SlideShare a Scribd company logo
1
มหาอุกกุสชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๓. มหาอุกกุสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๘๖)
ว่าด้วยพญานกออกช่วยเพื่อน
(แม่เหยี่ยวพูดกับพญาเหยี่ยวว่า)
[๔๔] พวกชาวชนบทพากันมัดคบเพลิงอยู่บนเกาะ
ประสงค์จะกินลูกน้อยๆ ของเรา พี่พญาเหยี่ยว ขอท่านจงไปบอกมิตรสหาย
เล่าถึงความพินาศแห่งหมู่ญาติของนกทั้งหลาย
(เหยี่ยวนั้นถูกถามจึงแสดงเหตุที่ต้องมาว่า)
[๔๕] ข้าแต่พญานกออก (พญานกออก
หมายถึงชื่อนกเหยี่ยวขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ชอบหากินปลาในทะเล) ราชปักษี
ท่านนะเป็ นนกที่ประเสริฐกว่านกทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอยึดท่านเป็ นที่พึ่ง
พวกนายพรานชาวชนบทประสงค์จะกินลูกน้อยๆ ของข้าพเจ้า
เพื่อความสุขของข้าพเจ้า ขอท่านจงเป็ นที่พึ่งด้วยเถิด
(พญานกออกตอบเหยี่ยวว่า)
[๔๖] บัณฑิตทั้งหลายผู้แสวงหาความสุขอยู่
ย่อมคบมิตรสหายทั้งในกาลและมิใช่กาล เจ้าเหยี่ยว
เราจะทาตามความประสงค์ของเจ้านั้น เพราะว่าคนดีจะต้องช่วยเหลือคนดี
(เหยี่ยวฟังดังนั้นแล้วเข้าไปหาพญานกออกพลางเชื้อเชิญว่า)
[๔๗] กิจอันใดเป็นกิจที่คนดีจะพึงกระทาให้คนดี
ด้วยความอนุเคราะห์กิจอันนี้ท่านก็ได้ทาแล้ว ท่านจงถนอมตัวไว้เถิด
อย่าได้เดือดร้อนไปเลย เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ข้าพเจ้าก็จะได้ลูกต่อไป
(พญานกออกบันลือสีหนาทว่า)
[๔๘] เราเมื่อจะกระทาการรักษาป้ องกันท่านนั้น
แม้ตัวจะตายก็ไม่หวาดหวั่น เพราะเพื่อนทั้งหลายเหล่านั้นจะต้องสละชีวิต
กระทาเพื่อเพื่อนทั้งหลาย นี้เป็นธรรมของสัตบุรุษ
(พระศาสดาทรงสรรเสริญคุณของพญานกออกนั้นว่า)
[๔๙] พญานกออกตัวนี้เกิดจากฟองไข่ ได้ทากรรมที่ทาได้ยาก
เพื่อต้องการจะช่วยลูกนกทั้งหลายเกือบเที่ยงคืน
(ฝ่ายเหยี่ยวไปหาเต่าแล้วกล่าวว่า)
[๕๐] จริงอยู่
คนบางพวกแม้จะเคลื่อนคลาดพลาดพลั้งจากการงานของตน
ก็ยังดารงตนอยู่ได้เพราะความช่วยเหลือของมิตรทั้งหลาย ลูกๆ
2
ของข้าพเจ้ามีความเดือดร้อน ข้าพเจ้าจึงมาหาท่านให้เป็ นที่พึ่ง ท่านพญาเต่า
ขอท่านบาเพ็ญสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
(เต่าฟังแล้วกล่าวว่า)
[๕๑] บัณฑิตทั้งหลายย่อมทาการผูกมิตรผูกสหาย ด้วยทรัพย์บ้าง
ด้วยข้าวเปลือกบ้าง ด้วยตนบ้าง พญาเหยี่ยว เราจะทาสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ท่าน
เพราะว่าคนดีจะต้องช่วยเหลือคนดี
(ลูกเต่านอนอยู่ไม่ไกลได้ยินบิดาพูด จึงกล่าวว่า)
[๕๒] คุณพ่อ ขอพ่อจงขวนขวายน้อยนั่งอยู่เฉยๆ เถิด
ลูกจะช่วยบาเพ็ญประโยชน์แทนพ่อ ลูกจะป้ องกันลูกน้อยๆ ของพญาเหยี่ยว
บาเพ็ญประโยชน์นั้นแทนพ่อเอง
(พ่อเต่ากล่าวกับลูกว่า)
[๕๓] ลูกรัก จริงอยู่ การที่ลูกพึงช่วยเหลือ บาเพ็ญประโยชน์แทนพ่อนั้น
เป็นธรรมของสัตบุรุษโดยแท้ บางทีพวกนายพรานเห็นพ่อซึ่งมีร่างกายใหญ่โต
ก็จะไม่พึงเบียดเบียนลูกนกน้อยๆ ของพญาเหยี่ยว
(เหยี่ยวไปหาราชสีห์เมื่อถูกถาม จึงกล่าวว่า)
[๕๔] ท่านผู้ประเสริฐกว่าเนื้อผู้กล้าหาญ
สัตว์ดิรัจฉานและมนุษย์เดือดร้อน เพราะภยันตรายย่อมเข้าไปหาท่านผู้ประเสริฐ
ลูกน้อยๆ ของข้าพเจ้ามีความเดือดร้อน ข้าพเจ้าจึงมาหาท่านให้เป็ นที่พึ่ง
ท่านเป็นราชาของข้าพเจ้า เพื่อความสุขของข้าพเจ้า ขอท่านจงเป็ นที่พึ่งด้วยเถิด
(ราชสีห์ฟังแล้วกล่าวว่า)
[๕๕] เหยี่ยว เราจะทาสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ท่าน
เรามาก็เพื่อจะฆ่าหมู่ศัตรูของท่าน ธรรมดาวิญญูชนผู้มีความสามารถรู้อยู่
จะไม่พยายามคุ้มครองมิตรผู้เสมอด้วยตนได้อย่างไร
(แม่เหยี่ยวประกาศมิตตธรรมว่า)
[๕๖] เพื่อบรรลุถึงความสุข บุคคลควรคบมิตรสหายผู้มีใจดี
และบุคคลผู้เป็นเจ้านาย เราทั้งหลายเป็ นผู้พร้อมเพรียงกับลูกๆ บันเทิงใจอยู่
เหมือนคนสวมเกราะป้ องกันลูกศร
[๕๗] ลูกนกน้อยๆ ส่งเสียงคูขันอยู่อย่างไพเราะจับใจ
ต้อนรับเราและท่านผู้กาลังคูขัน
เพราะการกระทาของมิตรสหายผู้ไม่หนีไปของตน
[๕๘] บัณฑิตนั้นได้มิตรสหายแล้วย่อมป้ องกันลูก ปศุสัตว์
หรือทรัพย์ไว้ได้ ข้าพเจ้า ลูกๆ และสามีของข้าพเจ้าอยู่พร้อมหน้ากัน
เพราะความช่วยเหลือของมิตรทั้งหลาย
3
[๕๙] อันบุคคลผู้มีเจ้านายและเพื่อนผู้กล้าหาญอาจจะได้รับประโยชน์
สาหรับผู้ที่มีเพื่อนพรั่งพร้อมก็จะมีเพื่อนร่วมงานเช่นนี้ เขาก็จะมีมิตร มียศ
มีความรุ่งเรือง บันเทิงใจอยู่ในโลกนี้ นะพี่ที่รัก
[๖๐] พี่เสนกะ ควรจะผูกมิตรแม้กับคนยากจน ดูเถิด
พวกเรามาพร้อมเพรียงกับหมู่ญาติได้เพราะความช่วยเหลือของมิตร
[๖๑] นกตัวใดผูกมิตรไว้กับมิตรผู้กล้าหาญและมิตรผู้มีกาลัง
นกตัวนั้นย่อมมีความสุขเหมือนอย่างฉันและท่าน นะพี่เสนกะ
มหาอุกกุสชาดกที่ ๓ จบ
------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
มหาอุกกุสชาดก
ว่าด้วย สัตว์ ๔ สหาย
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระมหาวิหารเชตวัน
ทรงพระปรารภอุบาสกผู้ผูกมิตร ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ได้ยินว่า อุบาสกนั้นเป็นบุตรแห่งตระกูลเก่าแก่ในพระนครสาวัตถี
ส่งสหายไปให้ขอกุลธิดาคนหนึ่ง. กุลธิดานั้นถามว่า
ก็มิตรและสหายที่สามารถแบ่งเบากิจที่เกิดขึ้นของเขามีไหมละ.
