงคนบางคนลุกขึ้นแต่เช้าทีเดียว ได้เห็นโคเผือกก็ดี หญิงมีครรภ์นอนอยู่ก็ดี ปลาตะเพียนก็ดี หม้อเต็มด้วยน้าก็ดี เนยข้นก็ดี เนยใสก็ดี ผ้าใหม่ก็ดี ข้าวปายาสก็ดี การเห็นอย่างนี้ชื่อว่าเป็นมงคล นอกจากนี้ไม่ชื่อว่าเป็นมงคล. คนบางพวกก็พากันยินดีถ้อยคาที่ผู้นั้นพูดว่า พูดถูก. อีกคนหนึ่งคัดค้านว่า นั่นไม่ใช่มงคล การสดับฟังชื่อว่าเป็ นมงคล
  • 3. 3 คนบางคนได้ฟังคาคนกล่าวว่า สมบูรณ์ เจริญ สบาย บริโภค เคี้ยวกิน ดังนี้ การได้ฟังอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นมงคล นอกจากนั้นไม่ชื่อว่าเป็นมงคล. คนบางพวกก็พากันยินดีถ้อยคานี้ผู้นั้นพูดว่า พูดถูก. อีกคนหนึ่งคัดค้านว่า นั่นไม่ใช่มงคล การจับต้องชื่อว่าเป็ นมงคล ความจริงคนบางคนลุกขึ้นแต่เช้าทีเดียว ได้จับต้องแผ่นดินหรือหญ้าเขียวๆ โคมัยสด ผ้าที่สะอาด ปลาตะเพียน ทอง เงิน หรือโภชนะ การจับต้องอย่างนี้ชื่อว่าเป็นมงคล นอกจากนี้ไม่ชื่อว่าเป็ นมงคล. คนบางพวกก็พากันยินดีถ้อยคาที่ผู้นั้นพูดว่า พูดถูก. คนทั้งหลายได้มีความเห็นแตกต่างกัน เป็ น ๓ จาพวก ๓ อย่างนี้ คือ พวกทิฏฐมังคลิกะ พวกสุตมังคลิกะ และพวกมุตมังคลิกะ ต่างไม่อาจมีความเห็นร่วมกันได้ เทวดาทั้งหลายตั้งต้นแต่ภุมมเทวดาตลอดถึงพรหมโลก ก็ไม่รู้โดยถ่องแท้ว่า สิ่งนี้เป็ นมงคล. ท้าวสักกะทรงพระดาริว่า ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก ผู้อื่นนอกจากพระผู้มีพระภาค ชื่อว่าสามารถที่จะกล่าวแก้มงคลปัญหานี้ได้ไม่มี เราจักเข้าเฝ้ าพระผู้มีพระภาคทูลถามปัญหานี้ ครั้นถึงเวลาราตรี ท้าวเธอจึงเข้าไปเฝ้ าพระศาสดา ถวายบังคมแล้วประคองอัญชลี ทูลถามปัญหาด้วยคาถาว่า พหู เทวา มนุสฺสา จ ดังนี้เป็ นต้น. ลาดับนั้น พระศาสดาตรัสมหามงคล ๓๘ ประการ ด้วยคาถา ๑๒ คาถาแก่ท้าวสักกะ เมื่อมงคลสูตรจบลง เทวดาประมาณแสนโกฏิได้บรรลุพระอรหัต ที่เป็นพระโสดาบันเป็ นต้นนับไม่ถ้วน. ท้าวสักกะทรงสดับมงคลแล้ว เสด็จไปวิมานของพระองค์. เมื่อพระศาสดาตรัสมงคลแล้ว มนุษย์พร้อมทั้งเทวดาก็พากันยินดีว่า ตรัสถูก. ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายประชุมกันสรรเสริญพระคุณของพระศาสดาในธรรมสภาว่า อาวุโสทั้งหลาย พระศาสดาทรงแก้มงคลปัญหาซึ่งพ้นวิสัยของผู้อื่น ตัดความราคาญใจของมนุษย์และเทวดาเสียได้ ดุจยังดวงจันทร์ให้ตั้งขึ้นในท้องฟ้ าฉะนั้น อาวุโสทั้งหลาย พระตถาคตทรงมีพระปัญญามากถึงเพียงนี้. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันถึงเรื่องอะไร? เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การแก้มงคลปัญหาของเราผู้บรรลุสัมโพธิญาณแล้วในบัดนี้ ไม่น่าอัศจรรย์
