SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก
ตอนที่ ๑๒ อานันทเถราปทาน
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๑๐. อานันทเถราปทาน
ประวัติในอดีตชาติของพระอานนทเถระ
เกริ่นนา
ราชกุมารนี้ จักเป็นพระญาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นธงชัยแห่งศากยะตระกูล มีนามว่า
อานนท์ เป็นอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่
(พระอานนทเถระ เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า)
[๖๔๔] พระมหามุนีพระนามว่าปทุมุตตระ เสด็จออกจากประตูอารามแล้ว ทรงบันดาลฝนคืออมต
ธรรมให้ตก ให้มหาชนสงบเย็นแล้ว
[๖๔๕] พระขีณาสพ ๑๐๐,๐๐๐ รูปเหล่านั้น ผู้เป็นนักปราชญ์ สาเร็จอภิญญา ๖ มีฤทธิ์มาก
แวดล้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดุจเงาติดตามพระองค์
[๖๔๖] ข้าพเจ้าได้นั่งกั้นเศวตฉัตรอันประเสริฐเลิศอยู่บนคอช้าง เพราะได้เห็นพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้าผู้มีพระรูปงดงาม ข้าพเจ้าจึงเกิดความปีติยินดี
[๖๔๗] ข้าพเจ้าจึงลงจากคอช้างแล้วเข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้องอาจกว่านรชน ข้าพเจ้าได้
กั้นฉัตรแก้วของข้าพเจ้าถวายพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด
[๖๔๘] พระผู้มีพระภาคพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้ทรงแสวงหาคุณยิ่งใหญ่ ทรงทราบความดาริของ
ข้าพเจ้า จึงทรงพักการแสดงธรรมกถาไว้แล้วได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ ว่า
[๖๔๙] เราจักพยากรณ์ราชกุมาร ผู้ที่ได้กั้นฉัตรอันประดับด้วยเครื่องอลังการทองนั้น ท่าน
ทั้งหลายจงฟังเรากล่าวเถิด
[๖๕๐] ราชกุมารนี้ จุติจากมนุษยโลกนี้ แล้ว จักไปครองสวรรค์ชั้นดุสิต มีเหล่านางเทพอัปสรห้อม
ล้อมเสวยสมบัติ
[๖๕๑] จักครองเทวสมบัติ ๓๔ ชาติ จักเป็นพระเจ้าแผ่นดินครองแผ่นดิน ๑๐๘ ชาติ
[๖๕๒] จักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๘ ชาติ จักครองความเป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ใน
แผ่นดิน
2
[๖๕๓] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ (นับจากกัปนี้ ไป) พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรง
สมภพในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติในโลก
[๖๕๔] ราชกุมารนี้ จักเป็นพระญาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นธงชัยแห่งศากยะตระกูล มี
นามว่าอานนท์ เป็นอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่
[๖๕๕] มีความเพียร มีปัญญารักษาตน เฉลียวฉลาดในพาหุสัจจะ ประพฤติถ่อมตน ไม่แข็ง
กระด้าง เป็นผู้ทรงไว้ซึ่งปาฐะทั้งปวง
[๖๕๖] พระอานนท์นั้นมีจิตเด็ดเดี่ยวบาเพ็ญเพียร เป็นผู้สงบระงับ ไม่มีอุปธิ กาหนดรู้อาสวะทั้ง
ปวงเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน
[๖๕๗] ช้างกุญชรเกิดในป่า เป็นช้างตระกูลมาตังคะ เสื่อมกาลังเมื่ออายุ ๖๐ ปี ตกมัน ๓ แห่ง มี
งางอนงาม ควรเป็นราชพาหนะ ฉันใด
[๖๕๘] แม้บัณฑิตหลายแสนรูปก็ฉันนั้น มีฤทธิ์มาก ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์ผู้ประเสริฐของ
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ท่านเหล่านั้นไม่เป็นเช่นนั้น ในการตัดสินใจ
[๖๕๙] ข้าพเจ้าเป็นผู้มีจิตเลื่อมใสมีใจยินดีนอบน้อม ทั้งในปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม
เป็นอุปัฏฐากพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด
[๖๖๐] ข้าพเจ้ามีความเพียร มีปัญญารักษาตน มีสติสัมปชัญญะ บรรลุโสดาปัตติผล เฉลียวฉลาด
ในเสขภูมิ
[๖๖๑] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป ข้าพเจ้าได้สร้างกรรมใดไว้ ข้าพเจ้าได้บรรลุถึงภูมิแห่ง
กรรมนั้นแล้ว ศรัทธาที่ตั้งมั่นแล้วมีผลมาก
[๖๖๒] การที่ข้าพเจ้าได้มาในสานักของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด เป็นการมาดีแล้วโดยแท้
วิชชา ๓ ข้าพเจ้าได้บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว
[๖๖๓] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ข้าพเจ้าได้ทาให้แจ้งแล้ว
คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล
ได้ทราบว่า ท่านพระอานนทเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้
อานนทเถราปทานที่ ๑๐ จบ
---------------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
เถราปทาน ๑. พุทธวรรค
พรรณนาอานันทเถราปทาน
แม้พระเถระนี้ ก็ได้กระทาบุญญาธิการไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ก่อสร้างบุญทั้งหลายอันเป็น
อุปนิสัยแก่วิวัฏฏะไว้ในภพนั้น ๆ ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ บังเกิดเป็นน้องชาย
3
ต่างมารดากับพระศาสดา ในนครหังสวดี เขาได้มีชื่อว่า สุมนะ.
ก็พระบิดาของสุมนะนั้นเป็นพระราชาพระนามว่านันทะ. พระเจ้านันทราชนั้น เมื่อสุมนกุมารผู้
เป็นโอรสของพระองค์เจริญวัยแล้ว จึงได้ประทานโภคนครให้ในที่ประมาณ ๒๐ โยชน์ จากนครหังสวดีไป.
สุมนกุมารนั้นมาเฝ้าพระศาสดาและพระบิดาในบางครั้งบางคราว.
ครั้งนั้น พระราชาทรงบารุงพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ประมาณหนึ่งแสนโดยเคารพด้วยพระองค์
เอง ไม่ยอมให้คนอื่นบารุง.