ตอบว่า ไม่มี.
ครั้นกุลธิดานั้นกล่าวคาว่า ถ้าเช่นนั้น เขาต้องผูกมิตรไว้ก่อนเถิด.
เขาตั้งอยู่ในคาตักเตือนนั้น เริ่มกระทาไมตรีกับคนเฝ้ าประตูทั้งสี่ก่อน
แล้วได้กระทาไมตรีกับหน่วยคุ้มกันพระนคร และอิสรชนมีมหาอามาตย์เป็นต้น
แม้กับท่านเสนาบดีและกับพระอุปราชก็กระทาไมตรีไว้ด้วย
ครั้นเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันกับชนเหล่านั้นได้
ก็กระทาไมตรีกับพระราชาโดยลาดับ ต่อจากนั้น
ก็ได้กระทาไมตรีกับพระมหาเถระ ๘๐ องค์
เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันได้กับพระอานนท์ ก็ได้กระทาไมตรีกับพระตถาคตเจ้า.
ทีนั้นพระศาสดาก็ทรงโปรดให้เขาดารงในสรณะและศีล
พระราชาเล่าก็โปรดประทานอิสริยยศแก่เขา
เขาเลยปรากฏนามว่า มิตตคันถกะ นั่นแหละ. ครั้งนั้น
พระราชาประทานเรือนหลังใหญ่แก่เขา โปรดให้กระทาอาวาหมงคล.
มหาชนตั้งต้นแต่พระราชาส่งบรรณาการให้เขา
ครั้งนั้นภรรยาของเขาก็ส่งบรรณาการที่พระราชาทรงประทาน
ไปถวายแด่พระอุปราช
ส่งบรรณาการที่พระอุปราชส่งประทานไปให้แก่เสนาบดีเป็นลาดับไป
ด้วยอุบายนี้แหละ ได้ผูกพันชาวพระนครทั่วหน้าไว้ได้.
4
ในวันที่เจ็ดจัดมหาสักการะ เชิญเสด็จพระทศพล
ถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์ประมาณ ๕๐๐ รูปมีพระพุทธเจ้าเป็ นประมุข
เวลาเสร็จภัตกิจ ฟังพระดารัสอนุโมทนาที่พระศาสดาตรัส
คู่สามีภรรยาก็ดารงในโสดาปัตติผล.
พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย
อุบาสกมิตตคันถกะ อาศัยภรรยาของตน ฟังคาของนาง
ทาไมตรีกับคนทั้งปวงได้สมบัติมากจากสานักพระราชา
ทาไมตรีกับพระตถาคตเจ้า ก็ดารงในโสดาปัตติผลทั้งคู่.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อกี้เธอนั่งสนทนาด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นที่อุบาสกนี้อาศัยมาตุคามถึงยศใหญ่
แม้ในครั้งก่อน เขาบังเกิดในกาเนิดดิรัจฉาน
กระทาไมตรีกับสัตว์เป็นอันมากตามคาของนาง พ้นจากความโศกเพราะบุตรได้
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลอาราธนา ทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล ครั้งหนึ่งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในนครพาราณสี
ชาวปัจจันตชนบทเหล่านั้นได้เนื้อมากๆ ในที่ใดๆ ก็พากันตั้งบ้านขึ้นในที่นั้นๆ
แล้วพากันเที่ยวในป่าฆ่ามฤคเป็นต้น ขนเนื้อมาเลี้ยงลูกเมีย.
ในไม่ไกลจากบ้านของพวกนั้น มีสระใหญ่เกิดเองอยู่
ด้านขวาของสระนั้นมีเหยี่ยวตัวหนึ่ง ด้านหลังมีนางเหยี่ยวตัวหนึ่ง
ด้านเหนือมีราชสีห์ ด้านตะวันออกมีพญานกออกอาศัยอยู่ ส่วนในที่ตื้นกลางสระ
เต่าอาศัยอยู่.
ครั้งนั้น เหยี่ยวกล่าวกับนางเหยี่ยวว่า เป็นภรรยาข้าเถิด.
นางเหยี่ยวจึงกล่าวกะเขาว่า ก็แกมีเพื่อนบ้างไหมล่ะ.
ตอบว่า ไม่มีเลย.
นางกล่าวว่า เมื่อภัยหรือทุกข์บังเกิดแก่เรา
เราต้องได้มิตรหรือสหายช่วยแบ่งเบา จึงจะควร แกต้องผูกมิตรก่อนเถิด.
ถามว่า นางผู้เจริญ เราจะทาไมตรีกับใครเล่า.
ตอบว่า แกจงทาไมตรีกับพญานกออกที่อยู่ด้านตะวันออก กับราชสีห์ที่
อยู่ด้านเหนือ กับเต่าที่อยู่กลางสระ. เขาฟังคาของนางแล้วรับคา
ได้กระทาตามนั้น.
ครั้งนั้น เหยี่ยวทั้งคู่ก็ได้จัดแจงที่อยู่ เขาพากันทารังอาศัยอยู่ ณ
ต้นกระทุ่ม อันอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งในสระนั้นเอง มีน้าล้อมรอบ.
ครั้นต่อมาเหยี่ยวทั้งคู่ก็ได้ให้กาเนิดลูกน้อยสองตัว.
ขณะที่ลูกเหยี่ยวทั้งสองยังไม่มีขนปีกนั้นเอง
วันหนึ่งชาวชนบทเหล่านั้นพากันตระเวนป่าตลอดวัน ไม่ได้เนื้ออะไรๆ เลย
5
คิดกันว่า พวกเราไม่อาจไปเรือนอย่างมือเปล่าได้ ต้องจับปลาหรือเต่าไปให้ได้
พากันลงสระไปถึงเกาะนั้น นอนที่โคนต้นกระทุ่มต้นนั้น
เมื่อถูกยุงเป็นต้นรุมกัดก็ช่วยกันสีไฟก่อไฟ ทาควันเพื่อไล่ยุงเป็นต้นเหล่านั้น.
ควันก็ขึ้นไปรมนกทั้งหลาย. ลูกนกก็พากันร้อง ชาวชนบทได้ยินเสียงต่างกล่าวว่า
ชาวเราเอ๋ย เสียงลูกนก ขึ้นซี มัดคบเถิด หิวจนทนไม่ไหว
กินเนื้อนกแล้วค่อยนอนกัน พลางก่อไฟให้ลุกแล้วช่วยกันมัดคบ.
แม่นกได้ยินเสียงพวกนั้นคิดว่า คนพวกนี้ต้องการจะกินลูกของเรา
เราผูกมิตรไว้เพื่อกาจัดภัยทานองนี้ ต้องส่งผัวไปหาพญานกออกแล้วกล่าวว่า
ไปเถิดนายจ๋า ภัยบังเกิดแก่ลูกของเราแล้วละ จงบอกแก่พญานกออกเถิด
พลางกล่าวคาถาต้นว่า
พรานชาวชนบทพากันมัดคบเพลิงอยู่บนเกาะ
ปรารถนาจะกินลูกน้อยของเรา ข้าแต่พญาเหยี่ยว ท่านจงบอกมิตรและสหาย
จงแจ้งความพินาศแห่งหมู่ญาติของเรา.