  • 4. 4 เรานั้นเมื่อครั้งยังเป็ นพระโพธิสัตว์ ประพฤติจริยธรรมอยู่ได้กล่าวแก้มงคลปัญหา ตัดความสงสัยของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเสียได้ ดังนี้. แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้อุบัติในตระกูลพราหมณ์ผู้สมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติในนิคมตาบล หนึ่ง มารดาบิดาได้ตั้งชื่อให้ว่า รักขิตกุมาร. รักขิตกุมารนั้น ครั้นเจริญวัย เรียนศิลปะที่เมืองตักกสิลาสาเร็จแล้ว มีภรรยา เมื่อมารดาบิดาล่วงลับไป จึงตรวจตราทรัพย์สมบัติ แล้วเกิดความสังเวชใจ ได้ให้ทานเป็นการใหญ่ ละกามเสีย บวชในดินแดนหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิด มีเผือกมันและผลไม้ในป่าเป็ นอาหาร อยู่ ณ ประเทศแห่งหนึ่ง. พระโพธิสัตว์ได้มีอันเตวาสิกมาเป็ นบริวารมากขึ้น โดยลาดับถึง ๕๐๐ คน. อยู่มาวันหนึ่ง ดาบสเหล่านั้นเข้าไปหาพระโพธิสัตว์ นมัสการแล้วกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ สมัยเมื่อเป็นฤดูฝน ข้าพเจ้าทั้งหลายจักลงจากหิมวันตประเทศ จาริกไปตามชนบท เพื่อเสพรสเค็มและรสเปรี้ยว ด้วยอาการอย่างนี้ ร่างกายของพวกข้าพเจ้าจักแข็งแรง ทั้งจักเป็นการพักแข้งด้วย. เมื่อพระโพธิสัตว์กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น พวกท่านจงไปกันเถิด เราจักอยู่ที่นี่แหละ ดาบสเหล่านั้นจึงนมัสการพระโพธิสัตว์ แล้วลงจากดินแดนหิมพานต์ จาริกไปถึงพระนครพาราณสี อยู่ในพระราชอุทยาน สักการะและความนับถือได้มีแก่ดาบสเหล่านั้นเป็นอันมาก. ภายหลังวันหนึ่ง มหาชนประชุมกันที่เรือนรับแขกในพระนครพาราณสี ตั้งมงคลปัญหาขึ้น ข้อความทั้งหมดพึงทราบตามนัยแห่งเรื่องในปัจจุบันนั่นแหละ. ก็ในคราวนั้น มหาชนไม่เห็นผู้ที่สามารถจะแก้มงคลปัญหา ตัดความสงสัยของพวกมนุษย์ได้ จึงพากันไปพระราชอุทยาน ถามมงคลปัญหากะหมู่ฤๅษี. ฤๅษีทั้งหลายจึงปรึกษากะพระราชาว่า มหาบพิตร อาตมาทั้งหลายไม่อาจแก้มงคลปัญหานี้ได้ แต่อาจารย์ของพวกอาตมา ชื่อว่ารักขิตดาบส เป็นผู้มีปัญญามาก อยู่ ณ ดินแดนหิมพานต์ ท่านจักแก้มงคลปัญหานี้อย่างจับใจของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย. พระราชาตรัสว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ชื่อว่าดินแดนหิมพานต์ไกลและไปยาก พวกข้าพเจ้าไม่อาจไปที่นั้นได้ ถ้าจะให้ดีแล้ว พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายนี่แหละจงไปสานักอาจารย์
  • 5. 5 ถามปัญหาแล้วเรียน จาไว้กลับมาบอกแก่พวกข้าพเจ้า. ดาบสเหล่านั้นรับว่า ดีแล้ว แล้วไปสานักอาจารย์นมัสการแล้ว เมื่ออาจารย์ทาปฏิสันถารแล้วถามถึงคุณธรรมของพระราชาและชนบทที่จาริกไป จึงกราบเรียนอุบัติเหตุแห่งทิฏฐมงคลเป็ นต้นนั้นตั้งแต่ต้นมา แล้วประกาศความที่พระราชาอาราธนา และตนอยากจะรู้ปัญหา จึงมาหาอาจารย์ วิงวอนว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอโอกาส ขอท่านจงกล่าวมงคลปัญหาทาให้แจ่มแจ้งแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายเถิด. ลาดับนั้น ดาบสอันเตวาสิกผู้ใหญ่ เมื่อจะถามอาจารย์ จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :- นรชนรู้วิชาอะไรก็ดี รู้สุตะทั้งหลายอะไรก็ดี กระซิบถามกันว่า อะไรเป็ นมงคล ในเวลาปรารถนามงคล นรชนนั้นจะทาอย่างไร จึงจะเป็นผู้อันความสวัสดีคุ้มครองแล้วทั้งในโลกนี้และโลกหน้า. ข้อนี้มีอธิบายว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์นรชนรู้เวทอะไร ในบรรดาเวท ๓ อย่างก็ดี รู้สุตตปริยัติอะไรในระหว่างสุตะทั้งหลายก็ดี เมื่อต้องการมงคลยังกระซิบถามกันอยู่ว่า อะไรเป็ นมงคลในเวลาปรารถนามงคล นรชนนั้นจะทาอย่างไร คือในการกระซิบถามกันเป็นต้นเหล่านั้น จะทาอย่างไร คือโดยนิยามอย่างไร จึงจะเป็ นผู้อันความสวัสดี คืออันมงคลที่ปราศจากโทษคุ้มครองแล้ว คือรักษาแล้ว ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ขอท่านได้ถือเอาประโยชน์โลกนี้และประโยชน์โลกหน้า แสดงอธิมงคลแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายเถิด. ครั้นอันเตวาสิกผู้ใหญ่ถามมงคลปัญหาอย่างนี้แล้ว พระมหาสัตว์เมื่อจะตัดความสงสัยของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย แสดงมงคลด้วยพุทธลีลาว่า นี้ด้วย นี้ด้วย เป็นมงคล. จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :- เทวดาและพรหมทั้งปวง ทีฆชาติและสรรพสัตว์ทั้งหลาย อันบุคคลใดอ่อนน้อมอยู่เป็นนิจด้วยเมตตา บัณฑิตทั้งหลายกล่าว เมตตาของบุคคลนั้นแลว่า เป็ นสวัสดิมงคลในสัตว์ทั้งหลาย. จริงอยู่ บุคคลผู้มีปกติอยู่ด้วยเมตตา ย่อมเป็นที่รักของสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง เป็ นผู้ไม่กาเริบเพราะความเพียร ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ บุคคลนั้นจึงเป็นผู้อันมงคลนี้รักษาคุ้มครอง. พระมหาสัตว์ ครั้นแสดงมงคลที่ ๑ ดังนี้แล้ว เมื่อจะแสดงมงคลที่ ๒ เป็ นต้น จึงกล่าวคาถาทั้งหลายเหล่านี้ว่า :- ผู้ใดประพฤติถ่อมตนแก่สัตวโลกทั้งปวงแก่หญิงและชายพร้อมทั้งเด็ก เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคาชั่วร้าย ไม่กล่าวลาเลิกถึงเรื่องเก่าๆ
  • 6. 6 บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความอดกลั้นของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดิมงคล. ผู้ใดเป็ นผู้มีปัญญาดี มีความรู้ปรุโปร่งในเมื่อเหตุเกิดขึ้น ไม่ดูหมิ่นมิตรสหายทั้งหลายด้วยศิลปะ สกุล ทรัพย์และด้วยชาติ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการไม่ดูหมิ่นสหายของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดิมงคลในสหายทั้งหลาย. สัตบุรุษทั้งหลายเป็นผู้ชอบพอคุ้นเคยกัน เป็ นมิตรแท้ของผู้ใด ผู้มีคาพูดมั่นคง อนึ่ง ผู้ใด เป็ นผู้ไม่ประทุษร้ายมิตร