สมัยนั้น ปัจจันตชนบทกาเริบขึ้น พระกุมารไม่กราบทูลพระราชาถึงความที่ปัจจันตชนบทกาเริบ
เสด็จไประงับเสียเอง.
พระราชาได้สดับดังนั้นดีพระทัยตรัสว่า นี่แน่ะพ่อ พ่อจะให้พรเจ้า เจ้าจงรับเอา.
พระกุมารกราบทูลว่า ข้าพระองค์ปรารถนาเพื่อจะบารุงพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ กระทาชีวิต
ไม่ให้เป็นหมัน. พระราชาตรัสว่า ข้อนั้นเจ้าไม่อาจได้ จงบอกอย่างอื่นเถิด.
พระกุมารกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ธรรมดาว่ากษัตริย์ทั้งหลายไม่มีพระดารัสเป็นสอง ขอ
พระองค์จงประทานการบารุงพระศาสดานั้นแก่ข้าพระองค์ ข้าพระองค์ไม่ต้องการอย่างอื่น. ถ้าพระศาสดา
ทรงอนุญาต ก็เป็นอันทรงประทานเถิดพระเจ้าข้า.
พระกุมารนั้นจึงเสด็จไปยังพระวิหารด้วยทรงหวังว่า จักหยั่งรู้น้าพระทัยของพระศาสดา.
ก็สมัยนั้น พระศาสดากาลังเสด็จเข้าไปยังพระคันธกุฎี. พระกุมารเสด็จเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย
แล้วตรัสว่า ท่านผู้เจริญ โยมมาเพื่อจะเฝ้าพระศาสดา ขอท่านทั้งหลายจงแสดงพระศาสดาแก่โยมด้วยเถิด.
ภิกษุทั้งหลายทูลว่า พระเถระชื่อว่าสุมนะเป็นพระอุปัฏฐากของพระศาสดา พระองค์จงเสด็จไปยังสานักของ
พระเถระนั้น. พระกุมารจึงเสด็จไปยังสานักของพระเถระแล้วตรัสว่า ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงแสดงพระ
ศาสดา.
ลาดับนั้น พระเถระ เมื่อพระกุมารทรงเห็นอยู่นั่นเอง ได้ดาดินเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
แล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระราชบุตรเสด็จมาเพื่อจะขอเฝ้าพระองค์.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ ถ้าอย่างนั้นเธอจงปูลาดอาสนะไว้ข้างนอก. พระเถระถือเอาพุทธ
อาสน์อีกที่หนึ่ง แล้วดาลงในภายในพระคันธกุฎี เมื่อพระกุมารนั้นทรงเห็นอยู่ ก็ปรากฏขึ้น ณ ที่บริเวณ
ภายนอก แล้วปูลาดอาสนะในบริเวณพระคันธกุฎี.
พระกุมารเห็นดังนั้น จึงทาความคิดให้เกิดขึ้นว่า ภิกษุนี้ ยิ่งใหญ่หนอ.
ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากพระคันธกุฎี ประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว้. พระราช
บุตรถวายบังคมพระศาสดา ทรงทาปฏิสันถารแล้วทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเถระนี้ เห็นจะเป็นที่
โปรดปรานในพระศาสนาของพระองค์.
พระศาสดาตรัสว่า ถวายพระพร พระกุมารเธอเป็นที่โปรดปราน. พระราชบุตรทูลถามว่า พระ
เถระนี้ เป็นที่โปรดปราน เพราะกระทากรรมอะไร พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า เพราะทาบุญมีให้ทานเป็นต้น.
พระราชบุตรนั้นทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า แม้กระหม่อมฉันก็ใคร่จะเป็นที่โปรดปรานใน
4
ศาสนาของพระพุทธเจ้าในอนาคต เหมือนพระเถระนี้ แล้วถวายภัตตาหารแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็น
ประธาน ณ ที่กองค่ายพัก ตลอด ๗ วัน.
ในวันที่ ๗ กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กระหม่อมฉันได้พรสาหรับปรนนิบัติพระองค์ ๓
เดือนจากสานักพระราชบิดา ขอพระองค์จงรับนิมนต์การอยู่จาพรรษาเพื่อหม่อมฉันตลอด ๓ เดือน ทรง
ทราบว่าพระศาสดาทรงรับนิมนต์แล้ว จึงพาพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมทั้งบริวารไป แล้วให้สร้างวิหาร
ทั้งหลายอันเหมาะสมที่จะเป็นที่อยู่ของพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ ไว้ในที่ระยะหนึ่งโยชน์ๆ แล้วนิมนต์ให้
ประทับอยู่ในวิหารนั้นๆ แล้วนิมนต์ให้เสด็จเข้าไปประทับยังวิหารที่สร้างด้วยทรัพย์แสนหนึ่ง ในอุทยานชื่อ
ว่าโสภณะ ซึ่งซื้อไว้ด้วยทรัพย์แสนหนึ่ง ณ ที่ใกล้สถานที่ประทับของพระองค์ แล้วหลั่งน้าให้ตกลงด้วยพระ
ดารัสว่า
ข้าแต่พระมหามุนี อุทยานชื่อว่าโสภณะนี้ กระหม่อมฉัน ซื้อไว้ด้วยทรัพย์แสนหนึ่ง แล้วให้สร้าง
ด้วยทรัพย์อีกแสนหนึ่ง ขอพระองค์ได้โปรดรับไว้เถิด.
ในวันใกล้วันเข้าพรรษา พระราชบุตรได้ยังมหาทานให้เป็นไปแด่พระศาสดา แล้วทรงชักชวน
โอรส พระชายาและเหล่าอามาตย์ ในการให้ทาน และการกระทากิจการว่า ท่านทั้งหลายพึงให้ทานโดย
วิหารนี้ ส่วนพระองค์เองประทับอยู่ที่ใกล้ๆ กับสถานที่อยู่ของพระสุมนเถระ ทรงบารุงพระศาสดาตลอดไตร
มาส ณ สถานที่ประทับอยู่ของพระองค์ ด้วยประการอย่างนี้ .