พ่อเหยี่ยวนั้นบินไปที่อยู่ของพญานกออกโดยเร็ว
แล้วขันบอกให้รู้การที่ตนมา ได้รับโอกาส ก็เข้าไปไหว้ ถูกถามว่า เจ้ามาทาไม
เมื่อแสดงเหตุที่ต้องมา กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า
ข้าแต่พญานกออก ท่านเป็นนกประเสริฐกว่านกทั้งหลาย
ข้าพเจ้าขอยึดท่านเป็ นที่พึ่ง
พวกพรานชาวชนบทปรารถนาจะกินลูกน้อยของข้าพเจ้า
ขอท่านจงช่วยให้ข้าพเจ้าได้รับความสุขเถิด.
พญานกออกปลอบเหยี่ยวว่า อย่ากลัวเลย แล้วกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า
บัณฑิตทั้งหลายผู้แสวงหาความสุข ทั้งในกาลและไม่ใช่กาล
ย่อมทาบุคคลให้เป็นมิตรสหาย ดูก่อนเหยี่ยว
ฉันจะกระทาประโยชน์อันนี้แก่ท่านจงได้ ที่จริง
อริยชนย่อมกระทากิจให้แก่อริยชน.
ลาดับนั้น พญานกออกถามเหยี่ยวว่า
พวกคนป่าพากันขึ้นต้นไม้แล้วหรือสหาย. ก็ตอบว่า ตอนนั้นยังไม่ได้ขึ้น
กาลังพากันมัดคบเท่านั้น. บอกว่า ถ้าเช่นนั้น เจ้าจงรีบไปปลอบแม่สหายของเรา
บอกถึงการมาของเราไว้เถิด. เหยี่ยวทาอย่างนั้น.
ฝ่ายพญานกออกก็บินมาจับที่ยอดไม้ต้นหนึ่ง
มองดูทางขึ้นของพวกชาวป่าไม่ไกลต้นกระทุ่ม
เวลาที่ชาวป่าคนหนึ่งขึ้นต้นกระทุ่ม ใกล้จะถึงรังก็ดาลงในสระ
เอาน้ามาด้วยปีกและด้วยปาก รดราดบนคบเสีย คบนั้นก็ดับ. พวกชาวป่ากล่าวว่า
พวกเราต้องกินเหยี่ยวตัวนี้ด้วย กินลูกของมันด้วยแล้วถอยลง จุดคบให้ลุก
พากันปีนขึ้นไปใหม่. พญานกออกก็เอาน้ามาดับเสียอีก.
6
เมื่อพญานกออกใช้อุบายนี้ดับคบที่ผูกแล้วๆ เวลาก็ล่วงไปถึงเที่ยงคืน.
พญานกออกเหน็ดเหนื่อยยิ่งนัก พังผืดภายใต้ท้องหย่อน ตาทั้งคู่แดงก่า
แม่เหยี่ยวเห็นแล้วกล่าวกะผัวว่า นายจ๋า พญานกออกลาบากเหลือเกินแล้ว พี่
เจ้าจงไปบอกพญาเต่าเถิด เพื่อให้พญานกออกพักผ่อนได้บ้าง
พ่อเหยี่ยวฟังคานั้นเข้าไปหาพญานกออก พลางเชื้อเชิญด้วยคาถาว่า
กิจอันใด ที่อริยชนผู้มีความอนุเคราะห์จะพึงกระทาแก่อริยชน
กิจอันนั้นชื่อว่าอันท่านกระทาแล้ว ขอท่านจงรักษาตัวเถิด อย่ารีบร้อนไปนักเลย
เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ เราก็จะได้ลูกคืนมาเป็นแน่.
พญานกออกฟังคาของเหยี่ยวนั้นแล้ว
เมื่อจะบันลือสีหนาทกล่าวคาถาที่ ๕ ว่า
ฉันกระทาการรักษาป้ องกันนั้น แม้ถึงตัวจะตายก็ไม่ได้สะดุ้งเลย
แท้จริงสหายทั้งหลายผู้ยอมสละชีวิต กระทาเพื่อสหายทั้งหลาย
นี่เป็นธรรมดาของสัตบุรุษทั้งหลาย.
ก็พระศาสดาเป็นอภิสัมพุทธ์
เมื่อทรงพรรณนาคุณของพญานกออกนั้น
จึงตรัสคาถาที่ ๖ ว่า
นกออกตัวนี้ซึ่งเป็ นอัณฑชะ ได้กระทากรรมที่ทาได้แสนยาก
เพื่อประโยชน์แก่ลูกเหยี่ยว ตั้งแต่ยามครึ่งจนถึงเที่ยงคืนไม่หยุดหย่อน.
ฝ่ายพ่อเหยี่ยวกล่าวว่า ข้าแต่พญานกออกผู้สหาย
เชิญท่านพักสักหน่อยเถิด แล้วไปหาเต่า ปลุกเต่าลุกขึ้น เมื่อเต่ากล่าวว่า
มาทาไมเพื่อนเอ๋ย ก็บอกว่า ภัยเห็นปานนี้บังเกิดแล้ว
พญานกออกพยายามมาตั้งแต่ยามต้นจนเหนื่อย เหตุนั้นแหละ
ข้าพเจ้าจึงต้องมาหาท่าน แล้วกล่าวคาถาที่ ๗ ว่า
แท้จริง คนบางพวกถึงจะเคลื่อนคลาดพลาดพลั้งจากการงานของตน ก็
ยังตั้งตัวได้ด้วยความอนุเคราะห์ของมิตรทั้งหลาย
พวกลูกทั้งหลายของข้าพเจ้าเดือดร้อน
ข้าพเจ้าจึงรีบมาหาท่านเพื่อขอให้เป็ นที่พึ่งอาศัย ดูก่อนเต่าผู้เป็นสหาย
ขอท่านช่วยบาเพ็ญประโยชน์แก่ข้าพเจ้าเถิด.
ความแห่งคาถานั้นมีว่า นายเอ๋ย จริงอยู่
บุคคลบางพวกถึงจะคลาดเคลื่อนจากยศหรือจากทรัพย์
ถึงจะพลาดพลั้งจากการงานของตน
ย่อมตั้งตนได้ด้วยความอนุเคราะห์ของเพื่อนฝูง ก็บุตรของข้าพเจ้ากาลังถูกกิน
เดือดร้อน เหตุนั้น ข้าพเจ้าจึงมากระทาท่านให้เป็นคติให้เป็ นที่พานัก
เชิญท่านช่วยให้ชีวิตทานแก่บุตรของข้าพเจ้า บาเพ็ญประโยชน์แก่ข้าพเจ้าเถิด.
เต่าฟังคานั้นแล้ว กล่าวคาถาต่อไปว่า
7
บัณฑิตทั้งหลายย่อมทาบุคคลให้เป็นมิตรสหาย
ด้วยทรัพย์ข้าวเปลือกและด้วยตน ดูก่อนเหยี่ยว
ข้าพเจ้าจะกระทาประโยชน์นี้แก่ท่านให้จงได้ เพราะอริยชนย่อมทากิจแก่อริยชน.
ครั้งนั้น บุตรของเต่านอนอยู่ไม่ไกล ฟังคาบิดา
คิดว่าบิดาของเราอย่าลาบากเลย เราจักกระทากิจเอง กล่าวคาถาที่ ๙ ว่า
คุณพ่อครับ ขอคุณพ่อจงมีความขวนขวายน้อยอยู่เฉยๆ เถิด
บุตรย่อมบาเพ็ญสิ่งที่เป็นประโยชน์เพื่อบิดา
ผมเองจักป้ องกันลูกทั้งหลายของพญาเหยี่ยว จักบาเพ็ญประโยชน์เพื่อคุณพ่อ.
ครั้งนั้น บิดาได้กล่าวโต้ด้วยคาถาว่า
ลูกเอ๋ยบุตรพึงบาเพ็ญสิ่งที่เป็นประโยชน์เพื่อบิดา
นี่เป็นธรรมของสัตบุรุษทั้งหลายโดยแท้แล
พวกพรานทั้งหลายแลเห็นพ่อผู้มีกายอันใหญ่โต
ที่ไหนเลยจะเบียดเบียนลูกทั้งหลายของพญาเหยี่ยวได้.
