SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
2
สารบัญ
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรม 1
องค์ประกอบของชุดกิจกรรม 2
คู่มือกำรใช้ชุดกิจกรรม 3
แผนผังกำรจัดสถำนที่เรียน 4
ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ 5
3.1 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ
เมื่อ y ตัวแปรตำม
3.2 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ 10
เมื่อ x ตัวแปรตำม
แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมชุดที่ 3 15
บรรณำนุกรม 16
เฉลยกิจกรรมที่ 2 17
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 3 18
คาชี้แจงสาหรับการใช้ชุดกิจกรรม
เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
3
ชุดกิจกรรมชุดที่ 3 เรื่อง ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ
เพื่อพัฒนำควำมสำมำรถในเรื่อง กำรแก้โจทย์ปัญหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำมี 4 ขั้น คือ ขั้นที่
หนึ่ง กำรทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ (Understanding the problem) ขั้นที่สอง วำงแผนแก้ปัญหำ
(Devising a plan) ขั้นที่สำม ดำเนินกำรตำมแผน (Carring out plan) ขั้นที่สี่ ตรวจสอบผล
( Looking back ) เพื่อให้นักเรียนมีควำมรู้ มีทักษะในกำรแก้โจทย์ปัญหำ สำมำรถตีควำมโจทย์
ปัญหำได้ สำมำรถวำงแผนในกำรแก้ปัญหำได้ สำมำรถดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแผนได้ รู้จักคิด
อย่ำงมีเหตุผล รู้จักคิดวำงแผนในกำรทำงำน และให้นักเรียนสำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ในกำรดำเนิน
ชีวิตประจำวันโดยนำโจทย์ปัญหำหรือสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่ใช้ภำษำง่ำย เหมำะสมกับควำมสำมำรถ
ของนักเรียน เป็นภำษำที่นักเรียนคุ้นเคย มีนักเรียนเคยฝึกแก้ปัญหำ โดยจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ไว้
อย่ำงเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อควำมสะดวกแก่ครูผู้สอน และเปิดโอกำสให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน
กำรเรียน โดยใช้กิจกรรมที่หลำกหลำยให้สอดคล้องกับธรรมชำติและลักษณะของผู้เรียน
องค์ประกอบของชุดกิจกรรม
ผลกำรเรียนรู้
สำระกำรเรียนรู้
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม
บทบำทของครู
สิ่งที่ต้องเตรียม
กำรจัดสถำนที่เรียน
กำรประเมินผล
สื่อประกอบชุดกิจกรรม
ใบควำมรู้
ใบกิจกรรม
เฉลยกิจกรรม
แบบประเมินผล
องค์ประกอบของชุดกิจกรรม
4
ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมเพื่อแก้โจทย์ปัญหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำ ตรวจสอบโดยใช้กำรวิเครำะห์กำรถดถอยด้วย
โปรแกรมสำเร็จรูป สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
1. ผลการเรียนรู้
1. สร้ำงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัว
2. ใช้ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลทำนำยค่ำตัวแปรตำมเมื่อกำหนดตัวแปรอิสระให้
2. สาระการเรียนรู้
2.1 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพำรำโบลำ
เมื่อ y เป็นตัวแปรตำม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่
2.2 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพำรำโบลำ
เมื่อ x เป็นตัวแปรตำม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสำมำรถทำควำมเข้ำใจโจทย์ปัญหำของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ที่กรำฟเป็นเส้นตรงได้
2. นักเรียนสำมำรถวำงแผนกำรแก้ปัญหำได้
3. นักเรียนสำมำรถดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแผนได้
4. นักเรียนสำมำรถตรวจสอบคำตอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปได้
คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม
การแก้โจทย์ปัญหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
5
ชุดที่ 3 เรื่อง ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ
1. บทบาทของครูผู้สอน
1.1 ครูผู้สอนเตรียมตัวให้พร้อม โดยศึกษำรำยละเอียดเกี่ยวกับกำรใช้ชุดกิจกรรมและ
เตรียมสื่อกำรเรียนที่ใช้ประกอบกำรจัดกำรเรียนรู้
1.2 กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ครูต้องจัดกิจกรรมให้ครบตำมที่กำหนดไว้ เพื่อให้
กิจกรรมนั้นเป็นอย่ำงต่อเนื่องและบรรลุตำมวัตถุประสงค์
1.3 ก่อนจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ทุกครั้ง ครูต้องอธิบำย ชี้แจงกำรปฏิบัติกิจกรรมให้
ชัดเจนให้นักเรียนได้เข้ำใจตรงกัน จึงจะทำให้กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้บรรลุตำมเป้ ำหมำยและมี
ประสิทธิภำพ
1.4 ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกำรทำกิจกรรม เพื่อเป็นกำรฝึกให้
นักเรียนรู้จักทำงำนร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รับผิดชอบในหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำย
1.5 ก่อนจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เสร็จสิ้นลง ในแต่ละกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่ง
ตัวแทนมำนำเสนอผลงำน ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลกำรเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
2. สิ่งที่ครูต้องเตรียม
ครูต้องเตรียยมสื่อกำรจัดกำรเรียนรู้ให้ครบตำมขั้นตอนของชุดกิจกรรม ดังนี้
2.1 ใบควำมรู้
2.2 ใบกิจกรรม
2.3 เครื่องคอมพิวเตอร์
2.4 โปรแกรมสำเร็จรูป
3. กำรจัดชั้นเรียน(สถำนที่เรียน)
ในกำรเรียนแต่ละครั้ง ครูจะแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มให้มี
ทั้งนักเรียนเก่ง อ่อน อย่ำงละ1 คน ปำนกลำง 2 คน คละกัน แล้วให้สมำชิกในแต่ละกลุ่มเลือก
ประธำนกลุ่มและเลขำของกลุ่ม แบ่งหน้ำที่ในกำรทำกิจกรรมและหมุนเวียนหน้ำที่กันในกลุ่ม
ช่วยกันทำงำนกลุ่ม ซึ่งนักเรียนจะอยู่กลุ่มเดียวกันจนสิ้นสุดกำรสอน
ผังการจัดสถานที่เรียน
ห้องคอมพิวเตอร์
6
ครู
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4
กลุ่ม 5 กลุ่ม 6 กลุ่ม 7
กลุ่ม 8 กลุ่ม 9 กลุ่ม 10
4. การประเมินผล
4.1 กำรประเมินผลกำรปฏิบัติกิจกรรมในกลุ่ม
4.2 กำรประเมินผลกำรปฏิบัติกิจกรรมรำยบุคคล
ใบความรู้ที่ 3.1
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา
เมื่อ y เป็นตัวแปรตำม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงตัวที่ต้องกำรหำ
7
มีสมกำรเป็น Y = aX2
+ bX + c
สมกำรปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b 
n
i
ix
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
3
+ b 
n
i
ix
1
2
+ c 
n
i
ix
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
ix
1
4
+ b 
n
i
ix
1
3
+ c
n
i
ix
1
2
………(3)
ตัวอย่างที่ 3.1 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มี
อำยุต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค
อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4
ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3
จงใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำประมำณค่ำ
1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ
ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค
2) จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ
1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ
ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค และทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน ( บอกค่ำ x = 5.5 เดือน )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร จงทำนำยปริมำณยำ (หำค่ำ y )
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย
2.2 สร้ำงตำรำง
2.3 สร้ำงสมกำรปกติ
2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำยและกรำฟที่เป็นตัวแทนของควำมสัมพันธ์
8
X
4.54.03.53.02.52.01.51.0.5
Y 4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
Y
X
4.54.03.53.02.52.01.51.0.5
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
Observed
Quadratic
ตำรำงที่ 3.1 ก
xi yi xi
2
xi
3
xi
4
xi yi xi
2
yi
1 4 1 1 1 4 4
2 3 4 8 16 6 12
3 2 9 27 81 8 18
4 3 16 64 256 12 18