ก็เมื่อจวนจะใกล้วันปวารณา จึงเสด็จเข้าไปยังหมู่บ้านยังมหาทานให้เป็นไปตลอด ๗ วัน ใน
วันที่ ๗ ทรงวางไตรจีวรไว้แทบบาทมูลของพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ ทรงนมัสการแล้วได้ทรงกระทาความ
ปรารถนาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุญที่กระหม่อมฉันทาเริ่มมาตั้งแต่กองค่ายนั้น จะกระทาเพื่อประโยชน์
แก่สักกสมบัติเป็นต้นก็หามิได้ โดยที่แท้ กระหม่อมฉันพึงเป็นอุปัฏฐากที่โปรดปรานของพระพุทธเจ้าองค์
หนึ่งในอนาคต เหมือนพระสุมนเถระนี้ .
พระศาสดาทรงเห็นว่าความปรารถนานั้นไม่มีอันตราย จึงทรงพยากรณ์แล้วเสด็จหลีกไป.
ในพุทธุปบาทกาลนั้น เขาทาบุญอยู่ถึงแสนปี แม้ต่อจากพุทธุปบาทกาลนั้นไป ก็ได้สั่งสมบุญ
กรรมไว้เหลือหลายในภพนั้นๆ ท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ครั้นในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระ
นามว่า กัสสป จึงมาเกิดในเรือนของผู้มีสกุล ถึงความเป็นผู้รู้เดียงสาแล้ว ได้เอาผ้าอุตราสงค์มาทาการบูชา
เพื่อจะรับบาตรของพระเถระรูปหนึ่งผู้กาลังเที่ยวบิณฑบาตอยู่.
เขากลับไปเกิดในสวรรค์อีก จุติจากสวรรค์แล้วมาเป็นพระเจ้าพาราณสี ได้เห็นพระปัจเจกพุทธ
เจ้า ๘ องค์ จึงนิมนต์ให้พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นให้ฉัน เสร็จแล้วให้สร้างบรรณศาลา ๘ หลังไว้ในอุทยาน
อันเป็นมงคลของพระองค์ แล้วมอบถวายตั่งอันสาเร็จด้วยรัตนะทั้งหมด กับเชิงรองอันเป็นแก้วมณี ๘ สารับ
เพื่อให้เป็นที่นั่งของพระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น แล้วทาการอุปัฏฐากอยู่ถึงหมื่นปี. การกระทาดังนี้ ได้
ปรากฏแล้ว.
เขาก่อสร้างบุญทั้งหลายไว้ในภพนั้นๆ ถึงแสนกัป ได้บังเกิดในสวรรค์ชั้นดุสิต พร้อมกับพระ
โพธิสัตว์ของพวกเราทั้งหลาย จุติจากภพดุสิตนั้นแล้วมาบังเกิดในพระราชมณเฑียรของพระเจ้าอมิโตทน
ศากยะ ได้นามว่า อานนท์ เพราะเกิดมาทาพวกพระญาติให้ยินดี.
5
อานนท์นั้นเจริญวัยขึ้นโดยลาดับ เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทาการเสด็จออกอภิเนษกรมณ์
ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ทรงประกาศ พระธรรมจักรอันประเสริฐ แล้วเสด็จไปยังนครกบิลพัสดุ์
เป็นครั้งแรก เสร็จแล้วเสด็จออกจากนครกบิลพัสดุ์นั้น จึงออกไปพร้อมกับเจ้าภัททิยะเป็นต้นผู้เสด็จออกบวช
เพื่อเป็นบริวารของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น แล้วบวชในสานักของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ได้ฟังธรรมกถาใน
สานักของท่านพระปุณณมันตานีบุตร จึงดารงอยู่ในโสดาปัตติผล.
ก็สมัยนั้น ในปฐมโพธิกาล พระผู้มีพระภาคเจ้ายังไม่มีอุปัฏฐากประจาเป็นเวลา ๒๐ พรรษา.
บางคราวท่านพระนาคสมาละถือบาตรจีวรเที่ยวไป. บางคราวพระนาคิตะ, บางคราวพระอุปวาณะ, บาง
คราวพระสุนักขัตตะ, บางคราวพระจุนทะสมณุทเทส, บางคราวพระสาคิตะ, บางคราวพระเมฆิยะ ท่าน
เหล่านั้น โดยมากพระศาสดาไม่ทรงโปรด.
อยู่มาวันหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าอันภิกษุสงฆ์แวดล้อมประทับนั่งอยู่บนบวรพุทธอาสน์อันเขาปู
ลาดไว้ในบริเวณพระคันธกุฎี ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราเป็นคนแก่แล้ว. ภิกษุบางพวก เมื่อเรากล่าวว่าจะไปทางนี้ กลับไป
ทางอื่น บางพวกวางบาตรจีวรของเราไว้ที่พื้น พวกท่านจงเลือกภิกษุสักรูปหนึ่งให้เป็นอุปัฏฐากประจาตัวเรา.
ภิกษุทั้งหลายได้ฟังดังนั้นเกิดธรรมสังเวช.
ลาดับนั้น ท่านพระสารีบุตรลุกขึ้นถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์
ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักบารุงพระองค์. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามท่านเสีย. โดยอุบายนี้ พระมหาสาวกทั้ง
ปวงมีพระมหาโมคคัลลานะเป็นต้น ยกเว้นท่านพระอานนท์ ต่างลุกขึ้นกราบทูลว่า ข้าพระองค์จักอุปัฏฐากๆ
แม้พระมหาสาวกเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงห้ามเสีย.
ส่วนพระอานนท์คงนั่งนิ่งอยู่.
ลาดับนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงกล่าวกะท่านพระอานนท์ว่า ท่านผู้มีอายุ แม้ตัวท่านก็จงทูลขอ
ตาแหน่งอุปัฏฐากพระศาสดาเถิด. พระอานนท์กล่าวว่า ขึ้นชื่อว่าการอุปัฏฐากที่ได้มาด้วยการขอ จะเป็นเช่น
ไร ถ้าทรงชอบพระทัย พระศาสดาก็จักตรัสบอกเอง.
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนอื่นๆ ไม่ต้องให้กาลังใจอานนท์
เธอรู้ตัวเองแล้วจักอุปัฏฐากเราเอง.
ลาดับนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงพากันกล่าวว่า ลุกขึ้นเถิด อาวุโสอานนท์ ท่านจงขอตาแหน่งอุปัฏฐาก
กะพระศาสดาเถิด.