เต่าใหญ่ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ก็ส่งเหยี่ยวไปล่วงหน้าด้วยคาว่า
เพื่อนเอ๋ยอย่ากลัว เจ้าจงไปก่อน ข้าจักไปเดี๋ยวนี้ พลางโดดลงน้า
กวาดเปือกตมและสาหร่ายมา ถึงเกาะแล้ว ก็ดับไฟเสีย หมอบอยู่.
พวกชาวป่าพูดกันว่า พวกเราจะไปมัวต้องการลูกนกทาไม
กลับมาฆ่าไอ้เต่าบอดตัวนี้เถิด มันถึงจะพอแก่เราทุกคน พลางดึงเถาวัลย์เป็ นสาย
แก้ผ้านุ่งผูกไว้ ณ ที่นั้นๆ ก็ไม่อาจพลิกเต่าได้.
เต่าเล่าก็พาพวกนั้นไปโดดลงน้าตรงที่ลึกๆ.
พวกเหล่านั้นต่างตามไปด้วยเพราะอยากได้เต่า ต่างก็มีท้องเต็มไปด้วยน้า
ลาบากไปตามๆกัน
ครั้นผละได้แล้วพูดกันว่า พวกเราเหวย
นกออกตัวหนึ่งคอยดับคบของเราเสียตั้งครึ่งคืน คราวนี้โดนเต่านี้ให้ตกน้า
ดื่มน้าท้องกางไปตามๆ กัน ก่อไฟกันใหม่เถอะ แม้อรุณจะขึ้นแล้ว
ก็ต้องกินลูกเหยี่ยวเหล่านี้จงได้ แล้วเริ่มก่อไฟ.
แม่นกฟังคาของพวกนั้นกล่าวว่า นายเอ๋ย
พวกเหล่านี้จักต้องกินลูกของเราให้ได้ในเวลาใดเวลาหนึ่ง แล้วจึงจะพากันไป
เธอจงไปหาราชสีห์ที่เป็นสหายของเราเถิด.
เหยี่ยวนั้นไปถึงสานักราชสีห์ทันทีทันใด เมื่อราชสีห์พูดว่า
เป็นอะไรเล่า จึงได้มาในเวลาอันไม่ควร ก็แจ้งเรื่องนั้นตั้งแต่ต้น แล้วกล่าวคาถาที่
๑๑ ว่า
ข้าแต่ราชสีห์ที่ประเสริฐด้วยความแกล้วกล้า
สัตว์และมนุษย์เมื่อตกอยู่ในภัยแล้ว ย่อมเข้าไปหาผู้ประเสริฐ
พวกบุตรของข้าพเจ้าเดือดร้อน
8
ข้าพเจ้าจึงรีบมาหาท่านเพื่อขอให้ท่านเป็ นที่พึ่งอาศัย ท่านเป็ นเจ้านายของข้าพเจ้า
ขอท่านได้โปรดช่วยให้ข้าพเจ้าได้รับความสุขด้วยเถิด.
ราชสีห์ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาว่า
ดูก่อนพญาเหยี่ยวผู้สหาย ฉันจะบาเพ็ญประโยชน์นี้เพื่อท่านให้จงได้
เรามาด้วยกันเพื่อกาจัดหมู่ศัตรูของท่านนั้นเสีย วิญญูชนรู้ว่าภัยเกิดขึ้นแก่มิตร
จะไม่พยายามเพื่อคุ้มครองมิตรอย่างไรได้.
ก็แลครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ราชสีห์ก็ส่งเหยี่ยวนั้นไปว่า เจ้าจงไป
จงคอยปลอบลูกไว้เถิด แล้วเดินลุยน้าอันมีสีเหมือนแก้วมณีไป.
พวกชาวป่าเห็นราชสีห์นั้นกาลังเดินมา พากันพูดว่า
ครั้งแรกนกออกคอยดับไฟของพวกเราเสีย เต่ามาทาพวกเรามิให้เหลือผ้านุ่ง
คราวนี้ราชสีห์จักทาให้พวกเราถึงสิ้นชีวิต ต่างกลัวตายเป็นกาลัง
พากันวิ่งหนีกระเจิงไป.
ราชสีห์มาถึงโคนกระทุ่มนั้น ไม่เห็นใครๆ ที่โคนต้นไม่เลย.
ครั้งนั้นนกออก เต่า และเหยี่ยว ก็พากันเข้าไปหากราบกรานราชสีห์นั้น.
ราชสีห์นั้นก็กล่าวอานิสงส์แห่งมิตรแก่สัตว์เหล่านั้นตักเตือนว่า
ตั้งแต่นี้ไปเจ้าทั้งหลายจงอย่าทาลายมิตรธรรม ต่างไม่ประมาทไว้เถิด
แล้วก็หลีกไป สัตว์แม้เหล่านั้นก็พากันไปสู่ที่อยู่ของตน.
แม่เหยี่ยวมองดูลูกของตนแล้ว คิดว่า เพราะอาศัยหมู่มิตร
เราจึงได้ลูกๆ ไว้ ครั้นถึงสมัยที่นั่งกันอยู่อย่างสบาย เมื่อจะเจรจากับพ่อเหยี่ยว
จึงกล่าวคาถา ๖ คาถา มีชื่อว่าคาถาประกาศมิตรธรรมว่า
บุคคลพึงคบมิตรสหายและเจ้านายไว้ เพื่อได้รับความสุข
เรากาจัดศัตรูได้ด้วยกาลังแห่งมิตร เป็ นผู้พร้อมเพรียงด้วยบุตรทั้งหลาย
บันเทิงอยู่เหมือนเกราะที่บุคคลสวมแล้ว ป้ องกันลูกศรทั้งหลายได้ ฉะนั้น.
ลูกน้อยทั้งหลายของเรา เปล่งเสียงอันจับใจ ร้องรับเราผู้ร้องหาอยู่
ด้วยการกระทาของพญาเนื้อผู้เป็ นมิตรสหายของตนซึ่งมิได้หนีไป.
แน่ะเธอ ผู้ต้องการสิ่งที่น่าปรารถนา
บัณฑิตได้มิตรสหายแล้วย่อมปกปักรักษาบุตร ปศุสัตว์และทรัพย์ไว้ได้ ฉัน บุตร
และสามีของฉันด้วย เป็นผู้พร้อมเพรียงกัน
เพราะความอนุเคราะห์ของมิตรทั้งหลาย
บุคคลผู้มีพระราชาและมีมิตรผู้กล้าหาญ
สามารถจะบรรลุถึงประโยชน์ได้เพราะสหายเหล่านี้
ย่อมมีแก่ผู้มิตรธรรมอันบริบูรณ์ บุคคลผู้มีมิตรสหายมียศ มีตนอันสูงส่ง
ย่อมบันเทิงใจอยู่ในโลกนี้ด้วย.
ข้าแต่พญาเหยี่ยว มิตรธรรมทั้งหลาย แม้ผู้ที่ยากจนก็ควรทา ดูซิท่าน
เราพร้อมด้วยหมู่ญาติเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน ด้วยความอนุเคราะห์ของมิตร
9
นกตัวใดผูกมิตรไว้กับผู้กล้าหาญมีกาลัง นกตัวนั้น
ย่อมมีความสุขเหมือนฉันกับเธอ ฉะนั้น.
นางเหยี่ยวแสดงคุณของมิตรธรรมด้วยคาถาทั้ง ๖ ด้วยประการฉะนี้.
แม้สัตว์เหล่านั้นทั้งหมดก็คงเป็ นสหายกัน ไม่ทาลายมิตรธรรม
ดารงอยู่ตลอดอายุแล้วต่างไปตามยถากรรม.
พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่ในบัดนี้เท่านั้น ที่อุบาสกนี้อาศัยภรรยามีความสุข
แม้ในกาลก่อนก็มีความสุขเพราะอาศัยภรรยาแล้วเหมือนกัน ดังนี้แล้ว
ทรงประชุมชาดกว่า
พ่อเหยี่ยวแม่เหยี่ยวในครั้งนั้น ได้มาเป็ น คู่สามีภรรยา
ลูกเต่าได้มาเป็น พระราหุล
พ่อเต่าได้มาเป็น พระโมคคัลลานะ
นกออกได้มาเป็น พระสารีบุตร
ส่วนราชสีห์คือ เราตถาคต แล.