5
1i
ix = 10 
5
1i
iy =12 
5
1
2
i
ix = 30 
5
1
3
i
ix = 100 
5
1
4
i
ix = 354 
5
1i
ii yx =28 
5
1
2
i
ii yx =82
จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน
จำกแผนภำพกำรกระจำย เป็นควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กรำฟที่เป็นรูปพำรำโบลำ
เมื่อ y เป็นตัวแปรตำม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงตัว
มีสมกำรเป็น Y = aX2
+ bX + c
สมกำรปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b 
n
i
ix
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
3
+ b 
n
i
ix
1
2
+ c 
n
i
ix
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
ix
1
4
+ b 
n
i
ix
1
3
+ c
n
i
ix
1
2
………(3)
แทนค่ำในสมกำรปกติ
9
12 = 30a + 10b + 4c ………………(1)
28 = 100a + 30b + 10c ………………(2)
82 = 354a + 100b + 30c ………………(3)
แก้สมกำรหำค่ำของ a = 0.5 , b = - 2.9 , c = 6.5
ดังนั้นสมกำรประมำณค่ำคือ Yˆ = 0.5 2ˆX – 2.9 Xˆ + 6.5
จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน (x = 5.5 )
Yˆ = 0.5(5.5)2
– 2.9(5.5) + 6.5
= 0.5(30.25) – 15.95 + 6.5
= 5.675
ดังนั้น ทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน ต้องใช้ปริมาณยา 5.675 มิลลิกรัม
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้ำโปรแกรมสำเร็จรูป
2. กำหนดตัวแปร(Variable View) x และ y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y
4. วิเครำะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรำกฏหน้ำต่ำง Curve Estimate
เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent
และเลือก Quadratic
10
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: X
Dependent Ath Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
Y QUA .900 1 4.50 .316 6.5000 -2.9000 .5000
ผลการตรวจคาตอบ ได้คำตอบตรงกัน
ใบกิจกรรมที่ 3.1
11
คาสั่ง จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้
จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรให้นมชนิดหนึ่งต่อวันสำหรับทำรกที่มี
อำยุต่ำง ๆ กัน
อำยุ(เดือน): X 1 2 3 4
ปริมำณนม(กรัม) : Y 4 6 7 5
1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
2) จงทำนำยถ้ำปริมำณนมที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.5 เดือน
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ
1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ...........................................................................................................
1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร ....................................................................................................
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย
2.2 สร้ำงตำรำง
2.3 สร้ำงสมกำรปกติ
2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำย
ตำรำงที่ 3.1 ก
xi yi xi
2
xi
3
xi
4
xi yi xi
2
yi
1 4
2 6
3 7
4 5

5
1i
ix = 
5
1i
iy = 
5
1
2
i
ix = 
5
1
3
i
ix = 
5
1
4
i
ix = 
5
1i
ii yx = 
5
1
2
i
ii yx =
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ใบความรู้ที่ 3.2
12
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในรูปพาราโบลา
3.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา
เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงตัวที่ต้องกำรหำ
มีสมกำรเป็น X = aY2
+ bY + c
สมกำรปกติคือ 
n
i
ix
1
= a 
n
i
iy
1
2
+ b 
n
i
iy
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
iy
1
3
+ b 
n
i
iy
1
2
+ c 
n
i
iy
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
y
1
4
+ b
n
i
iy
1
3
+ c
n
i
iy
1
2
………(3)
ตัวอย่างที่ 3.2 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มี
อำยุต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค
อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4
ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3
จงใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำประมำณค่ำ
1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ
ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค
2) จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัมใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ
1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำหรับ
ทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค
1.2 จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม ( บอกค่ำ y = 2.5 มิลลิกรัม )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม ใช้สำหรับอำยุทำรกที่มี
อำยุกี่เดือน (หำค่ำ x )
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย
2.2 สร้ำงตำรำง
2.3 สร้ำงสมกำรปกติ
2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำยและกรำฟที่เป็นตัวแทนของควำมสัมพันธ์
13
Y
4.54.03.53.02.52.01.5
X
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
.5
X
Y
4.54.03.53.02.52.01.5
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
.5
Observed
Quadratic
ตำรำงที่ 3.2 ก
xi yi yi
2
yi
3
yi
4
xi yi xi yi
2
1 4 16 64 256 4 16
2 3 9 27 81 6 18
3 2 4 8 16 8 12
4 3 9 27 81 12 36

5
1i
ix = 10 
5
1i
iy =12 
5
1
2
i
ix = 38 
5
1
3
i
ix = 126 
5
1
4
i
ix = 434 
5
1i
ii yx =28 
5
1
2
i
ii yx =82
1) ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกันในกำร
รักษำโรค
จำกแผนภำพกำรกระจำย เป็นควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ
เมื่อ x เป็นตัวแปรตำม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่
มีสมกำรเป็น X = aY2
+ bY + c
สมกำรปกติคือ 
n
i
ix
1
= a 
n
i
iy
1
2
+ b 
n
i
iy
1
+ cn ………(1)
14

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
iy
1
3
+ b 
n
i
iy
1
2
+ c 
n
i
iy
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
y
1
4
+ b
n
i
iy
1
3
+ c
n
i
iy
1
2
………(3)
แทนค่ำในสมกำรปกติ
10 = 38a + 12b + 4c ………………(1)
28 = 126a + 38b + 12c ………………(2)
82 = 434a + 126b + 38c ………………(3)
แก้สมกำรหำค่ำของ a = - 1 , b = 5 , c = - 3
ดังนั้นสมกำรประมำณค่ำคือ Xˆ = - Yˆ 2
+ 5Yˆ - 3
จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม (y = 2.5 ) ที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน
Xˆ = - Yˆ 2
+ 5Yˆ - 3
= - (2.5)2
+ 5(2.5) - 3
= - 6.25 + 12.5 – 3
= 3.25
ดังนั้น ปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 3.25 เดือน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้ำโปรแกรมสำเร็จรูป
2. กำหนดตัวแปร(Variable View) x และ y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y
4. วิเครำะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรำกฏหน้ำต่ำง Curve Estimate
เลือกให้ x เป็น dependent และ y เป็น independent
และเลือก Quadratic
15
2. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: Y
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
X QUA .600 1 .75 .632 -3.0000 5.0000 -1.0000
ผลการตรวจคาตอบ ได้คำตอบตรงกัน
ใบกิจกรรมที่ 3.2
คาสั่ง จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้
16
จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรให้นมชนิดหนึ่งสำหรับทำรกที่มี
อำยุต่ำง ๆ กัน
อำยุ(เดือน): X 1 2 3 4
ปริมำณนม(กรัม) : Y 4 6 7 5
1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
2) จงทำนำยถ้ำปริมำณนม 4.5 กรัม ที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ
1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ...........................................................................................................
1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร ....................................................................................................
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย
2.2 สร้ำงตำรำง
2.3 สร้ำงสมกำรปกติ
2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำย
ตำรำงที่ 3.2 ข
xi yi yi
2
yi
3
yi
4
xi yi xi yi
2
1 4
2 6
3 7
4 5

5
1i
ix = 
5
1i
iy = 
5
1
2
i
ix = 
5
1
3
i
ix = 
5
1
4
i
ix = 
5
1i
ii yx = 
5
1
2
i
ii yx =
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมชุดที่ 3
คาสั่ง จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้
17
จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกัน
ในกำรรักษำโรค
อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4
ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 3 5 6 4
1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ
ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค
2) จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.5 เดือน
3) จงทำนำยปริมำณยำ 5.5 มิลลิกรัมใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ
1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด …………………………………………………………………
1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร …………………………………………………………………
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย
2.2 สร้ำงตำรำง
2.3 สร้ำงสมกำรปกติ
2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำย
ตำรำงที่ 3 ก
xi yi yi
2
yi
3
yi
4
xi yi xi yi
2
1 3
2 5
3 6
4 4