พระเถระลุกขึ้นแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าจักไม่ประทานจีวร
อันประณีตที่ทรงได้แก่ข้าพระองค์ ๑ จักไม่ทรงประทานบิณฑบาตอันประณีต ๑ จักไม่ประทานให้อยู่ในพระ
คันธกุฎีเดียวกัน ๑ จักไม่ทรงพาไปยังที่นิมนต์ ๑ เมื่อเป็นอย่างนี้ ข้าพระองค์จักอุปัฏฐากพระผู้มีพระภาค
เจ้า.
การปฏิเสธ ๔ ข้อนี้ เพื่อจะปลดเปลื้องการติเตียนที่ว่า เมื่อได้คุณประโยชน์มีประมาณเท่านี้ การ
อุปัฏฐากพระศาสดาจะหนักหนาอะไร.
(พระอานนท์กราบทูลว่า) ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าจักเสด็จไปยังที่นิมนต์ที่
6
ข้าพระองค์ได้รับไว้ ๑ ข้าพระองค์จะได้นาบุคคลผู้มาแล้วๆ จากประเทศอื่นเข้าเฝ้าในทันทีทันใด ๑ เมื่อใด
ข้าพระองค์เกิดความสงสัย ขอให้ได้เข้าเฝ้าถามพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ เมื่อนั้น ๑ ถ้าพระองค์จักทรง
พยากรณ์ธรรมที่ทรงแสดงในที่ลับหลังแก่ข้าพระองค์อีก ๑ เมื่อเป็นอย่างนี้ ข้าพระองค์จักอุปัฏฐากพระผู้มี
พระภาคเจ้า.
การขอ ๔ ข้อนี้ เพื่อจะปลดเปลื้องคาติเตียนที่ว่า แม้เรื่องเท่านี้ พระเถระก็ไม่ได้การอนุเคราะห์
ในสานักพระศาสดา และเพื่อจะทา ธรรมภัณฑาคาริก ขุนคลังธรรมให้บริบูรณ์
รวมความว่า พระเถระได้ พร ๘ ประการ นี้ จึงจะเป็นอุปัฏฐากประจา.
พระเถระได้บรรลุผลแห่งบารมีทั้งหลายที่ได้บาเพ็ญมาแสนกัป ก็เพื่อต้องการฐานันดรนั้น
เท่านั้น.
ตั้งแต่วันที่ได้ตาแหน่งอุปัฏฐาก พระเถระได้อุปัฏฐากพระทศพลด้วยกิจมีอาทิอย่างนี้ คือถวาย
น้าสรง ๒ ครั้ง ถวายไม้ชาระพระทนต์ ๓ ครั้ง บริกรรมพระหัตถ์และพระบาท บริกรรมพระปฤษฎางค์ และ
กวาดบริเวณพระคันธกุฎี เป็นผู้ท่องเที่ยวอยู่ในสานักตลอดภาคกลางวัน ด้วยหวังใจว่า เวลาชื่อนี้ พระ
ศาสดาควรได้สิ่งชื่อนี้ เราควรทากรรมชื่อนี้ .
ส่วนในภาคกลางคืน ได้ถือเอาประทีปด้ามดวงใหญ่ เดินไปรอบๆ บริเวณพระคันธกุฎี ๙ ครั้ง
เพื่อจะได้ถวายคาตอบในเมื่อพระศาสดาตรัสเรียก และเพื่อบรรเทาความง่วงเหงาหาวนอน.
ลาดับนั้น พระศาสดาประทับนั่งในท่ามกลางหมู่พระอริยเจ้าในพระเชตวัน ตรัสสรรเสริญพระ
อานนทเถระโดยอเนกปริยาย แล้วทรงตั้งไว้ในตาแหน่งเลิศแห่งภิกษุทั้งหลาย ผู้เป็นพหูสูต มีสติ มีคติ มีธิติ
และเป็นอุปัฏฐาก.
พระเถระนี้ อันพระศาสดาทรงตั้งไว้ในเอตทัคคะในฐานะ ๕ ฐานะด้วยประการอย่างนี้ เป็นผู้
ประกอบด้วยธรรมอันน่าอัศจรรย์ไม่เคยมี ๔ ประการ เป็นผู้รักษาคลังธรรมของพระศาสดา ทั้งที่ยังเป็นพระ
เสขะอยู่ทีเดียว.
เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแล้ว อันภิกษุทั้งหลายให้อาจหาญขึ้น และอันเทวดาให้สังเวชสลดใจ
โดยนัยดังกล่าวแล้วในหนหลัง คิดว่า ก็บัดนี้ พรุ่งนี้ แล้วหนอจะทาสังคายนาพระธรรม ก็ข้อที่เรายังเป็นพระ
เสขะมีกรณียะที่จะพึงทา จะไปยังที่ประชุมเพื่อสังคายนาพระธรรมกับพระเถระผู้เป็นอเสขะ ไม่สมควรเลย
จึงเกิดความอุตสาหะ เริ่มตั้งวิปัสสนา กระทาวิปัสสนากรรมอยู่ตลอดคืนยังรุ่ง ไม่ได้ความเพียรอันสม่าเสมอ
ในการจงกรม แต่นั้นจึงเข้าไปยังวิหารแล้วนั่งบนที่นอน มีความประสงค์จะนอนจึงเอนกายลง. ศีรษะยังไม่
ทันถึงหมอน, และเท้าพอพ้นจากพื้น ในระหว่างนี้ จิตก็หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายโดยไม่ถือมั่น ได้เป็นผู้มี
อภิญญา ๖.
พระเถระประกอบด้วยคุณมีอภิญญา ๖ เป็นต้นอย่างนี้ บรรลุตาแหน่งเอตทัคคะโดยคุณมีความ
เป็นอุปัฏฐากเป็นต้น ระลึกถึงบุพกรรมของตน เมื่อจะแสดงอปทานแห่งความประพฤติในกาลก่อนด้วยความ
โสมนัส จึงกล่าวคามีอาทิว่า อารามทฺวารา นิกฺขมฺม ดังนี้ .