จบอรรถกถามหาอุกกุสชาดกที่ ๓
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 486 มหาอุกกุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 486 มหาอุกกุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
038 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
357 ลฏุกิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
214 ปุณณนทีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
203 ขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
270 อุลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

486 มหาอุกกุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 มหาอุกกุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๓. มหาอุกกุสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๘๖) ว่าด้วยพญานกออกช่วยเพื่อน (แม่เหยี่ยวพูดกับพญาเหยี่ยวว่า) [๔๔] พวกชาวชนบทพากันมัดคบเพลิงอยู่บนเกาะ ประสงค์จะกินลูกน้อยๆ ของเรา พี่พญาเหยี่ยว ขอท่านจงไปบอกมิตรสหาย เล่าถึงความพินาศแห่งหมู่ญาติของนกทั้งหลาย (เหยี่ยวนั้นถูกถามจึงแสดงเหตุที่ต้องมาว่า) [๔๕] ข้าแต่พญานกออก (พญานกออก หมายถึงชื่อนกเหยี่ยวขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ชอบหากินปลาในทะเล) ราชปักษี ท่านนะเป็ นนกที่ประเสริฐกว่านกทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอยึดท่านเป็ นที่พึ่ง พวกนายพรานชาวชนบทประสงค์จะกินลูกน้อยๆ ของข้าพเจ้า เพื่อความสุขของข้าพเจ้า ขอท่านจงเป็ นที่พึ่งด้วยเถิด (พญานกออกตอบเหยี่ยวว่า) [๔๖] บัณฑิตทั้งหลายผู้แสวงหาความสุขอยู่ ย่อมคบมิตรสหายทั้งในกาลและมิใช่กาล เจ้าเหยี่ยว เราจะทาตามความประสงค์ของเจ้านั้น เพราะว่าคนดีจะต้องช่วยเหลือคนดี (เหยี่ยวฟังดังนั้นแล้วเข้าไปหาพญานกออกพลางเชื้อเชิญว่า) [๔๗] กิจอันใดเป็นกิจที่คนดีจะพึงกระทาให้คนดี ด้วยความอนุเคราะห์กิจอันนี้ท่านก็ได้ทาแล้ว ท่านจงถนอมตัวไว้เถิด อย่าได้เดือดร้อนไปเลย เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ข้าพเจ้าก็จะได้ลูกต่อไป (พญานกออกบันลือสีหนาทว่า) [๔๘] เราเมื่อจะกระทาการรักษาป้ องกันท่านนั้น แม้ตัวจะตายก็ไม่หวาดหวั่น เพราะเพื่อนทั้งหลายเหล่านั้นจะต้องสละชีวิต กระทาเพื่อเพื่อนทั้งหลาย นี้เป็นธรรมของสัตบุรุษ (พระศาสดาทรงสรรเสริญคุณของพญานกออกนั้นว่า) [๔๙] พญานกออกตัวนี้เกิดจากฟองไข่ ได้ทากรรมที่ทาได้ยาก เพื่อต้องการจะช่วยลูกนกทั้งหลายเกือบเที่ยงคืน (ฝ่ายเหยี่ยวไปหาเต่าแล้วกล่าวว่า) [๕๐] จริงอยู่ คนบางพวกแม้จะเคลื่อนคลาดพลาดพลั้งจากการงานของตน ก็ยังดารงตนอยู่ได้เพราะความช่วยเหลือของมิตรทั้งหลาย ลูกๆ
  • 2. 2 ของข้าพเจ้ามีความเดือดร้อน ข้าพเจ้าจึงมาหาท่านให้เป็ นที่พึ่ง ท่านพญาเต่า ขอท่านบาเพ็ญสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด (เต่าฟังแล้วกล่าวว่า) [๕๑] บัณฑิตทั้งหลายย่อมทาการผูกมิตรผูกสหาย ด้วยทรัพย์บ้าง ด้วยข้าวเปลือกบ้าง ด้วยตนบ้าง พญาเหยี่ยว เราจะทาสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ท่าน เพราะว่าคนดีจะต้องช่วยเหลือคนดี (ลูกเต่านอนอยู่ไม่ไกลได้ยินบิดาพูด จึงกล่าวว่า) [๕๒] คุณพ่อ ขอพ่อจงขวนขวายน้อยนั่งอยู่เฉยๆ เถิด ลูกจะช่วยบาเพ็ญประโยชน์แทนพ่อ ลูกจะป้ องกันลูกน้อยๆ ของพญาเหยี่ยว บาเพ็ญประโยชน์นั้นแทนพ่อเอง (พ่อเต่ากล่าวกับลูกว่า) [๕๓] ลูกรัก จริงอยู่ การที่ลูกพึงช่วยเหลือ บาเพ็ญประโยชน์แทนพ่อนั้น เป็นธรรมของสัตบุรุษโดยแท้ บางทีพวกนายพรานเห็นพ่อซึ่งมีร่างกายใหญ่โต ก็จะไม่พึงเบียดเบียนลูกนกน้อยๆ ของพญาเหยี่ยว (เหยี่ยวไปหาราชสีห์เมื่อถูกถาม จึงกล่าวว่า) [๕๔] ท่านผู้ประเสริฐกว่าเนื้อผู้กล้าหาญ สัตว์ดิรัจฉานและมนุษย์เดือดร้อน เพราะภยันตรายย่อมเข้าไปหาท่านผู้ประเสริฐ ลูกน้อยๆ ของข้าพเจ้ามีความเดือดร้อน ข้าพเจ้าจึงมาหาท่านให้เป็ นที่พึ่ง ท่านเป็นราชาของข้าพเจ้า เพื่อความสุขของข้าพเจ้า ขอท่านจงเป็ นที่พึ่งด้วยเถิด (ราชสีห์ฟังแล้วกล่าวว่า) [๕๕] เหยี่ยว เราจะทาสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ท่าน เรามาก็เพื่อจะฆ่าหมู่ศัตรูของท่าน ธรรมดาวิญญูชนผู้มีความสามารถรู้อยู่ จะไม่พยายามคุ้มครองมิตรผู้เสมอด้วยตนได้อย่างไร (แม่เหยี่ยวประกาศมิตตธรรมว่า) [๕๖] เพื่อบรรลุถึงความสุข บุคคลควรคบมิตรสหายผู้มีใจดี และบุคคลผู้เป็นเจ้านาย เราทั้งหลายเป็ นผู้พร้อมเพรียงกับลูกๆ บันเทิงใจอยู่ เหมือนคนสวมเกราะป้ องกันลูกศร [๕๗] ลูกนกน้อยๆ ส่งเสียงคูขันอยู่อย่างไพเราะจับใจ ต้อนรับเราและท่านผู้กาลังคูขัน เพราะการกระทาของมิตรสหายผู้ไม่หนีไปของตน [๕๘] บัณฑิตนั้นได้มิตรสหายแล้วย่อมป้ องกันลูก ปศุสัตว์ หรือทรัพย์ไว้ได้ ข้าพเจ้า ลูกๆ และสามีของข้าพเจ้าอยู่พร้อมหน้ากัน เพราะความช่วยเหลือของมิตรทั้งหลาย
  • 3. 3 [๕๙] อันบุคคลผู้มีเจ้านายและเพื่อนผู้กล้าหาญอาจจะได้รับประโยชน์ สาหรับผู้ที่มีเพื่อนพรั่งพร้อมก็จะมีเพื่อนร่วมงานเช่นนี้ เขาก็จะมีมิตร มียศ มีความรุ่งเรือง บันเทิงใจอยู่ในโลกนี้ นะพี่ที่รัก [๖๐] พี่เสนกะ ควรจะผูกมิตรแม้กับคนยากจน ดูเถิด พวกเรามาพร้อมเพรียงกับหมู่ญาติได้เพราะความช่วยเหลือของมิตร [๖๑] นกตัวใดผูกมิตรไว้กับมิตรผู้กล้าหาญและมิตรผู้มีกาลัง นกตัวนั้นย่อมมีความสุขเหมือนอย่างฉันและท่าน นะพี่เสนกะ มหาอุกกุสชาดกที่ ๓ จบ ------------------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา มหาอุกกุสชาดก ว่าด้วย สัตว์ ๔ สหาย พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระมหาวิหารเชตวัน ทรงพระปรารภอุบาสกผู้ผูกมิตร ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ได้ยินว่า อุบาสกนั้นเป็นบุตรแห่งตระกูลเก่าแก่ในพระนครสาวัตถี ส่งสหายไปให้ขอกุลธิดาคนหนึ่ง. กุลธิดานั้นถามว่า ก็มิตรและสหายที่สามารถแบ่งเบากิจที่เกิดขึ้นของเขามีไหมละ. ตอบว่า ไม่มี. ครั้นกุลธิดานั้นกล่าวคาว่า ถ้าเช่นนั้น เขาต้องผูกมิตรไว้ก่อนเถิด. เขาตั้งอยู่ในคาตักเตือนนั้น เริ่มกระทาไมตรีกับคนเฝ้ าประตูทั้งสี่ก่อน แล้วได้กระทาไมตรีกับหน่วยคุ้มกันพระนคร และอิสรชนมีมหาอามาตย์เป็นต้น แม้กับท่านเสนาบดีและกับพระอุปราชก็กระทาไมตรีไว้ด้วย ครั้นเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันกับชนเหล่านั้นได้ ก็กระทาไมตรีกับพระราชาโดยลาดับ ต่อจากนั้น ก็ได้กระทาไมตรีกับพระมหาเถระ ๘๐ องค์ เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันได้กับพระอานนท์ ก็ได้กระทาไมตรีกับพระตถาคตเจ้า. ทีนั้นพระศาสดาก็ทรงโปรดให้เขาดารงในสรณะและศีล พระราชาเล่าก็โปรดประทานอิสริยยศแก่เขา เขาเลยปรากฏนามว่า มิตตคันถกะ นั่นแหละ. ครั้งนั้น พระราชาประทานเรือนหลังใหญ่แก่เขา โปรดให้กระทาอาวาหมงคล. มหาชนตั้งต้นแต่พระราชาส่งบรรณาการให้เขา ครั้งนั้นภรรยาของเขาก็ส่งบรรณาการที่พระราชาทรงประทาน ไปถวายแด่พระอุปราช ส่งบรรณาการที่พระอุปราชส่งประทานไปให้แก่เสนาบดีเป็นลาดับไป ด้วยอุบายนี้แหละ ได้ผูกพันชาวพระนครทั่วหน้าไว้ได้.
  • 4. 4 ในวันที่เจ็ดจัดมหาสักการะ เชิญเสด็จพระทศพล ถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์ประมาณ ๕๐๐ รูปมีพระพุทธเจ้าเป็ นประมุข เวลาเสร็จภัตกิจ ฟังพระดารัสอนุโมทนาที่พระศาสดาตรัส คู่สามีภรรยาก็ดารงในโสดาปัตติผล. พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย อุบาสกมิตตคันถกะ อาศัยภรรยาของตน ฟังคาของนาง ทาไมตรีกับคนทั้งปวงได้สมบัติมากจากสานักพระราชา ทาไมตรีกับพระตถาคตเจ้า ก็ดารงในโสดาปัตติผลทั้งคู่. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อกี้เธอนั่งสนทนาด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นที่อุบาสกนี้อาศัยมาตุคามถึงยศใหญ่ แม้ในครั้งก่อน เขาบังเกิดในกาเนิดดิรัจฉาน กระทาไมตรีกับสัตว์เป็นอันมากตามคาของนาง พ้นจากความโศกเพราะบุตรได้ ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลอาราธนา ทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล ครั้งหนึ่งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในนครพาราณสี ชาวปัจจันตชนบทเหล่านั้นได้เนื้อมากๆ ในที่ใดๆ ก็พากันตั้งบ้านขึ้นในที่นั้นๆ แล้วพากันเที่ยวในป่าฆ่ามฤคเป็นต้น ขนเนื้อมาเลี้ยงลูกเมีย. ในไม่ไกลจากบ้านของพวกนั้น มีสระใหญ่เกิดเองอยู่ ด้านขวาของสระนั้นมีเหยี่ยวตัวหนึ่ง ด้านหลังมีนางเหยี่ยวตัวหนึ่ง ด้านเหนือมีราชสีห์ ด้านตะวันออกมีพญานกออกอาศัยอยู่ ส่วนในที่ตื้นกลางสระ เต่าอาศัยอยู่. ครั้งนั้น เหยี่ยวกล่าวกับนางเหยี่ยวว่า เป็นภรรยาข้าเถิด. นางเหยี่ยวจึงกล่าวกะเขาว่า ก็แกมีเพื่อนบ้างไหมล่ะ. ตอบว่า ไม่มีเลย. นางกล่าวว่า เมื่อภัยหรือทุกข์บังเกิดแก่เรา เราต้องได้มิตรหรือสหายช่วยแบ่งเบา จึงจะควร แกต้องผูกมิตรก่อนเถิด. ถามว่า นางผู้เจริญ เราจะทาไมตรีกับใครเล่า. ตอบว่า แกจงทาไมตรีกับพญานกออกที่อยู่ด้านตะวันออก กับราชสีห์ที่ อยู่ด้านเหนือ กับเต่าที่อยู่กลางสระ. เขาฟังคาของนางแล้วรับคา ได้กระทาตามนั้น. ครั้งนั้น เหยี่ยวทั้งคู่ก็ได้จัดแจงที่อยู่ เขาพากันทารังอาศัยอยู่ ณ ต้นกระทุ่ม อันอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งในสระนั้นเอง มีน้าล้อมรอบ. ครั้นต่อมาเหยี่ยวทั้งคู่ก็ได้ให้กาเนิดลูกน้อยสองตัว. ขณะที่ลูกเหยี่ยวทั้งสองยังไม่มีขนปีกนั้นเอง วันหนึ่งชาวชนบทเหล่านั้นพากันตระเวนป่าตลอดวัน ไม่ได้เนื้ออะไรๆ เลย
  • 5. 5 คิดกันว่า พวกเราไม่อาจไปเรือนอย่างมือเปล่าได้ ต้องจับปลาหรือเต่าไปให้ได้ พากันลงสระไปถึงเกาะนั้น นอนที่โคนต้นกระทุ่มต้นนั้น เมื่อถูกยุงเป็นต้นรุมกัดก็ช่วยกันสีไฟก่อไฟ ทาควันเพื่อไล่ยุงเป็นต้นเหล่านั้น. ควันก็ขึ้นไปรมนกทั้งหลาย. ลูกนกก็พากันร้อง ชาวชนบทได้ยินเสียงต่างกล่าวว่า ชาวเราเอ๋ย เสียงลูกนก ขึ้นซี มัดคบเถิด หิวจนทนไม่ไหว กินเนื้อนกแล้วค่อยนอนกัน พลางก่อไฟให้ลุกแล้วช่วยกันมัดคบ. แม่นกได้ยินเสียงพวกนั้นคิดว่า คนพวกนี้ต้องการจะกินลูกของเรา เราผูกมิตรไว้เพื่อกาจัดภัยทานองนี้ ต้องส่งผัวไปหาพญานกออกแล้วกล่าวว่า ไปเถิดนายจ๋า ภัยบังเกิดแก่ลูกของเราแล้วละ จงบอกแก่พญานกออกเถิด พลางกล่าวคาถาต้นว่า พรานชาวชนบทพากันมัดคบเพลิงอยู่บนเกาะ ปรารถนาจะกินลูกน้อยของเรา ข้าแต่พญาเหยี่ยว ท่านจงบอกมิตรและสหาย จงแจ้งความพินาศแห่งหมู่ญาติของเรา. พ่อเหยี่ยวนั้นบินไปที่อยู่ของพญานกออกโดยเร็ว แล้วขันบอกให้รู้การที่ตนมา ได้รับโอกาส ก็เข้าไปไหว้ ถูกถามว่า เจ้ามาทาไม เมื่อแสดงเหตุที่ต้องมา กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า ข้าแต่พญานกออก ท่านเป็นนกประเสริฐกว่านกทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอยึดท่านเป็ นที่พึ่ง พวกพรานชาวชนบทปรารถนาจะกินลูกน้อยของข้าพเจ้า ขอท่านจงช่วยให้ข้าพเจ้าได้รับความสุขเถิด. พญานกออกปลอบเหยี่ยวว่า อย่ากลัวเลย แล้วกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า บัณฑิตทั้งหลายผู้แสวงหาความสุข ทั้งในกาลและไม่ใช่กาล ย่อมทาบุคคลให้เป็นมิตรสหาย ดูก่อนเหยี่ยว ฉันจะกระทาประโยชน์อันนี้แก่ท่านจงได้ ที่จริง อริยชนย่อมกระทากิจให้แก่อริยชน. ลาดับนั้น พญานกออกถามเหยี่ยวว่า พวกคนป่าพากันขึ้นต้นไม้แล้วหรือสหาย. ก็ตอบว่า ตอนนั้นยังไม่ได้ขึ้น กาลังพากันมัดคบเท่านั้น. บอกว่า ถ้าเช่นนั้น เจ้าจงรีบไปปลอบแม่สหายของเรา บอกถึงการมาของเราไว้เถิด. เหยี่ยวทาอย่างนั้น. ฝ่ายพญานกออกก็บินมาจับที่ยอดไม้ต้นหนึ่ง มองดูทางขึ้นของพวกชาวป่าไม่ไกลต้นกระทุ่ม เวลาที่ชาวป่าคนหนึ่งขึ้นต้นกระทุ่ม ใกล้จะถึงรังก็ดาลงในสระ เอาน้ามาด้วยปีกและด้วยปาก รดราดบนคบเสีย คบนั้นก็ดับ. พวกชาวป่ากล่าวว่า พวกเราต้องกินเหยี่ยวตัวนี้ด้วย กินลูกของมันด้วยแล้วถอยลง จุดคบให้ลุก พากันปีนขึ้นไปใหม่. พญานกออกก็เอาน้ามาดับเสียอีก.