5
1i
ix = 
5
1i
iy = 
5
1
2
i
ix = 
5
1
3
i
ix = 
5
1
4
i
ix = 
5
1i
ii yx = 
5
1
2
i
ii yx =
18
บรรณานุกรม
กรมวิชำกำร. (2544 ). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 . กรุงเทพมหำนคร :
โรงพิมพ์คุรุสภำลำดพร้ำว.
. (2545 ). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ . กรุงเทพมหำนคร :
โรงพิมพ์คุรุสภำลำดพร้ำว.
จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลำง. (2553). คัมภีร์คณิตศาสตร์ ENTRANCE ม.4 - ม.6 ฉบับสมบูรณ์.
นนทบุรี: โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์กำรพิมพ์.
ประกำยรัตน์ สุวรรณ. (2548). คู่มือการใช้โปรแกรมSPSS เวอร์ชัน12 สาหรับ Window.
กรุงเทพมหำนคร: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด มหำชน.
ส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี, สถำบัน. (2549). คู่มือครูสาระการเรียนรู้
เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหำนคร:
โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว.
. (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2544. กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว.
สมัย เหล่ำวำนิชย์และพัวพรรณ เหล่ำวำนิชย์. (2547). คณิตศาสตร์ ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพมหำนคร:
บริษัทไฮเอ็ดพับลิชชิ่งจำกัด.
19
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3.1
จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรให้นมชนิดหนึ่งต่อวันสำหรับทำรกที่มี
อำยุต่ำง ๆ กัน
อำยุ(เดือน): X 1 2 3 4
ปริมำณนม(กรัม) : Y 4 6 7 5
1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
ถ้ำ y เป็นตัวแปรตำม (ปริมำณนม) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (อำยุ)
ตอบ สมการประมาณค่า คือ Yˆ = - Xˆ 2
+ 5.4 Xˆ - 0.5
2) จงทำนำยถ้ำทำรกอำยุ 2.5 เดือน จะใช้นมปริมำณกี่กรัม
ตอบ จะใช้ปริมำณนมประมำณ 6.75 กรัม
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
Y QUA .960 1 12.00 .200 -.5000 5.4000 -1.0000
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3.2
1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
ถ้ำ x เป็นตัวแปรตำม (อำยุ) และ y เป็นตัวแปรอิสระ(ปริมำณนม)
สมการประมาณค่า คือ Xˆ = Yˆ 2
– 11.2Yˆ + 32.6
2) จงทำนำยถ้ำปริมำณนม 4.5 กรัม ที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน
ตอบ ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.45 เดือน
Independent: Y
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
X QUA .840 1 2.62 .400 32.6000 -11.200 1.0000
20
เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมชุดที่ 3
จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกัน
ในกำรรักษำโรค
อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4
ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 3 5 6 4
1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกัน
ในกำรรักษำโรค
ถ้ำ y เป็นตัวแปรตำม (ปริมำณยำ) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (อำยุ)
ตอบ สมการประมาณค่า คือ Yˆ = - Xˆ 2
+ 5.4 Xˆ - 1.5
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
Y QUA .960 1 12.00 .200 -1.5000 5.4000 -1.0000
2) จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.5 เดือน
ตอบ จะใช้ปริมำณยำประมำณ 5.75 มิลลิกรัม
3) จงทำนำยปริมำณยำ 5.5 มิลลิกรัมใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน
ถ้ำ x เป็นตัวแปรตำม (อำยุ) และ y เป็นตัวแปรอิสระ(ปริมำณยำ)
สมการประมาณค่า คือ Xˆ = -0.5Yˆ 2
+ 4.9Yˆ - 8.8
Independent: Y
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
X QUA .360 1 .28 .800 -8.8000 4.9000 -.5000
ตอบ ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุประมำณ 3.125 เดือน
21
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 รหัสวิชา ค43201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา 3 ชั่วโมง
เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลที่กราฟเป็นรูปพาราโบลา
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีกำรทำงสถิติและควำมรู้เกี่ยวกับควำมน่ำจะเป็นในกำรคำดกำรณ์ได้อย่ำง
สมเหตุสมผล
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. สร้ำงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัว
2. ใช้ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลทำนำยค่ำตัวแปรตำมเมื่อกำหนดตัวแปรอิสระให้
ด้านความรู้ นักเรียนสำมำรถ
1. สร้ำงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัว
2. ใช้ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลทำนำยค่ำตัวแปรตำมเมื่อกำหนดตัวแปรอิสระให้
ด้านทักษะ / กระบวนการ นักเรียนสำมำรถ
1. ทำควำมเข้ำใจโจทย์ปัญหำของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กรำฟเป็นพำรำโบลำ
2. วำงแผนกำรแก้ปัญหำได้
3. ดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแผนได้
4. ตรวจสอบคำตอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปได้
ด้านคุณลักษณะ
1. มีควำมรับผิดชอบ
2. ควำมมีระเบียบ
3. มีควำมรอบคอบ
4. กำรให้เหตุผล
2. สาระการเรียนรู้
2. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟไม่เป็นเส้นตรง
2.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่
มีสมกำรเป็น Y = aX2
+ bX + c
22
สมกำรปกติคือ 
n
i
iy
1
= a
2
1

n
i
ix + b 
n
i
ix
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
3
+ b
2
1

n
i
ix + c 
n
i
ix
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
ix
1
4
+ b
3
1

n
i
ix + c
2
1

n
i
ix ………(3)
2.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา
เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่
มีสมกำรเป็น X = aY2
+ bY + c
สมกำรปกติคือ 
n
i
ix
1
= a
2
1

n
i
iy + b 
n
i
iy
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
iy
1
3
+ b
2
1

n
i
iy + c 
n
i
iy
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
y
1
4
+ b
3
1