จบพรรณนาอานันทเถราปทาน
7
----------------------------------------
-

More Related Content

Similar to (๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf

๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdfmaruay songtanin
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdfmaruay songtanin
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docxmaruay songtanin
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdf
๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdf๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdf
๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 

Similar to (๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf (20)

๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
 
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
 
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
 
๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdf
๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdf๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdf
๐๕ อุทุมพริกสูตร มจร.pdf
 

More from maruay songtanin

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfmaruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf

  • 1. 1 พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ตอนที่ ๑๒ อานันทเถราปทาน พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ ๑๐. อานันทเถราปทาน ประวัติในอดีตชาติของพระอานนทเถระ เกริ่นนา ราชกุมารนี้ จักเป็นพระญาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นธงชัยแห่งศากยะตระกูล มีนามว่า อานนท์ เป็นอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ (พระอานนทเถระ เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า) [๖๔๔] พระมหามุนีพระนามว่าปทุมุตตระ เสด็จออกจากประตูอารามแล้ว ทรงบันดาลฝนคืออมต ธรรมให้ตก ให้มหาชนสงบเย็นแล้ว [๖๔๕] พระขีณาสพ ๑๐๐,๐๐๐ รูปเหล่านั้น ผู้เป็นนักปราชญ์ สาเร็จอภิญญา ๖ มีฤทธิ์มาก แวดล้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดุจเงาติดตามพระองค์ [๖๔๖] ข้าพเจ้าได้นั่งกั้นเศวตฉัตรอันประเสริฐเลิศอยู่บนคอช้าง เพราะได้เห็นพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าผู้มีพระรูปงดงาม ข้าพเจ้าจึงเกิดความปีติยินดี [๖๔๗] ข้าพเจ้าจึงลงจากคอช้างแล้วเข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้องอาจกว่านรชน ข้าพเจ้าได้ กั้นฉัตรแก้วของข้าพเจ้าถวายพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด [๖๔๘] พระผู้มีพระภาคพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้ทรงแสวงหาคุณยิ่งใหญ่ ทรงทราบความดาริของ ข้าพเจ้า จึงทรงพักการแสดงธรรมกถาไว้แล้วได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ ว่า [๖๔๙] เราจักพยากรณ์ราชกุมาร ผู้ที่ได้กั้นฉัตรอันประดับด้วยเครื่องอลังการทองนั้น ท่าน ทั้งหลายจงฟังเรากล่าวเถิด [๖๕๐] ราชกุมารนี้ จุติจากมนุษยโลกนี้ แล้ว จักไปครองสวรรค์ชั้นดุสิต มีเหล่านางเทพอัปสรห้อม ล้อมเสวยสมบัติ [๖๕๑] จักครองเทวสมบัติ ๓๔ ชาติ จักเป็นพระเจ้าแผ่นดินครองแผ่นดิน ๑๐๘ ชาติ [๖๕๒] จักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๘ ชาติ จักครองความเป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ใน แผ่นดิน
  • 2. 2 [๖๕๓] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ (นับจากกัปนี้ ไป) พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรง สมภพในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติในโลก [๖๕๔] ราชกุมารนี้ จักเป็นพระญาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นธงชัยแห่งศากยะตระกูล มี นามว่าอานนท์ เป็นอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ [๖๕๕] มีความเพียร มีปัญญารักษาตน เฉลียวฉลาดในพาหุสัจจะ ประพฤติถ่อมตน ไม่แข็ง กระด้าง เป็นผู้ทรงไว้ซึ่งปาฐะทั้งปวง [๖๕๖] พระอานนท์นั้นมีจิตเด็ดเดี่ยวบาเพ็ญเพียร เป็นผู้สงบระงับ ไม่มีอุปธิ กาหนดรู้อาสวะทั้ง ปวงเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน [๖๕๗] ช้างกุญชรเกิดในป่า เป็นช้างตระกูลมาตังคะ เสื่อมกาลังเมื่ออายุ ๖๐ ปี ตกมัน ๓ แห่ง มี งางอนงาม ควรเป็นราชพาหนะ ฉันใด [๖๕๘] แม้บัณฑิตหลายแสนรูปก็ฉันนั้น มีฤทธิ์มาก ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์ผู้ประเสริฐของ พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ท่านเหล่านั้นไม่เป็นเช่นนั้น ในการตัดสินใจ [๖๕๙] ข้าพเจ้าเป็นผู้มีจิตเลื่อมใสมีใจยินดีนอบน้อม ทั้งในปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม เป็นอุปัฏฐากพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด [๖๖๐] ข้าพเจ้ามีความเพียร มีปัญญารักษาตน มีสติสัมปชัญญะ บรรลุโสดาปัตติผล เฉลียวฉลาด ในเสขภูมิ [๖๖๑] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป ข้าพเจ้าได้สร้างกรรมใดไว้ ข้าพเจ้าได้บรรลุถึงภูมิแห่ง กรรมนั้นแล้ว ศรัทธาที่ตั้งมั่นแล้วมีผลมาก [๖๖๒] การที่ข้าพเจ้าได้มาในสานักของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด เป็นการมาดีแล้วโดยแท้ วิชชา ๓ ข้าพเจ้าได้บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว [๖๖๓] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ข้าพเจ้าได้ทาให้แจ้งแล้ว คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล ได้ทราบว่า ท่านพระอานนทเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้ อานนทเถราปทานที่ ๑๐ จบ --------------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค พรรณนาอานันทเถราปทาน แม้พระเถระนี้ ก็ได้กระทาบุญญาธิการไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ก่อสร้างบุญทั้งหลายอันเป็น อุปนิสัยแก่วิวัฏฏะไว้ในภพนั้น ๆ ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ บังเกิดเป็นน้องชาย
  • 3. 3 ต่างมารดากับพระศาสดา ในนครหังสวดี เขาได้มีชื่อว่า สุมนะ. ก็พระบิดาของสุมนะนั้นเป็นพระราชาพระนามว่านันทะ. พระเจ้านันทราชนั้น เมื่อสุมนกุมารผู้ เป็นโอรสของพระองค์เจริญวัยแล้ว จึงได้ประทานโภคนครให้ในที่ประมาณ ๒๐ โยชน์ จากนครหังสวดีไป. สุมนกุมารนั้นมาเฝ้าพระศาสดาและพระบิดาในบางครั้งบางคราว. ครั้งนั้น พระราชาทรงบารุงพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ประมาณหนึ่งแสนโดยเคารพด้วยพระองค์ เอง ไม่ยอมให้คนอื่นบารุง. สมัยนั้น ปัจจันตชนบทกาเริบขึ้น พระกุมารไม่กราบทูลพระราชาถึงความที่ปัจจันตชนบทกาเริบ เสด็จไประงับเสียเอง. พระราชาได้สดับดังนั้นดีพระทัยตรัสว่า นี่แน่ะพ่อ พ่อจะให้พรเจ้า เจ้าจงรับเอา. พระกุมารกราบทูลว่า ข้าพระองค์ปรารถนาเพื่อจะบารุงพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ กระทาชีวิต ไม่ให้เป็นหมัน. พระราชาตรัสว่า ข้อนั้นเจ้าไม่อาจได้ จงบอกอย่างอื่นเถิด. พระกุมารกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ธรรมดาว่ากษัตริย์ทั้งหลายไม่มีพระดารัสเป็นสอง ขอ พระองค์จงประทานการบารุงพระศาสดานั้นแก่ข้าพระองค์ ข้าพระองค์ไม่ต้องการอย่างอื่น. ถ้าพระศาสดา ทรงอนุญาต ก็เป็นอันทรงประทานเถิดพระเจ้าข้า. พระกุมารนั้นจึงเสด็จไปยังพระวิหารด้วยทรงหวังว่า จักหยั่งรู้น้าพระทัยของพระศาสดา. ก็สมัยนั้น พระศาสดากาลังเสด็จเข้าไปยังพระคันธกุฎี. พระกุมารเสด็จเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วตรัสว่า ท่านผู้เจริญ โยมมาเพื่อจะเฝ้าพระศาสดา ขอท่านทั้งหลายจงแสดงพระศาสดาแก่โยมด้วยเถิด. ภิกษุทั้งหลายทูลว่า พระเถระชื่อว่าสุมนะเป็นพระอุปัฏฐากของพระศาสดา พระองค์จงเสด็จไปยังสานักของ พระเถระนั้น. พระกุมารจึงเสด็จไปยังสานักของพระเถระแล้วตรัสว่า ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงแสดงพระ ศาสดา. ลาดับนั้น พระเถระ เมื่อพระกุมารทรงเห็นอยู่นั่นเอง ได้ดาดินเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระราชบุตรเสด็จมาเพื่อจะขอเฝ้าพระองค์. พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ ถ้าอย่างนั้นเธอจงปูลาดอาสนะไว้ข้างนอก. พระเถระถือเอาพุทธ อาสน์อีกที่หนึ่ง แล้วดาลงในภายในพระคันธกุฎี เมื่อพระกุมารนั้นทรงเห็นอยู่ ก็ปรากฏขึ้น ณ ที่บริเวณ ภายนอก แล้วปูลาดอาสนะในบริเวณพระคันธกุฎี. พระกุมารเห็นดังนั้น จึงทาความคิดให้เกิดขึ้นว่า ภิกษุนี้ ยิ่งใหญ่หนอ. ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากพระคันธกุฎี ประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว้. พระราช บุตรถวายบังคมพระศาสดา ทรงทาปฏิสันถารแล้วทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเถระนี้ เห็นจะเป็นที่ โปรดปรานในพระศาสนาของพระองค์. พระศาสดาตรัสว่า ถวายพระพร พระกุมารเธอเป็นที่โปรดปราน. พระราชบุตรทูลถามว่า พระ เถระนี้ เป็นที่โปรดปราน เพราะกระทากรรมอะไร พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสว่า เพราะทาบุญมีให้ทานเป็นต้น. พระราชบุตรนั้นทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า แม้กระหม่อมฉันก็ใคร่จะเป็นที่โปรดปรานใน