  • 6. 6 เมื่อพญานกออกใช้อุบายนี้ดับคบที่ผูกแล้วๆ เวลาก็ล่วงไปถึงเที่ยงคืน. พญานกออกเหน็ดเหนื่อยยิ่งนัก พังผืดภายใต้ท้องหย่อน ตาทั้งคู่แดงก่า แม่เหยี่ยวเห็นแล้วกล่าวกะผัวว่า นายจ๋า พญานกออกลาบากเหลือเกินแล้ว พี่ เจ้าจงไปบอกพญาเต่าเถิด เพื่อให้พญานกออกพักผ่อนได้บ้าง พ่อเหยี่ยวฟังคานั้นเข้าไปหาพญานกออก พลางเชื้อเชิญด้วยคาถาว่า กิจอันใด ที่อริยชนผู้มีความอนุเคราะห์จะพึงกระทาแก่อริยชน กิจอันนั้นชื่อว่าอันท่านกระทาแล้ว ขอท่านจงรักษาตัวเถิด อย่ารีบร้อนไปนักเลย เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ เราก็จะได้ลูกคืนมาเป็นแน่. พญานกออกฟังคาของเหยี่ยวนั้นแล้ว เมื่อจะบันลือสีหนาทกล่าวคาถาที่ ๕ ว่า ฉันกระทาการรักษาป้ องกันนั้น แม้ถึงตัวจะตายก็ไม่ได้สะดุ้งเลย แท้จริงสหายทั้งหลายผู้ยอมสละชีวิต กระทาเพื่อสหายทั้งหลาย นี่เป็นธรรมดาของสัตบุรุษทั้งหลาย. ก็พระศาสดาเป็นอภิสัมพุทธ์ เมื่อทรงพรรณนาคุณของพญานกออกนั้น จึงตรัสคาถาที่ ๖ ว่า นกออกตัวนี้ซึ่งเป็ นอัณฑชะ ได้กระทากรรมที่ทาได้แสนยาก เพื่อประโยชน์แก่ลูกเหยี่ยว ตั้งแต่ยามครึ่งจนถึงเที่ยงคืนไม่หยุดหย่อน. ฝ่ายพ่อเหยี่ยวกล่าวว่า ข้าแต่พญานกออกผู้สหาย เชิญท่านพักสักหน่อยเถิด แล้วไปหาเต่า ปลุกเต่าลุกขึ้น เมื่อเต่ากล่าวว่า มาทาไมเพื่อนเอ๋ย ก็บอกว่า ภัยเห็นปานนี้บังเกิดแล้ว พญานกออกพยายามมาตั้งแต่ยามต้นจนเหนื่อย เหตุนั้นแหละ ข้าพเจ้าจึงต้องมาหาท่าน แล้วกล่าวคาถาที่ ๗ ว่า แท้จริง คนบางพวกถึงจะเคลื่อนคลาดพลาดพลั้งจากการงานของตน ก็ ยังตั้งตัวได้ด้วยความอนุเคราะห์ของมิตรทั้งหลาย พวกลูกทั้งหลายของข้าพเจ้าเดือดร้อน ข้าพเจ้าจึงรีบมาหาท่านเพื่อขอให้เป็ นที่พึ่งอาศัย ดูก่อนเต่าผู้เป็นสหาย ขอท่านช่วยบาเพ็ญประโยชน์แก่ข้าพเจ้าเถิด. ความแห่งคาถานั้นมีว่า นายเอ๋ย จริงอยู่ บุคคลบางพวกถึงจะคลาดเคลื่อนจากยศหรือจากทรัพย์ ถึงจะพลาดพลั้งจากการงานของตน ย่อมตั้งตนได้ด้วยความอนุเคราะห์ของเพื่อนฝูง ก็บุตรของข้าพเจ้ากาลังถูกกิน เดือดร้อน เหตุนั้น ข้าพเจ้าจึงมากระทาท่านให้เป็นคติให้เป็ นที่พานัก เชิญท่านช่วยให้ชีวิตทานแก่บุตรของข้าพเจ้า บาเพ็ญประโยชน์แก่ข้าพเจ้าเถิด. เต่าฟังคานั้นแล้ว กล่าวคาถาต่อไปว่า
  • 7. 7 บัณฑิตทั้งหลายย่อมทาบุคคลให้เป็นมิตรสหาย ด้วยทรัพย์ข้าวเปลือกและด้วยตน ดูก่อนเหยี่ยว ข้าพเจ้าจะกระทาประโยชน์นี้แก่ท่านให้จงได้ เพราะอริยชนย่อมทากิจแก่อริยชน. ครั้งนั้น บุตรของเต่านอนอยู่ไม่ไกล ฟังคาบิดา คิดว่าบิดาของเราอย่าลาบากเลย เราจักกระทากิจเอง กล่าวคาถาที่ ๙ ว่า คุณพ่อครับ ขอคุณพ่อจงมีความขวนขวายน้อยอยู่เฉยๆ เถิด บุตรย่อมบาเพ็ญสิ่งที่เป็นประโยชน์เพื่อบิดา ผมเองจักป้ องกันลูกทั้งหลายของพญาเหยี่ยว จักบาเพ็ญประโยชน์เพื่อคุณพ่อ. ครั้งนั้น บิดาได้กล่าวโต้ด้วยคาถาว่า ลูกเอ๋ยบุตรพึงบาเพ็ญสิ่งที่เป็นประโยชน์เพื่อบิดา นี่เป็นธรรมของสัตบุรุษทั้งหลายโดยแท้แล พวกพรานทั้งหลายแลเห็นพ่อผู้มีกายอันใหญ่โต ที่ไหนเลยจะเบียดเบียนลูกทั้งหลายของพญาเหยี่ยวได้. เต่าใหญ่ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ก็ส่งเหยี่ยวไปล่วงหน้าด้วยคาว่า เพื่อนเอ๋ยอย่ากลัว เจ้าจงไปก่อน ข้าจักไปเดี๋ยวนี้ พลางโดดลงน้า กวาดเปือกตมและสาหร่ายมา ถึงเกาะแล้ว ก็ดับไฟเสีย หมอบอยู่. พวกชาวป่าพูดกันว่า พวกเราจะไปมัวต้องการลูกนกทาไม กลับมาฆ่าไอ้เต่าบอดตัวนี้เถิด มันถึงจะพอแก่เราทุกคน พลางดึงเถาวัลย์เป็ นสาย แก้ผ้านุ่งผูกไว้ ณ ที่นั้นๆ ก็ไม่อาจพลิกเต่าได้. เต่าเล่าก็พาพวกนั้นไปโดดลงน้าตรงที่ลึกๆ. พวกเหล่านั้นต่างตามไปด้วยเพราะอยากได้เต่า ต่างก็มีท้องเต็มไปด้วยน้า ลาบากไปตามๆกัน ครั้นผละได้แล้วพูดกันว่า พวกเราเหวย นกออกตัวหนึ่งคอยดับคบของเราเสียตั้งครึ่งคืน คราวนี้โดนเต่านี้ให้ตกน้า ดื่มน้าท้องกางไปตามๆ กัน ก่อไฟกันใหม่เถอะ แม้อรุณจะขึ้นแล้ว ก็ต้องกินลูกเหยี่ยวเหล่านี้จงได้ แล้วเริ่มก่อไฟ. แม่นกฟังคาของพวกนั้นกล่าวว่า นายเอ๋ย พวกเหล่านี้จักต้องกินลูกของเราให้ได้ในเวลาใดเวลาหนึ่ง แล้วจึงจะพากันไป เธอจงไปหาราชสีห์ที่เป็นสหายของเราเถิด. เหยี่ยวนั้นไปถึงสานักราชสีห์ทันทีทันใด เมื่อราชสีห์พูดว่า เป็นอะไรเล่า จึงได้มาในเวลาอันไม่ควร ก็แจ้งเรื่องนั้นตั้งแต่ต้น แล้วกล่าวคาถาที่ ๑๑ ว่า ข้าแต่ราชสีห์ที่ประเสริฐด้วยความแกล้วกล้า สัตว์และมนุษย์เมื่อตกอยู่ในภัยแล้ว ย่อมเข้าไปหาผู้ประเสริฐ พวกบุตรของข้าพเจ้าเดือดร้อน