n
i
iy + c
2
1

n
i
iy ………(3)
3. กิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงที่ 1
1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มให้มีทั้งนักเรียนเก่ง อ่อน อย่ำงละ1 คน
ปำนกลำง 2 คน คละกัน แล้วให้สมำชิกในแต่ละกลุ่มเลือกประธำนกลุ่มและเลขำของกลุ่ม แบ่ง
หน้ำที่ในกำรทำกิจกรรมและหมุนเวียนหน้ำที่กันในกลุ่มช่วยกันทำงำนกลุ่ม
2. ครูทบทวนกำรแก้ระบบสมกำรเชิงเส้นสำมตัวแปร ศึกษำจำกใบควำมรู้ 1.3
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มๆ ศึกษำใบควำมรู้ที่ 3.1 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่
กรำฟเป็นพำรำโบลำ เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง
เพื่อฝึกกำรตรวจสอบคำตอบโดยใช้กำรวิเครำะห์ กำรถดถอยด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
3. ให้นักเรียนแต่ละคนทำใบกิจกรรมที่ 3.1 โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำ
มี 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ
1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ...................................................................................................
1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร ...................................................................................................
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย
23
2.2 สร้ำงตำรำง
2.3 สร้ำงสมกำรปกติ
2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
4. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยใบกิจกรรมที่ 3.1 โดยกำรสุ่มนักเรียนนำเสนอคำตอบที่
คำนวณได้ ฝึกนักเรียนตรวจคำตอบโดยใช้คอมพิวเตอร์ตำมขั้นตอนไปพร้อมๆกับครู ฝึกอ่ำนค่ำ
จำกตำรำงผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล (output) ซึ่งมีครูคอยให้คำแนะนำและตรวจสอบควำมถูกต้อง
5. ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสำระสำคัญเกี่ยวกับกำรควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
โดยกำรถำม-ตอบและสรุปร่วมกัน
ชั่วโมงที่ 2 - 3
1. ครูทบทวนกำรแก้ระบบสมกำรเชิงเส้นสองตัวแปร
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มๆ ศึกษำใบควำมรู้ที่ 3.2 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่
กรำฟเป็นเป็นพำรำโบลำเมื่อ x เป็นตัวแปรตาม โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง
เพื่อฝึกกำรตรวจสอบคำตอบโดยใช้กำรวิเครำะห์กำรถดถอยด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
3. ให้นักเรียนแต่ละคนทำใบกิจกรรมที่ 3.2 โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำ
4. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยใบกิจกรรมที่ 3.2 โดยกำรสุ่มนักเรียนนำเสนอคำตอบที่
คำนวณได้ ฝึกนักเรียนตรวจคำตอบโดยใช้คอมพิวเตอร์ตำมขั้นตอนไปพร้อมๆกับครู ฝึกอ่ำนค่ำ
จำกตำรำงผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล (output) ซึ่งมีครูคอยให้คำแนะนำและตรวจสอบควำมถูกต้อง
5. ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสำระสำคัญเกี่ยวกับกำรควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล
ที่กรำฟเป็นพำรำโบลำ โดยกำรถำม-ตอบและสรุปร่วมกัน
6. นักเรียนทำแบบทดสอบท้ำยชุดกิจกรรมชุดที่ 3
4. สื่อการเรียน
1. หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติมคณิตศำสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ของสถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษำธิกำร
2. เครื่องฉำยทึบแสง (Projecter)
3. เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูป
4. ใบควำมรู้ที่ 3.1 ใบควำมรู้ที่ 3.2 และ ใบกิจกรรมที่ 3.1 และใบกิจกรรมที่ 3.2
5. แบบทดสอบท้ำยชุดกิจกรรมชุดที่ 3
24
5. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้
รายละเอียด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ด้ำนควำมรู้ (K) ตรวจใบกิจกรรม/
แบบทดสอบชุดที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3.1
ใบกิจกรรมที่ 3.2
แบบทดสอบท้ำยชุดที่ 3
ได้คะแนนร้อยละ 75 ขึ้นไป
หรือระดับดีขึ้นไป
ทักษะกำร
แก้ปัญหำ(P)
ตรวจแบบประเมิน
กำรแก้ปัญหำ
แบบประเมินกำร
แก้ปัญหำ
ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป
คุณลักษณะ(A) สังเกตคุณลักษณะ แบบสังเกตคุณลักษณะ ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป
เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล ใช้เกณฑ์กำรประเมินกำรแก้ปัญหำของโพลยำที่พัฒนำปรับปรุงมำ
จำกแนวทำงของกรมวิชำกำร (2544)
เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา (10 คะแนน)
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ ( 2 คะแนน )
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ ( 2 คะแนน )
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน ( 4 คะแนน )
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ( 2 คะแนน )
6. กิจกรรมเสนอแนะ
25
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
7. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ได้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ…………………………
(นำงมุกดำ อองกุลนะ)
รองผู้อำนวยกำรกลุ่มบริหำรงำนวิชำกำร
วันที่………เดือน……………..พ.ศ………
1. บันทึกผลหลังกำรสอน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. ปัญหำ/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………… ผู้สอน
( นำงรัศมี ธัญน้อม)
ครู ชำนำญกำร
วันที่……….เดือน………………พ.ศ………..
เกณฑ์การประเมิน หรือแนวทางการให้คะแนน
26
สำหรับกำรวิจัยในครั้งนี้ จะใช้เกณฑ์กำรประเมินกำรแก้ปัญหำของโพลยำ
ที่พัฒนำปรับปรุงมำจำกแนวทำงของกรมวิชำกำร (2544) ดังนี้
กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา (10 คะแนน)
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ ( 2 คะแนน )
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ ( 2 คะแนน )
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน ( 4 คะแนน )
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ( 2 คะแนน )
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ
ให้ 0 คะแนน ถ้ำเข้ำใจผิดพลำด
ให้ 1 คะแนน ถ้ำมีบำงส่วนเข้ำใจผิดพลำด แต่มีบำงส่วนเข้ำใจถูกต้อง
ให้ 2 คะแนน ถ้ำเข้ำใจปัญหำอย่ำงถูกต้อง
ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
ให้ 0 คะแนน ถ้ำไม่มีกำรวำงแผนในกำรแก้ปัญหำหรือมีแผนกำรแก้ปัญหำไม่
เหมำะสม
ให้ 1 คะแนน ถ้ำมีแผนกำรแก้ปัญหำที่ถูกต้องบำงส่วนแต่มีบำงส่วนไม่ถูกต้อง
ให้ 2 คะแนน ถ้ำมีแผนกำรแก้ปัญหำที่สำมำรถนำไปใช้แก้ปัญหำได้อย่ำง
เหมำะสม
ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน
ให้ 0 คะแนน ถ้ำไม่มีคำตอบหรือคำตอบผิด
ให้ 1 คะแนน ใช้วิธีกำรแก้ปัญหำบำงส่วนถูกต้อง ข้อมูลบำงส่วนผิดพลำด
จึงทำให้กำรคำนวณผิดพลำด คำตอบผิด
ให้ 2 คะแนน ใช้วิธีกำรแก้ปัญหำถูกต้อง ข้อมูลบำงส่วนผิดพลำด
จึงทำให้กำรคำนวณผิดพลำด แต่มีบำงส่วนคำนวณถูกต้อง
ให้ 3 คะแนน ใช้วิธีกำรแก้ปัญหำถูกต้อง ข้อมูลบำงส่วนผิดพลำด ส่วนใหญ่
คำนวณถูกต้อง ได้คำตอบถูกต้อง
ให้ 4 คะแนน ใช้ยุทธวิธีกำรแก้ปัญหำสำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ได้คำตอบถูกต้อง
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
27