  • 4. 4 ศาสนาของพระพุทธเจ้าในอนาคต เหมือนพระเถระนี้ แล้วถวายภัตตาหารแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็น ประธาน ณ ที่กองค่ายพัก ตลอด ๗ วัน. ในวันที่ ๗ กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กระหม่อมฉันได้พรสาหรับปรนนิบัติพระองค์ ๓ เดือนจากสานักพระราชบิดา ขอพระองค์จงรับนิมนต์การอยู่จาพรรษาเพื่อหม่อมฉันตลอด ๓ เดือน ทรง ทราบว่าพระศาสดาทรงรับนิมนต์แล้ว จึงพาพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมทั้งบริวารไป แล้วให้สร้างวิหาร ทั้งหลายอันเหมาะสมที่จะเป็นที่อยู่ของพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ ไว้ในที่ระยะหนึ่งโยชน์ๆ แล้วนิมนต์ให้ ประทับอยู่ในวิหารนั้นๆ แล้วนิมนต์ให้เสด็จเข้าไปประทับยังวิหารที่สร้างด้วยทรัพย์แสนหนึ่ง ในอุทยานชื่อ ว่าโสภณะ ซึ่งซื้อไว้ด้วยทรัพย์แสนหนึ่ง ณ ที่ใกล้สถานที่ประทับของพระองค์ แล้วหลั่งน้าให้ตกลงด้วยพระ ดารัสว่า ข้าแต่พระมหามุนี อุทยานชื่อว่าโสภณะนี้ กระหม่อมฉัน ซื้อไว้ด้วยทรัพย์แสนหนึ่ง แล้วให้สร้าง ด้วยทรัพย์อีกแสนหนึ่ง ขอพระองค์ได้โปรดรับไว้เถิด. ในวันใกล้วันเข้าพรรษา พระราชบุตรได้ยังมหาทานให้เป็นไปแด่พระศาสดา แล้วทรงชักชวน โอรส พระชายาและเหล่าอามาตย์ ในการให้ทาน และการกระทากิจการว่า ท่านทั้งหลายพึงให้ทานโดย วิหารนี้ ส่วนพระองค์เองประทับอยู่ที่ใกล้ๆ กับสถานที่อยู่ของพระสุมนเถระ ทรงบารุงพระศาสดาตลอดไตร มาส ณ สถานที่ประทับอยู่ของพระองค์ ด้วยประการอย่างนี้ . ก็เมื่อจวนจะใกล้วันปวารณา จึงเสด็จเข้าไปยังหมู่บ้านยังมหาทานให้เป็นไปตลอด ๗ วัน ใน วันที่ ๗ ทรงวางไตรจีวรไว้แทบบาทมูลของพระศาสดาและภิกษุสงฆ์ ทรงนมัสการแล้วได้ทรงกระทาความ ปรารถนาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุญที่กระหม่อมฉันทาเริ่มมาตั้งแต่กองค่ายนั้น จะกระทาเพื่อประโยชน์ แก่สักกสมบัติเป็นต้นก็หามิได้ โดยที่แท้ กระหม่อมฉันพึงเป็นอุปัฏฐากที่โปรดปรานของพระพุทธเจ้าองค์ หนึ่งในอนาคต เหมือนพระสุมนเถระนี้ . พระศาสดาทรงเห็นว่าความปรารถนานั้นไม่มีอันตราย จึงทรงพยากรณ์แล้วเสด็จหลีกไป. ในพุทธุปบาทกาลนั้น เขาทาบุญอยู่ถึงแสนปี แม้ต่อจากพุทธุปบาทกาลนั้นไป ก็ได้สั่งสมบุญ กรรมไว้เหลือหลายในภพนั้นๆ ท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ครั้นในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระ นามว่า กัสสป จึงมาเกิดในเรือนของผู้มีสกุล ถึงความเป็นผู้รู้เดียงสาแล้ว ได้เอาผ้าอุตราสงค์มาทาการบูชา เพื่อจะรับบาตรของพระเถระรูปหนึ่งผู้กาลังเที่ยวบิณฑบาตอยู่. เขากลับไปเกิดในสวรรค์อีก จุติจากสวรรค์แล้วมาเป็นพระเจ้าพาราณสี ได้เห็นพระปัจเจกพุทธ เจ้า ๘ องค์ จึงนิมนต์ให้พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นให้ฉัน เสร็จแล้วให้สร้างบรรณศาลา ๘ หลังไว้ในอุทยาน อันเป็นมงคลของพระองค์ แล้วมอบถวายตั่งอันสาเร็จด้วยรัตนะทั้งหมด กับเชิงรองอันเป็นแก้วมณี ๘ สารับ เพื่อให้เป็นที่นั่งของพระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น แล้วทาการอุปัฏฐากอยู่ถึงหมื่นปี. การกระทาดังนี้ ได้ ปรากฏแล้ว. เขาก่อสร้างบุญทั้งหลายไว้ในภพนั้นๆ ถึงแสนกัป ได้บังเกิดในสวรรค์ชั้นดุสิต พร้อมกับพระ โพธิสัตว์ของพวกเราทั้งหลาย จุติจากภพดุสิตนั้นแล้วมาบังเกิดในพระราชมณเฑียรของพระเจ้าอมิโตทน ศากยะ ได้นามว่า อานนท์ เพราะเกิดมาทาพวกพระญาติให้ยินดี.
  • 5. 5 อานนท์นั้นเจริญวัยขึ้นโดยลาดับ เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทาการเสด็จออกอภิเนษกรมณ์ ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ทรงประกาศ พระธรรมจักรอันประเสริฐ แล้วเสด็จไปยังนครกบิลพัสดุ์ เป็นครั้งแรก เสร็จแล้วเสด็จออกจากนครกบิลพัสดุ์นั้น จึงออกไปพร้อมกับเจ้าภัททิยะเป็นต้นผู้เสด็จออกบวช เพื่อเป็นบริวารของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น แล้วบวชในสานักของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ได้ฟังธรรมกถาใน สานักของท่านพระปุณณมันตานีบุตร จึงดารงอยู่ในโสดาปัตติผล. ก็สมัยนั้น ในปฐมโพธิกาล พระผู้มีพระภาคเจ้ายังไม่มีอุปัฏฐากประจาเป็นเวลา ๒๐ พรรษา. บางคราวท่านพระนาคสมาละถือบาตรจีวรเที่ยวไป. บางคราวพระนาคิตะ, บางคราวพระอุปวาณะ, บาง คราวพระสุนักขัตตะ, บางคราวพระจุนทะสมณุทเทส, บางคราวพระสาคิตะ, บางคราวพระเมฆิยะ ท่าน เหล่านั้น โดยมากพระศาสดาไม่ทรงโปรด. อยู่มาวันหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าอันภิกษุสงฆ์แวดล้อมประทับนั่งอยู่บนบวรพุทธอาสน์อันเขาปู ลาดไว้ในบริเวณพระคันธกุฎี ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราเป็นคนแก่แล้ว. ภิกษุบางพวก เมื่อเรากล่าวว่าจะไปทางนี้ กลับไป ทางอื่น บางพวกวางบาตรจีวรของเราไว้ที่พื้น พวกท่านจงเลือกภิกษุสักรูปหนึ่งให้เป็นอุปัฏฐากประจาตัวเรา. ภิกษุทั้งหลายได้ฟังดังนั้นเกิดธรรมสังเวช. ลาดับนั้น ท่านพระสารีบุตรลุกขึ้นถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักบารุงพระองค์. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามท่านเสีย. โดยอุบายนี้ พระมหาสาวกทั้ง ปวงมีพระมหาโมคคัลลานะเป็นต้น ยกเว้นท่านพระอานนท์ ต่างลุกขึ้นกราบทูลว่า ข้าพระองค์จักอุปัฏฐากๆ แม้พระมหาสาวกเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงห้ามเสีย. ส่วนพระอานนท์คงนั่งนิ่งอยู่. ลาดับนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงกล่าวกะท่านพระอานนท์ว่า ท่านผู้มีอายุ แม้ตัวท่านก็จงทูลขอ ตาแหน่งอุปัฏฐากพระศาสดาเถิด. พระอานนท์กล่าวว่า ขึ้นชื่อว่าการอุปัฏฐากที่ได้มาด้วยการขอ จะเป็นเช่น ไร ถ้าทรงชอบพระทัย พระศาสดาก็จักตรัสบอกเอง. ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนอื่นๆ ไม่ต้องให้กาลังใจอานนท์ เธอรู้ตัวเองแล้วจักอุปัฏฐากเราเอง. ลาดับนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงพากันกล่าวว่า ลุกขึ้นเถิด อาวุโสอานนท์ ท่านจงขอตาแหน่งอุปัฏฐาก กะพระศาสดาเถิด. พระเถระลุกขึ้นแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าจักไม่ประทานจีวร อันประณีตที่ทรงได้แก่ข้าพระองค์ ๑ จักไม่ทรงประทานบิณฑบาตอันประณีต ๑ จักไม่ประทานให้อยู่ในพระ คันธกุฎีเดียวกัน ๑ จักไม่ทรงพาไปยังที่นิมนต์ ๑ เมื่อเป็นอย่างนี้ ข้าพระองค์จักอุปัฏฐากพระผู้มีพระภาค เจ้า. การปฏิเสธ ๔ ข้อนี้ เพื่อจะปลดเปลื้องการติเตียนที่ว่า เมื่อได้คุณประโยชน์มีประมาณเท่านี้ การ อุปัฏฐากพระศาสดาจะหนักหนาอะไร. (พระอานนท์กราบทูลว่า) ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าจักเสด็จไปยังที่นิมนต์ที่
  • 6. 6 ข้าพระองค์ได้รับไว้ ๑ ข้าพระองค์จะได้นาบุคคลผู้มาแล้วๆ จากประเทศอื่นเข้าเฝ้าในทันทีทันใด ๑ เมื่อใด ข้าพระองค์เกิดความสงสัย ขอให้ได้เข้าเฝ้าถามพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ เมื่อนั้น ๑ ถ้าพระองค์จักทรง พยากรณ์ธรรมที่ทรงแสดงในที่ลับหลังแก่ข้าพระองค์อีก ๑ เมื่อเป็นอย่างนี้ ข้าพระองค์จักอุปัฏฐากพระผู้มี พระภาคเจ้า. การขอ ๔ ข้อนี้ เพื่อจะปลดเปลื้องคาติเตียนที่ว่า แม้เรื่องเท่านี้ พระเถระก็ไม่ได้การอนุเคราะห์ ในสานักพระศาสดา และเพื่อจะทา ธรรมภัณฑาคาริก ขุนคลังธรรมให้บริบูรณ์ รวมความว่า พระเถระได้ พร ๘ ประการ นี้ จึงจะเป็นอุปัฏฐากประจา. พระเถระได้บรรลุผลแห่งบารมีทั้งหลายที่ได้บาเพ็ญมาแสนกัป ก็เพื่อต้องการฐานันดรนั้น เท่านั้น. ตั้งแต่วันที่ได้ตาแหน่งอุปัฏฐาก พระเถระได้อุปัฏฐากพระทศพลด้วยกิจมีอาทิอย่างนี้ คือถวาย น้าสรง ๒ ครั้ง ถวายไม้ชาระพระทนต์ ๓ ครั้ง บริกรรมพระหัตถ์และพระบาท บริกรรมพระปฤษฎางค์ และ กวาดบริเวณพระคันธกุฎี เป็นผู้ท่องเที่ยวอยู่ในสานักตลอดภาคกลางวัน ด้วยหวังใจว่า เวลาชื่อนี้ พระ ศาสดาควรได้สิ่งชื่อนี้ เราควรทากรรมชื่อนี้ . ส่วนในภาคกลางคืน ได้ถือเอาประทีปด้ามดวงใหญ่ เดินไปรอบๆ บริเวณพระคันธกุฎี ๙ ครั้ง เพื่อจะได้ถวายคาตอบในเมื่อพระศาสดาตรัสเรียก และเพื่อบรรเทาความง่วงเหงาหาวนอน. ลาดับนั้น พระศาสดาประทับนั่งในท่ามกลางหมู่พระอริยเจ้าในพระเชตวัน ตรัสสรรเสริญพระ อานนทเถระโดยอเนกปริยาย แล้วทรงตั้งไว้ในตาแหน่งเลิศแห่งภิกษุทั้งหลาย ผู้เป็นพหูสูต มีสติ มีคติ มีธิติ และเป็นอุปัฏฐาก. พระเถระนี้ อันพระศาสดาทรงตั้งไว้ในเอตทัคคะในฐานะ ๕ ฐานะด้วยประการอย่างนี้ เป็นผู้ ประกอบด้วยธรรมอันน่าอัศจรรย์ไม่เคยมี ๔ ประการ เป็นผู้รักษาคลังธรรมของพระศาสดา ทั้งที่ยังเป็นพระ เสขะอยู่ทีเดียว. เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแล้ว อันภิกษุทั้งหลายให้อาจหาญขึ้น และอันเทวดาให้สังเวชสลดใจ โดยนัยดังกล่าวแล้วในหนหลัง คิดว่า ก็บัดนี้ พรุ่งนี้ แล้วหนอจะทาสังคายนาพระธรรม ก็ข้อที่เรายังเป็นพระ เสขะมีกรณียะที่จะพึงทา จะไปยังที่ประชุมเพื่อสังคายนาพระธรรมกับพระเถระผู้เป็นอเสขะ ไม่สมควรเลย จึงเกิดความอุตสาหะ เริ่มตั้งวิปัสสนา กระทาวิปัสสนากรรมอยู่ตลอดคืนยังรุ่ง ไม่ได้ความเพียรอันสม่าเสมอ ในการจงกรม แต่นั้นจึงเข้าไปยังวิหารแล้วนั่งบนที่นอน มีความประสงค์จะนอนจึงเอนกายลง. ศีรษะยังไม่ ทันถึงหมอน, และเท้าพอพ้นจากพื้น ในระหว่างนี้ จิตก็หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายโดยไม่ถือมั่น ได้เป็นผู้มี อภิญญา ๖. พระเถระประกอบด้วยคุณมีอภิญญา ๖ เป็นต้นอย่างนี้ บรรลุตาแหน่งเอตทัคคะโดยคุณมีความ เป็นอุปัฏฐากเป็นต้น ระลึกถึงบุพกรรมของตน เมื่อจะแสดงอปทานแห่งความประพฤติในกาลก่อนด้วยความ โสมนัส จึงกล่าวคามีอาทิว่า อารามทฺวารา นิกฺขมฺม ดังนี้ . จบพรรณนาอานันทเถราปทาน