  • 8. 8 ข้าพเจ้าจึงรีบมาหาท่านเพื่อขอให้ท่านเป็ นที่พึ่งอาศัย ท่านเป็ นเจ้านายของข้าพเจ้า ขอท่านได้โปรดช่วยให้ข้าพเจ้าได้รับความสุขด้วยเถิด. ราชสีห์ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาว่า ดูก่อนพญาเหยี่ยวผู้สหาย ฉันจะบาเพ็ญประโยชน์นี้เพื่อท่านให้จงได้ เรามาด้วยกันเพื่อกาจัดหมู่ศัตรูของท่านนั้นเสีย วิญญูชนรู้ว่าภัยเกิดขึ้นแก่มิตร จะไม่พยายามเพื่อคุ้มครองมิตรอย่างไรได้. ก็แลครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ราชสีห์ก็ส่งเหยี่ยวนั้นไปว่า เจ้าจงไป จงคอยปลอบลูกไว้เถิด แล้วเดินลุยน้าอันมีสีเหมือนแก้วมณีไป. พวกชาวป่าเห็นราชสีห์นั้นกาลังเดินมา พากันพูดว่า ครั้งแรกนกออกคอยดับไฟของพวกเราเสีย เต่ามาทาพวกเรามิให้เหลือผ้านุ่ง คราวนี้ราชสีห์จักทาให้พวกเราถึงสิ้นชีวิต ต่างกลัวตายเป็นกาลัง พากันวิ่งหนีกระเจิงไป. ราชสีห์มาถึงโคนกระทุ่มนั้น ไม่เห็นใครๆ ที่โคนต้นไม่เลย. ครั้งนั้นนกออก เต่า และเหยี่ยว ก็พากันเข้าไปหากราบกรานราชสีห์นั้น. ราชสีห์นั้นก็กล่าวอานิสงส์แห่งมิตรแก่สัตว์เหล่านั้นตักเตือนว่า ตั้งแต่นี้ไปเจ้าทั้งหลายจงอย่าทาลายมิตรธรรม ต่างไม่ประมาทไว้เถิด แล้วก็หลีกไป สัตว์แม้เหล่านั้นก็พากันไปสู่ที่อยู่ของตน. แม่เหยี่ยวมองดูลูกของตนแล้ว คิดว่า เพราะอาศัยหมู่มิตร เราจึงได้ลูกๆ ไว้ ครั้นถึงสมัยที่นั่งกันอยู่อย่างสบาย เมื่อจะเจรจากับพ่อเหยี่ยว จึงกล่าวคาถา ๖ คาถา มีชื่อว่าคาถาประกาศมิตรธรรมว่า บุคคลพึงคบมิตรสหายและเจ้านายไว้ เพื่อได้รับความสุข เรากาจัดศัตรูได้ด้วยกาลังแห่งมิตร เป็ นผู้พร้อมเพรียงด้วยบุตรทั้งหลาย บันเทิงอยู่เหมือนเกราะที่บุคคลสวมแล้ว ป้ องกันลูกศรทั้งหลายได้ ฉะนั้น. ลูกน้อยทั้งหลายของเรา เปล่งเสียงอันจับใจ ร้องรับเราผู้ร้องหาอยู่ ด้วยการกระทาของพญาเนื้อผู้เป็ นมิตรสหายของตนซึ่งมิได้หนีไป. แน่ะเธอ ผู้ต้องการสิ่งที่น่าปรารถนา บัณฑิตได้มิตรสหายแล้วย่อมปกปักรักษาบุตร ปศุสัตว์และทรัพย์ไว้ได้ ฉัน บุตร และสามีของฉันด้วย เป็นผู้พร้อมเพรียงกัน เพราะความอนุเคราะห์ของมิตรทั้งหลาย บุคคลผู้มีพระราชาและมีมิตรผู้กล้าหาญ สามารถจะบรรลุถึงประโยชน์ได้เพราะสหายเหล่านี้ ย่อมมีแก่ผู้มิตรธรรมอันบริบูรณ์ บุคคลผู้มีมิตรสหายมียศ มีตนอันสูงส่ง ย่อมบันเทิงใจอยู่ในโลกนี้ด้วย. ข้าแต่พญาเหยี่ยว มิตรธรรมทั้งหลาย แม้ผู้ที่ยากจนก็ควรทา ดูซิท่าน เราพร้อมด้วยหมู่ญาติเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน ด้วยความอนุเคราะห์ของมิตร
  • 9. 9 นกตัวใดผูกมิตรไว้กับผู้กล้าหาญมีกาลัง นกตัวนั้น ย่อมมีความสุขเหมือนฉันกับเธอ ฉะนั้น. นางเหยี่ยวแสดงคุณของมิตรธรรมด้วยคาถาทั้ง ๖ ด้วยประการฉะนี้. แม้สัตว์เหล่านั้นทั้งหมดก็คงเป็ นสหายกัน ไม่ทาลายมิตรธรรม ดารงอยู่ตลอดอายุแล้วต่างไปตามยถากรรม. พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่ในบัดนี้เท่านั้น ที่อุบาสกนี้อาศัยภรรยามีความสุข แม้ในกาลก่อนก็มีความสุขเพราะอาศัยภรรยาแล้วเหมือนกัน ดังนี้แล้ว ทรงประชุมชาดกว่า พ่อเหยี่ยวแม่เหยี่ยวในครั้งนั้น ได้มาเป็ น คู่สามีภรรยา ลูกเต่าได้มาเป็น พระราหุล พ่อเต่าได้มาเป็น พระโมคคัลลานะ นกออกได้มาเป็น พระสารีบุตร ส่วนราชสีห์คือ เราตถาคต แล. จบอรรถกถามหาอุกกุสชาดกที่ ๓ -----------------------------------------------------