ให้ 0 คะแนน ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ตรวจสอบคำตอบได้ แต่ผลกำรวิเครำะห์
ไม่ตรงกับที่คำนวณได้
ให้ 1 คะแนน ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ตรวจสอบคำตอบได้และผลกำรวิเครำะห์
ตรงกับที่คำนวณได้ ตั้งสมกำรปกติผิด
ให้ 2 คะแนน ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ตรวจสอบคำตอบได้ ผลกำรวิเครำะห์
ตรงกับที่คำนวณได้ ตั้งสมกำรปกติได้ถูกต้อง
สรุปผลการประเมินกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
ระดับคุณภำพ ดีมำก ได้คะแนน 8 - 10
ระดับคุณภำพ ดี ได้คะแนน 6 - 7
ระดับคุณภำพ พอใช้ ได้คะแนน 3 - 5
ระดับคุณภำพ ปรับปรุงได้คะแนน 1 – 2
เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะ
มีความรับผิดชอบ
4 หมำยถึง ส่งงำนก่อนกำหนด รับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเองจน
เป็นนิสัย เป็นระบบ ช่วยเหลือผู้อื่นและแนะนำชักชวนผู้อื่นปฏิบัติ
3 หมำยถึง ส่งงำนตรงตำมกำหนด รับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเอง
จนเป็นนิสัย เป็นระบบ ช่วยเหลือผู้อื่นและแนะนำชักชวนผู้อื่นปฏิบัติ
2 หมำยถึง ส่งงำนตรงตำมกำหนดรับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเองจน
เป็นนิสัย เป็นระบบ
1 หมำยถึง ส่งงำนล่ำช้ำกว่ำกำหนด รับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเอง
ได้บำงส่วนต้องคอยแนะนำ ตักเตือน
ความมีระเบียบ
4 หมำยถึง ชิ้นงำนสะอำดเรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดร่วมกันทุกครั้ง
3 หมำยถึง ชิ้นงำนส่วนใหญ่สะอำดเรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนด
ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่
2 หมำยถึง ชิ้นงำนไม่ค่อยเรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดร่วมกัน
บำงครั้ง
1 หมำยถึง ชิ้นงำนไม่เรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดร่วมกันโดยอำศัย
กำรแนะนำ
มีความรอบคอบ
28
4 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำทำให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง
3 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำแต่ได้คำตอบผิดเล็กน้อย
2 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำปำนกลำงแต่ได้คำตอบผิดพลำดเล็กน้อย
1 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำเล็กน้อยได้คำตอบไม่ถูกต้อง
การให้เหตุผล
4 หมำยถึง มีกำรอ้ำงอิง เสนอแนวคิดประกอบกำรตัดสินใจอย่ำงสมเหตุสมผล
3 หมำยถึง มีกำรอ้ำงอิงถูกต้องบำงส่วนและเสนอแนวคิดประกอบกำรตัดสินใจ
2 หมำยถึง เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในกำรประกอบกำรตัดสินใจ
1 หมำยถึง มีควำมพยำยำมเสนอแนวคิดประกอบกำรตัดสินใจ
สรุปผลการประเมินด้านคุณลักษณะ
ระดับคุณภำพ ดีมำก ได้คะแนน 13 - 16
ระดับคุณภำพ ดี ได้คะแนน 9 - 12
ระดับคุณภำพ พอใช้ ได้คะแนน 5 - 8
ระดับคุณภำพ ปรับปรุงได้คะแนน 1 - 4
เกณฑ์การประเมินของคะแนนกลุ่ม
การวางแผนการทางาน
4 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนทุกขั้นตอน มีข้อเสนอที่เป็นประโยชน์ใน
กำรวำงแผนงำนดีมำก
3 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนเกือบครบทุกขั้นตอน มีข้อเสนอที่เป็น
ประโยชน์ในกำรวำงแผนงำนดี
2 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนบ้ำง มีข้อเสนอที่เป็นประโยชน์ใน
กำรวำงแผนงำนดีพอสมควร
1 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนน้อยมำก หรือไม่มีข้อเสนอแนะที่เป็น
ประโยชน์ใน กำรวำงแผนงำน
แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
29
4 หมำยถึง ใช้เหตุผลในกำรแสดงควำมคิดเห็นได้ดีมำก และมุ่งประโยชน์เพื่อ
พัฒนำคุณภำพงำนเป็นสำคัญ
3 หมำยถึง ใช้เหตุผลในกำรแสดงควำมคิดเห็นได้ดี
2 หมำยถึง ใช้เหตุผลในกำรแสดงควำมคิดเห็นได้บ้ำงพอสมควร
1 หมำยถึง ใช้ควำมรู้สึกส่วนตัวในกำรแสดงควำมคิดเห็นมำกกว่ำใช้เหตุผล
ยอมรับข้อสรุปและผลงานของกลุ่ม
4 หมำยถึง สมำชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกำรสรุป ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม
ร่วมรับผิดชอบ ปรับปรุง แก้ไขงำนของกลุ่มทั้งหมดด้วยควำมเต็มใจ
3 หมำยถึง สมำชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกำรสรุป ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม
ร่วมรับผิดชอบ ปรับปรุง แก้ไขงำนส่วนใหญ่ของกลุ่ม
2 หมำยถึง สมำชิกบำงคนไม่มีส่วนร่วมในกำรสรุป แต่ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม
ร่วมรับผิดชอบ และปรับปรุง แก้ไขงำนของกลุ่มพอสมควร
1 หมำยถึง สมำชิกส่วนใหญ่จะไม่มีส่วนร่วมในกำรสรุป แต่ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม
ร่วมรับผิดชอบ และปรับปรุง แก้ไขงำนของกลุ่มเพียงเล็กน้อย
ความสามัคคี
4 หมำยถึง ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลือกันในกำรทำงำนอย่ำงสม่ำเสมอ
3 หมำยถึง ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลือกันในกำรทำงำนพอสมควร
2 หมำยถึง ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลือกันในกำรทำงำนเป็นบำงขั้นตอน
1 หมำยถึง ไมค่อยให้ควำมร่วมมือไม่ช่วยเหลือกันในกำรทำงำน
ทักษะการแก้ปัญหา
4 หมำยถึง ถ้ำนักเรียนแก้ปัญหำผิดพลำดเล็กน้อย และควำมผิดพลำดไม่ส่งผล
กระทบต่อข้อมูลอื่นๆ นักเรียนแก้ปัญหำได้ถูกต้องสมบูรณ์ได้คำตอบถูกต้อง
3 หมำยถึง ถ้ำมีเครื่องมือที่จะนำไปใช้แก้ปัญหำ สำมำรถแสดงวิธีกำรแก้ปัญหำได้
ถูกต้องแต่เข้ำใจผิดพลำดในบำงส่วนจึงทำให้คำตอบผิด มียุทธวิธีในกำรแก้ปัญหำอย่ำงเหมำะสมแต่
คำตอบผิดโดยไม่ปรำกฏเหตุผล หรือมีคำตอบบำงส่วนถูกต้อง แสดงวิธีกำรแก้ปัญหำถูกต้อง เลือก
ยุทธวิธีแก้ปัญหำได้ถูกต้องแต่กำรแก้ปัญหำไม่สมบูรณ์
2 หมำยถึง ถ้ำแสดงยุทธวิธีกำรแก้ปัญหำได้ถูกต้องแต่กำรคำนวณผิดพลำด
30
และมีร่องรอยปรำกฏว่ำมีควำมเข้ำใจในปัญหำ แต่ไม่ได้แสดงกำรแก้ปัญหำเพียงพอที่จะค้นพบ
คำตอบได้หรือใช้วิธีกำรคำนวณผิดพลำดในบำงส่วนจึงทำให้คำตอบผิด นักเรียนค้นพบคำตอบของ
ปัญหำย่อยแสดงวิธีทำได้ถูกต้องแต่กระบวนกำรทำงำนไม่ถูกต้องหรือไม้ได้แสดงให้เห็น
กระบวนกำรทำงำน
1 หมำยถึง ถ้ำมีร่อยรอยปรำกฏว่ำพบวิธีกำรแก้ปัญหำที่ถูกต้องและคัดลอกข้อมูลที่
จำเป็นในกำรแก้ปัญหำแสดงให้เห็นว่ำมีควำมเข้ำใจในปัญหำ มีร่องรอยกำรแสดงยุทธวิธีในกำร
อย่ำงเหมำะสมแต่ทำไม่สำเร็จ
สรุปผลการประเมิน
ระดับคุณภำพ ดีมำก ได้คะแนน 16 - 20
ระดับคุณภำพ ดี ได้คะแนน 11 - 15
ระดับคุณภำพ พอใช้ ได้คะแนน 6 - 10
ระดับคุณภำพ ปรับปรุงได้คะแนน 1 – 5
แบบสังเกตคุณลักษณะ
31
เลขที่
รายการประเมิน
รวมความรับผิดชอบ
4
ความมีระเบียบ
4
ความรอบคอบ
4
การให้เหตุผล
4
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
ผู้ประเมิน ตนเอง
ผู้เรียนกลุ่มที่....................................................
ผู้สอน..............................................................
….............../.............../.................
แบบประเมินการทางานกลุ่ม
32
กลุ่มที่
รายการประเมิน
รวม
20
การวางแผน
การทางาน
4
แสดงความคิด
อย่างมีเหตุผล
4
ยอมรับข้อสรุป
ผลงานของกลุ่ม
4
ความสามัคคี
4
ทักษะการ
แก้ปัญหา
4
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ผู้ประเมิน ตนเอง
ผู้เรียนกลุ่มที่....................................................
ผู้สอน..............................................................
….............../.............../.................