แบ่งปันทรัพย์ของตนให้แก่มิตร บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการได้ประโยชน์เพราะอาศัยมิตร และการแบ่งปันของผู้นั้นว่า เป็ นสวัสดิมงคลในมิตรทั้งหลาย. ภรรยาของผู้ใดมีวัยเสมอกัน อยู่ร่วมกันด้วยความปรองดอง ประพฤติตามใจกัน เป็นคนใคร่ธรรม ไม่เป็นหญิงหมัน มีศีลโดยสมควรแก่สกุล รู้จักปรนนิบัติสามี บัณฑิตทั้งหลายกล่าวคุณความดีในภรรยาของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดิมงคลในภรรยาทั้งหลาย. พระราชาผู้เป็นเจ้าชีวิตทรงพระอิสริยยศ ทรงทราบความสะอาด และความขยันหมั่นเพียรของราชเสวกคนใด และทรงทราบราชเสวกคนใด ด้วยความเป็นผู้ไม่ร้าวรานกับพระองค์ และทรงทราบราชเสวกคนใดว่ามีความจงรักภักดีต่อพระองค์ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวคุณความดีของราชเสวกนั้นๆ ว่า เป็นสวัสดิมงคลในพระราชาทั้งหลาย. บุคคลใดมีศรัทธา ให้ข้าวน้า ให้ดอกไม้ของหอม และเครื่องลูบไล้ มีจิตเลื่อมใสบันเทิงใจ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวคุณข้อนั้นของบุคคลนั้นแลว่า เป็นสวัสดิมงคลในสวรรค์ทั้งหลาย. สัตบุรุษทั้งหลาย ผู้รู้แจ้งด้วยญาณ ผู้ยินดีแล้วในสัมมาปฏิบัติ เป็ นพหูสูต แสวงหาคุณเป็ นผู้มีศีล ยังบุคคลใดให้บริสุทธิ์ด้วยอริยธรรม บัณฑิตทั้งหลายยกย่องความดีของสัตบุรุษนั้นว่า เป็นสวัสดิมงคลในท่ามกลางพระอรหันต์. พระมหาสัตว์ถือเอายอดแห่งเทศนาด้วยพระอรหัต แสดงมงคลแปดด้วยคาถา ๘ คาถาอย่างนี้แล้ว เมื่อจะสรรเสริญมงคลเหล่านั้น จึงกล่าวคาถาสุดท้ายว่า :- ความสวัสดีเหล่านี้แล ผู้รู้สรรเสริญแล้วมีสุขเป็นผลกาไรในโลก นรชนผู้มีปัญญาพึงเสพความสวัสดีเหล่ านั้นไว้ในโลกนี้ ก็ในมงคลมีประเภท คือทิฏฐมงคล สุตมงคลและมุตมงคล มงคลสักนิดหนึ่งที่จะเป็ นมงคลจริงๆ ไม่มีเลย. พระฤๅษีทั้งหลายสดับมงคลเหล่านั้นแล้ว พอล่วงไปได้ ๗-๘ วัน
  • 7. 7 ก็พากันลาอาจารย์ไปในพระราชอุทยานนั้น. พระราชาเสด็จไปสานักพระฤๅษีเหล่านั้น แล้วถามปัญหา พระฤๅษีทั้งหลายได้กล่าวแก้มงคลปัญหา ตามทานองที่อาจารย์บอกมาแด่พระราชา แล้วมาดินแดนหิมพานต์. ตั้งแต่นั้นมา มงคลได้ปรากฏในโลก ผู้ที่ประพฤติในข้อมงคลทั้งหลายตายไปได้เกิดในสวรรค์. พระโพธิสัตว์เจริญพรหมวิหาร ๔ พาหมู่ฤๅษีไปเกิดในพรหมโลก. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นที่เรากล่าวแก้มงคลปัญหา แม้ในกาลก่อนเราก็กล่าวแก้มงคลปัญหามาแล้ว ดังนี้. แล้วทรงประชุมชาดกว่า หมู่ฤๅษีในครั้งนั้น ได้มาเป็น พุทธบริษัท ในบัดนี้ อันเตวาสิกผู้ใหญ่ผู้ถามมงคลปัญหาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระสารีบุตร ในบัดนี้ ส่วนอาจารย์ในครั้งนั้น ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถามหามังคลชาดกที่ ๑๕ -----------------------------------------------------