More Related Content

What's hot

หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6yosawat1089
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์KruGift Girlz
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศchaimate
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์othanatoso
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกทับทิม เจริญตา
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาNattapon
 

What's hot (20)

หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 

Viewers also liked

4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อมkrurutsamee
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 krurutsamee
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 krurutsamee
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 krurutsamee
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์krurutsamee
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 

Viewers also liked (13)

4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 

Similar to ชุดที่3

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10sasamart02
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4Meaw Sukee
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkorng001
 

Similar to ชุดที่3 (15)

42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
11
1111
11
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

More from krurutsamee

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน krurutsamee
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนkrurutsamee
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสkrurutsamee
 
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์krurutsamee
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

More from krurutsamee (9)

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 

ชุดที่3

  • 1.
  • 2. 2 สารบัญ คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรม 1 องค์ประกอบของชุดกิจกรรม 2 คู่มือกำรใช้ชุดกิจกรรม 3 แผนผังกำรจัดสถำนที่เรียน 4 ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ 5 3.1 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ เมื่อ y ตัวแปรตำม 3.2 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ 10 เมื่อ x ตัวแปรตำม แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมชุดที่ 3 15 บรรณำนุกรม 16 เฉลยกิจกรรมที่ 2 17 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 3 18 คาชี้แจงสาหรับการใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
  • 3. 3 ชุดกิจกรรมชุดที่ 3 เรื่อง ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ เพื่อพัฒนำควำมสำมำรถในเรื่อง กำรแก้โจทย์ปัญหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำมี 4 ขั้น คือ ขั้นที่ หนึ่ง กำรทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ (Understanding the problem) ขั้นที่สอง วำงแผนแก้ปัญหำ (Devising a plan) ขั้นที่สำม ดำเนินกำรตำมแผน (Carring out plan) ขั้นที่สี่ ตรวจสอบผล ( Looking back ) เพื่อให้นักเรียนมีควำมรู้ มีทักษะในกำรแก้โจทย์ปัญหำ สำมำรถตีควำมโจทย์ ปัญหำได้ สำมำรถวำงแผนในกำรแก้ปัญหำได้ สำมำรถดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแผนได้ รู้จักคิด อย่ำงมีเหตุผล รู้จักคิดวำงแผนในกำรทำงำน และให้นักเรียนสำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ในกำรดำเนิน ชีวิตประจำวันโดยนำโจทย์ปัญหำหรือสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่ใช้ภำษำง่ำย เหมำะสมกับควำมสำมำรถ ของนักเรียน เป็นภำษำที่นักเรียนคุ้นเคย มีนักเรียนเคยฝึกแก้ปัญหำ โดยจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ไว้ อย่ำงเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อควำมสะดวกแก่ครูผู้สอน และเปิดโอกำสให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน กำรเรียน โดยใช้กิจกรรมที่หลำกหลำยให้สอดคล้องกับธรรมชำติและลักษณะของผู้เรียน องค์ประกอบของชุดกิจกรรม ผลกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม บทบำทของครู สิ่งที่ต้องเตรียม กำรจัดสถำนที่เรียน กำรประเมินผล สื่อประกอบชุดกิจกรรม ใบควำมรู้ ใบกิจกรรม เฉลยกิจกรรม แบบประเมินผล องค์ประกอบของชุดกิจกรรม
  • 4. 4 ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมเพื่อแก้โจทย์ปัญหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำ ตรวจสอบโดยใช้กำรวิเครำะห์กำรถดถอยด้วย โปรแกรมสำเร็จรูป สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 1. ผลการเรียนรู้ 1. สร้ำงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัว 2. ใช้ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลทำนำยค่ำตัวแปรตำมเมื่อกำหนดตัวแปรอิสระให้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพำรำโบลำ เมื่อ y เป็นตัวแปรตำม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่ 2.2 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพำรำโบลำ เมื่อ x เป็นตัวแปรตำม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสำมำรถทำควำมเข้ำใจโจทย์ปัญหำของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ที่กรำฟเป็นเส้นตรงได้ 2. นักเรียนสำมำรถวำงแผนกำรแก้ปัญหำได้ 3. นักเรียนสำมำรถดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแผนได้ 4. นักเรียนสำมำรถตรวจสอบคำตอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปได้ คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม การแก้โจทย์ปัญหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
  • 5. 5 ชุดที่ 3 เรื่อง ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ 1. บทบาทของครูผู้สอน 1.1 ครูผู้สอนเตรียมตัวให้พร้อม โดยศึกษำรำยละเอียดเกี่ยวกับกำรใช้ชุดกิจกรรมและ เตรียมสื่อกำรเรียนที่ใช้ประกอบกำรจัดกำรเรียนรู้ 1.2 กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ครูต้องจัดกิจกรรมให้ครบตำมที่กำหนดไว้ เพื่อให้ กิจกรรมนั้นเป็นอย่ำงต่อเนื่องและบรรลุตำมวัตถุประสงค์ 1.3 ก่อนจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ทุกครั้ง ครูต้องอธิบำย ชี้แจงกำรปฏิบัติกิจกรรมให้ ชัดเจนให้นักเรียนได้เข้ำใจตรงกัน จึงจะทำให้กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้บรรลุตำมเป้ ำหมำยและมี ประสิทธิภำพ 1.4 ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกำรทำกิจกรรม เพื่อเป็นกำรฝึกให้ นักเรียนรู้จักทำงำนร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รับผิดชอบในหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำย 1.5 ก่อนจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เสร็จสิ้นลง ในแต่ละกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทนมำนำเสนอผลงำน ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลกำรเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม 2. สิ่งที่ครูต้องเตรียม ครูต้องเตรียยมสื่อกำรจัดกำรเรียนรู้ให้ครบตำมขั้นตอนของชุดกิจกรรม ดังนี้ 2.1 ใบควำมรู้ 2.2 ใบกิจกรรม 2.3 เครื่องคอมพิวเตอร์ 2.4 โปรแกรมสำเร็จรูป 3. กำรจัดชั้นเรียน(สถำนที่เรียน) ในกำรเรียนแต่ละครั้ง ครูจะแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มให้มี ทั้งนักเรียนเก่ง อ่อน อย่ำงละ1 คน ปำนกลำง 2 คน คละกัน แล้วให้สมำชิกในแต่ละกลุ่มเลือก ประธำนกลุ่มและเลขำของกลุ่ม แบ่งหน้ำที่ในกำรทำกิจกรรมและหมุนเวียนหน้ำที่กันในกลุ่ม ช่วยกันทำงำนกลุ่ม ซึ่งนักเรียนจะอยู่กลุ่มเดียวกันจนสิ้นสุดกำรสอน ผังการจัดสถานที่เรียน ห้องคอมพิวเตอร์
  • 6. 6 ครู กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 กลุ่ม 6 กลุ่ม 7 กลุ่ม 8 กลุ่ม 9 กลุ่ม 10 4. การประเมินผล 4.1 กำรประเมินผลกำรปฏิบัติกิจกรรมในกลุ่ม 4.2 กำรประเมินผลกำรปฏิบัติกิจกรรมรำยบุคคล ใบความรู้ที่ 3.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา เมื่อ y เป็นตัวแปรตำม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงตัวที่ต้องกำรหำ
  • 7. 7 มีสมกำรเป็น Y = aX2 + bX + c สมกำรปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 2 + b  n i ix 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 3 + b  n i ix 1 2 + c  n i ix 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i ix 1 4 + b  n i ix 1 3 + c n i ix 1 2 ………(3) ตัวอย่างที่ 3.1 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มี อำยุต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4 ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3 จงใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำประมำณค่ำ 1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค 2) จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ 1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค และทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน ( บอกค่ำ x = 5.5 เดือน ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร จงทำนำยปริมำณยำ (หำค่ำ y ) ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ 2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย 2.2 สร้ำงตำรำง 2.3 สร้ำงสมกำรปกติ 2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำยและกรำฟที่เป็นตัวแทนของควำมสัมพันธ์
  • 8. 8 X 4.54.03.53.02.52.01.51.0.5 Y 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 Y X 4.54.03.53.02.52.01.51.0.5 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 Observed Quadratic ตำรำงที่ 3.1 ก xi yi xi 2 xi 3 xi 4 xi yi xi 2 yi 1 4 1 1 1 4 4 2 3 4 8 16 6 12 3 2 9 27 81 8 18 4 3 16 64 256 12 18  5 1i ix = 10  5 1i iy =12  5 1 2 i ix = 30  5 1 3 i ix = 100  5 1 4 i ix = 354  5 1i ii yx =28  5 1 2 i ii yx =82 จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน จำกแผนภำพกำรกระจำย เป็นควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กรำฟที่เป็นรูปพำรำโบลำ เมื่อ y เป็นตัวแปรตำม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงตัว มีสมกำรเป็น Y = aX2 + bX + c สมกำรปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 2 + b  n i ix 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 3 + b  n i ix 1 2 + c  n i ix 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i ix 1 4 + b  n i ix 1 3 + c n i ix 1 2 ………(3) แทนค่ำในสมกำรปกติ
  • 9. 9 12 = 30a + 10b + 4c ………………(1) 28 = 100a + 30b + 10c ………………(2) 82 = 354a + 100b + 30c ………………(3) แก้สมกำรหำค่ำของ a = 0.5 , b = - 2.9 , c = 6.5 ดังนั้นสมกำรประมำณค่ำคือ Yˆ = 0.5 2ˆX – 2.9 Xˆ + 6.5 จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน (x = 5.5 ) Yˆ = 0.5(5.5)2 – 2.9(5.5) + 6.5 = 0.5(30.25) – 15.95 + 6.5 = 5.675 ดังนั้น ทำรกที่มีอำยุ 5.5 เดือน ต้องใช้ปริมาณยา 5.675 มิลลิกรัม ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้ำโปรแกรมสำเร็จรูป 2. กำหนดตัวแปร(Variable View) x และ y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y 4. วิเครำะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรำกฏหน้ำต่ำง Curve Estimate เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent และเลือก Quadratic
  • 10. 10 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: X Dependent Ath Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 Y QUA .900 1 4.50 .316 6.5000 -2.9000 .5000 ผลการตรวจคาตอบ ได้คำตอบตรงกัน ใบกิจกรรมที่ 3.1
  • 11. 11 คาสั่ง จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรให้นมชนิดหนึ่งต่อวันสำหรับทำรกที่มี อำยุต่ำง ๆ กัน อำยุ(เดือน): X 1 2 3 4 ปริมำณนม(กรัม) : Y 4 6 7 5 1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล 2) จงทำนำยถ้ำปริมำณนมที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.5 เดือน ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ 1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ........................................................................................................... 1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร .................................................................................................... ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ 2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย 2.2 สร้ำงตำรำง 2.3 สร้ำงสมกำรปกติ 2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำย ตำรำงที่ 3.1 ก xi yi xi 2 xi 3 xi 4 xi yi xi 2 yi 1 4 2 6 3 7 4 5  5 1i ix =  5 1i iy =  5 1 2 i ix =  5 1 3 i ix =  5 1 4 i ix =  5 1i ii yx =  5 1 2 i ii yx = ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ใบความรู้ที่ 3.2
  • 12. 12 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในรูปพาราโบลา 3.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงตัวที่ต้องกำรหำ มีสมกำรเป็น X = aY2 + bY + c สมกำรปกติคือ  n i ix 1 = a  n i iy 1 2 + b  n i iy 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i iy 1 3 + b  n i iy 1 2 + c  n i iy 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i y 1 4 + b n i iy 1 3 + c n i iy 1 2 ………(3) ตัวอย่างที่ 3.2 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มี อำยุต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4 ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3 จงใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำประมำณค่ำ 1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค 2) จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัมใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ 1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำหรับ ทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค 1.2 จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม ( บอกค่ำ y = 2.5 มิลลิกรัม ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม ใช้สำหรับอำยุทำรกที่มี อำยุกี่เดือน (หำค่ำ x ) ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ 2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย 2.2 สร้ำงตำรำง 2.3 สร้ำงสมกำรปกติ 2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำยและกรำฟที่เป็นตัวแทนของควำมสัมพันธ์
  • 13. 13 Y 4.54.03.53.02.52.01.5 X 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 .5 X Y 4.54.03.53.02.52.01.5 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 .5 Observed Quadratic ตำรำงที่ 3.2 ก xi yi yi 2 yi 3 yi 4 xi yi xi yi 2 1 4 16 64 256 4 16 2 3 9 27 81 6 18 3 2 4 8 16 8 12 4 3 9 27 81 12 36  5 1i ix = 10  5 1i iy =12  5 1 2 i ix = 38  5 1 3 i ix = 126  5 1 4 i ix = 434  5 1i ii yx =28  5 1 2 i ii yx =82 1) ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกันในกำร รักษำโรค จำกแผนภำพกำรกระจำย เป็นควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กรำฟเป็นรูปพำรำโบลำ เมื่อ x เป็นตัวแปรตำม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่ มีสมกำรเป็น X = aY2 + bY + c สมกำรปกติคือ  n i ix 1 = a  n i iy 1 2 + b  n i iy 1 + cn ………(1)
  • 14. 14  n i ii yx 1 = a  n i iy 1 3 + b  n i iy 1 2 + c  n i iy 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i y 1 4 + b n i iy 1 3 + c n i iy 1 2 ………(3) แทนค่ำในสมกำรปกติ 10 = 38a + 12b + 4c ………………(1) 28 = 126a + 38b + 12c ………………(2) 82 = 434a + 126b + 38c ………………(3) แก้สมกำรหำค่ำของ a = - 1 , b = 5 , c = - 3 ดังนั้นสมกำรประมำณค่ำคือ Xˆ = - Yˆ 2 + 5Yˆ - 3 จงทำนำยปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม (y = 2.5 ) ที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน Xˆ = - Yˆ 2 + 5Yˆ - 3 = - (2.5)2 + 5(2.5) - 3 = - 6.25 + 12.5 – 3 = 3.25 ดังนั้น ปริมำณยำ 2.5 มิลลิกรัม ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 3.25 เดือน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้ำโปรแกรมสำเร็จรูป 2. กำหนดตัวแปร(Variable View) x และ y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y 4. วิเครำะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรำกฏหน้ำต่ำง Curve Estimate เลือกให้ x เป็น dependent และ y เป็น independent และเลือก Quadratic
  • 15. 15 2. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: Y Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 X QUA .600 1 .75 .632 -3.0000 5.0000 -1.0000 ผลการตรวจคาตอบ ได้คำตอบตรงกัน ใบกิจกรรมที่ 3.2 คาสั่ง จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้
  • 16. 16 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรให้นมชนิดหนึ่งสำหรับทำรกที่มี อำยุต่ำง ๆ กัน อำยุ(เดือน): X 1 2 3 4 ปริมำณนม(กรัม) : Y 4 6 7 5 1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล 2) จงทำนำยถ้ำปริมำณนม 4.5 กรัม ที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ 1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ........................................................................................................... 1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร .................................................................................................... ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ 2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย 2.2 สร้ำงตำรำง 2.3 สร้ำงสมกำรปกติ 2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำย ตำรำงที่ 3.2 ข xi yi yi 2 yi 3 yi 4 xi yi xi yi 2 1 4 2 6 3 7 4 5  5 1i ix =  5 1i iy =  5 1 2 i ix =  5 1 3 i ix =  5 1 4 i ix =  5 1i ii yx =  5 1 2 i ii yx = ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมชุดที่ 3 คาสั่ง จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้
  • 17. 17 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกัน ในกำรรักษำโรค อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4 ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 3 5 6 4 1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุ ต่ำงๆกันในกำรรักษำโรค 2) จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.5 เดือน 3) จงทำนำยปริมำณยำ 5.5 มิลลิกรัมใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ 1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ………………………………………………………………… 1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร ………………………………………………………………… ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ 2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย 2.2 สร้ำงตำรำง 2.3 สร้ำงสมกำรปกติ 2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน เขียนแผนภำพกำรกระจำย ตำรำงที่ 3 ก xi yi yi 2 yi 3 yi 4 xi yi xi yi 2 1 3 2 5 3 6 4 4  5 1i ix =  5 1i iy =  5 1 2 i ix =  5 1 3 i ix =  5 1 4 i ix =  5 1i ii yx =  5 1 2 i ii yx =
  • 18. 18 บรรณานุกรม กรมวิชำกำร. (2544 ). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 . กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์คุรุสภำลำดพร้ำว. . (2545 ). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ . กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์คุรุสภำลำดพร้ำว. จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลำง. (2553). คัมภีร์คณิตศาสตร์ ENTRANCE ม.4 - ม.6 ฉบับสมบูรณ์. นนทบุรี: โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์กำรพิมพ์. ประกำยรัตน์ สุวรรณ. (2548). คู่มือการใช้โปรแกรมSPSS เวอร์ชัน12 สาหรับ Window. กรุงเทพมหำนคร: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด มหำชน. ส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี, สถำบัน. (2549). คู่มือครูสาระการเรียนรู้ เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว. . (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว. สมัย เหล่ำวำนิชย์และพัวพรรณ เหล่ำวำนิชย์. (2547). คณิตศาสตร์ ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพมหำนคร: บริษัทไฮเอ็ดพับลิชชิ่งจำกัด.
  • 19. 19 เฉลยใบกิจกรรมที่ 3.1 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรให้นมชนิดหนึ่งต่อวันสำหรับทำรกที่มี อำยุต่ำง ๆ กัน อำยุ(เดือน): X 1 2 3 4 ปริมำณนม(กรัม) : Y 4 6 7 5 1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล ถ้ำ y เป็นตัวแปรตำม (ปริมำณนม) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (อำยุ) ตอบ สมการประมาณค่า คือ Yˆ = - Xˆ 2 + 5.4 Xˆ - 0.5 2) จงทำนำยถ้ำทำรกอำยุ 2.5 เดือน จะใช้นมปริมำณกี่กรัม ตอบ จะใช้ปริมำณนมประมำณ 6.75 กรัม Independent: X Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 Y QUA .960 1 12.00 .200 -.5000 5.4000 -1.0000 เฉลยใบกิจกรรมที่ 3.2 1) จงหำสมกำรของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล ถ้ำ x เป็นตัวแปรตำม (อำยุ) และ y เป็นตัวแปรอิสระ(ปริมำณนม) สมการประมาณค่า คือ Xˆ = Yˆ 2 – 11.2Yˆ + 32.6 2) จงทำนำยถ้ำปริมำณนม 4.5 กรัม ที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน ตอบ ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.45 เดือน Independent: Y Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 X QUA .840 1 2.62 .400 32.6000 -11.200 1.0000
  • 20. 20 เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมชุดที่ 3 จำกกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกัน ในกำรรักษำโรค อำยุ(เดือน) : X 1 2 3 4 ปริมำณยำ(มิลลิกรัม) : Y 3 5 6 4 1) จงหำควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงปริมำณกำรใช้ยำชนิดหนึ่งสำรับทำรกที่มีอำยุต่ำงๆกัน ในกำรรักษำโรค ถ้ำ y เป็นตัวแปรตำม (ปริมำณยำ) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (อำยุ) ตอบ สมการประมาณค่า คือ Yˆ = - Xˆ 2 + 5.4 Xˆ - 1.5 Independent: X Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 Y QUA .960 1 12.00 .200 -1.5000 5.4000 -1.0000 2) จงทำนำยปริมำณยำที่ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุ 2.5 เดือน ตอบ จะใช้ปริมำณยำประมำณ 5.75 มิลลิกรัม 3) จงทำนำยปริมำณยำ 5.5 มิลลิกรัมใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุกี่เดือน ถ้ำ x เป็นตัวแปรตำม (อำยุ) และ y เป็นตัวแปรอิสระ(ปริมำณยำ) สมการประมาณค่า คือ Xˆ = -0.5Yˆ 2 + 4.9Yˆ - 8.8 Independent: Y Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 X QUA .360 1 .28 .800 -8.8000 4.9000 -.5000 ตอบ ใช้สำหรับทำรกที่มีอำยุประมำณ 3.125 เดือน
  • 21. 21 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 รหัสวิชา ค43201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลที่กราฟเป็นรูปพาราโบลา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีกำรทำงสถิติและควำมรู้เกี่ยวกับควำมน่ำจะเป็นในกำรคำดกำรณ์ได้อย่ำง สมเหตุสมผล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สร้ำงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัว 2. ใช้ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลทำนำยค่ำตัวแปรตำมเมื่อกำหนดตัวแปรอิสระให้ ด้านความรู้ นักเรียนสำมำรถ 1. สร้ำงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัว 2. ใช้ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลทำนำยค่ำตัวแปรตำมเมื่อกำหนดตัวแปรอิสระให้ ด้านทักษะ / กระบวนการ นักเรียนสำมำรถ 1. ทำควำมเข้ำใจโจทย์ปัญหำของควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กรำฟเป็นพำรำโบลำ 2. วำงแผนกำรแก้ปัญหำได้ 3. ดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแผนได้ 4. ตรวจสอบคำตอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปได้ ด้านคุณลักษณะ 1. มีควำมรับผิดชอบ 2. ควำมมีระเบียบ 3. มีควำมรอบคอบ 4. กำรให้เหตุผล 2. สาระการเรียนรู้ 2. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟไม่เป็นเส้นตรง 2.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่ มีสมกำรเป็น Y = aX2 + bX + c
  • 22. 22 สมกำรปกติคือ  n i iy 1 = a 2 1  n i ix + b  n i ix 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 3 + b 2 1  n i ix + c  n i ix 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i ix 1 4 + b 3 1  n i ix + c 2 1  n i ix ………(3) 2.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่ำคงที่ มีสมกำรเป็น X = aY2 + bY + c สมกำรปกติคือ  n i ix 1 = a 2 1  n i iy + b  n i iy 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i iy 1 3 + b 2 1  n i iy + c  n i iy 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i y 1 4 + b 3 1  n i iy + c 2 1  n i iy ………(3) 3. กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมงที่ 1 1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มให้มีทั้งนักเรียนเก่ง อ่อน อย่ำงละ1 คน ปำนกลำง 2 คน คละกัน แล้วให้สมำชิกในแต่ละกลุ่มเลือกประธำนกลุ่มและเลขำของกลุ่ม แบ่ง หน้ำที่ในกำรทำกิจกรรมและหมุนเวียนหน้ำที่กันในกลุ่มช่วยกันทำงำนกลุ่ม 2. ครูทบทวนกำรแก้ระบบสมกำรเชิงเส้นสำมตัวแปร ศึกษำจำกใบควำมรู้ 1.3 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มๆ ศึกษำใบควำมรู้ที่ 3.1 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่ กรำฟเป็นพำรำโบลำ เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง เพื่อฝึกกำรตรวจสอบคำตอบโดยใช้กำรวิเครำะห์ กำรถดถอยด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป 3. ให้นักเรียนแต่ละคนทำใบกิจกรรมที่ 3.1 โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำ มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ 1.1 สิ่งที่โจทย์กำหนด ................................................................................................... 1.2 สิ่งที่โจทย์ถำมหำอะไร ................................................................................................... ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ 2.1 เขียนแผนภำพกำรกระจำย
  • 23. 23 2.2 สร้ำงตำรำง 2.3 สร้ำงสมกำรปกติ 2.4 แก้สมกำร หำค่ำคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป 4. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยใบกิจกรรมที่ 3.1 โดยกำรสุ่มนักเรียนนำเสนอคำตอบที่ คำนวณได้ ฝึกนักเรียนตรวจคำตอบโดยใช้คอมพิวเตอร์ตำมขั้นตอนไปพร้อมๆกับครู ฝึกอ่ำนค่ำ จำกตำรำงผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล (output) ซึ่งมีครูคอยให้คำแนะนำและตรวจสอบควำมถูกต้อง 5. ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสำระสำคัญเกี่ยวกับกำรควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล โดยกำรถำม-ตอบและสรุปร่วมกัน ชั่วโมงที่ 2 - 3 1. ครูทบทวนกำรแก้ระบบสมกำรเชิงเส้นสองตัวแปร 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มๆ ศึกษำใบควำมรู้ที่ 3.2 ควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูลที่ กรำฟเป็นเป็นพำรำโบลำเมื่อ x เป็นตัวแปรตาม โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง เพื่อฝึกกำรตรวจสอบคำตอบโดยใช้กำรวิเครำะห์กำรถดถอยด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป 3. ให้นักเรียนแต่ละคนทำใบกิจกรรมที่ 3.2 โดยใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำของโพลยำ 4. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยใบกิจกรรมที่ 3.2 โดยกำรสุ่มนักเรียนนำเสนอคำตอบที่ คำนวณได้ ฝึกนักเรียนตรวจคำตอบโดยใช้คอมพิวเตอร์ตำมขั้นตอนไปพร้อมๆกับครู ฝึกอ่ำนค่ำ จำกตำรำงผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล (output) ซึ่งมีครูคอยให้คำแนะนำและตรวจสอบควำมถูกต้อง 5. ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสำระสำคัญเกี่ยวกับกำรควำมสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่ำงข้อมูล ที่กรำฟเป็นพำรำโบลำ โดยกำรถำม-ตอบและสรุปร่วมกัน 6. นักเรียนทำแบบทดสอบท้ำยชุดกิจกรรมชุดที่ 3 4. สื่อการเรียน 1. หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติมคณิตศำสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ของสถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษำธิกำร 2. เครื่องฉำยทึบแสง (Projecter) 3. เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูป 4. ใบควำมรู้ที่ 3.1 ใบควำมรู้ที่ 3.2 และ ใบกิจกรรมที่ 3.1 และใบกิจกรรมที่ 3.2 5. แบบทดสอบท้ำยชุดกิจกรรมชุดที่ 3
  • 24. 24 5. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้ รายละเอียด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ด้ำนควำมรู้ (K) ตรวจใบกิจกรรม/ แบบทดสอบชุดที่ 3 ใบกิจกรรมที่ 3.1 ใบกิจกรรมที่ 3.2 แบบทดสอบท้ำยชุดที่ 3 ได้คะแนนร้อยละ 75 ขึ้นไป หรือระดับดีขึ้นไป ทักษะกำร แก้ปัญหำ(P) ตรวจแบบประเมิน กำรแก้ปัญหำ แบบประเมินกำร แก้ปัญหำ ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป คุณลักษณะ(A) สังเกตคุณลักษณะ แบบสังเกตคุณลักษณะ ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล ใช้เกณฑ์กำรประเมินกำรแก้ปัญหำของโพลยำที่พัฒนำปรับปรุงมำ จำกแนวทำงของกรมวิชำกำร (2544) เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา (10 คะแนน) ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ ( 2 คะแนน ) ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ ( 2 คะแนน ) ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน ( 4 คะแนน ) ขั้นที่ 4 ตรวจสอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ( 2 คะแนน ) 6. กิจกรรมเสนอแนะ
  • 25. 25 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 7. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………… (นำงมุกดำ อองกุลนะ) รองผู้อำนวยกำรกลุ่มบริหำรงำนวิชำกำร วันที่………เดือน……………..พ.ศ……… 1. บันทึกผลหลังกำรสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. ปัญหำ/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………… ผู้สอน ( นำงรัศมี ธัญน้อม) ครู ชำนำญกำร วันที่……….เดือน………………พ.ศ……….. เกณฑ์การประเมิน หรือแนวทางการให้คะแนน
  • 26. 26 สำหรับกำรวิจัยในครั้งนี้ จะใช้เกณฑ์กำรประเมินกำรแก้ปัญหำของโพลยำ ที่พัฒนำปรับปรุงมำจำกแนวทำงของกรมวิชำกำร (2544) ดังนี้ กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา (10 คะแนน) ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ ( 2 คะแนน ) ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ ( 2 คะแนน ) ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน ( 4 คะแนน ) ขั้นที่ 4 ตรวจสอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ( 2 คะแนน ) ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจกับปัญหำ ให้ 0 คะแนน ถ้ำเข้ำใจผิดพลำด ให้ 1 คะแนน ถ้ำมีบำงส่วนเข้ำใจผิดพลำด แต่มีบำงส่วนเข้ำใจถูกต้อง ให้ 2 คะแนน ถ้ำเข้ำใจปัญหำอย่ำงถูกต้อง ขั้นที่ 2 วำงแผนในกำรแก้ปัญหำ ให้ 0 คะแนน ถ้ำไม่มีกำรวำงแผนในกำรแก้ปัญหำหรือมีแผนกำรแก้ปัญหำไม่ เหมำะสม ให้ 1 คะแนน ถ้ำมีแผนกำรแก้ปัญหำที่ถูกต้องบำงส่วนแต่มีบำงส่วนไม่ถูกต้อง ให้ 2 คะแนน ถ้ำมีแผนกำรแก้ปัญหำที่สำมำรถนำไปใช้แก้ปัญหำได้อย่ำง เหมำะสม ขั้นที่ 3 ดำเนินกำรตำมแผน ให้ 0 คะแนน ถ้ำไม่มีคำตอบหรือคำตอบผิด ให้ 1 คะแนน ใช้วิธีกำรแก้ปัญหำบำงส่วนถูกต้อง ข้อมูลบำงส่วนผิดพลำด จึงทำให้กำรคำนวณผิดพลำด คำตอบผิด ให้ 2 คะแนน ใช้วิธีกำรแก้ปัญหำถูกต้อง ข้อมูลบำงส่วนผิดพลำด จึงทำให้กำรคำนวณผิดพลำด แต่มีบำงส่วนคำนวณถูกต้อง ให้ 3 คะแนน ใช้วิธีกำรแก้ปัญหำถูกต้อง ข้อมูลบำงส่วนผิดพลำด ส่วนใหญ่ คำนวณถูกต้อง ได้คำตอบถูกต้อง ให้ 4 คะแนน ใช้ยุทธวิธีกำรแก้ปัญหำสำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพ ได้คำตอบถูกต้อง ขั้นที่ 4 ตรวจสอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
  • 27. 27 ให้ 0 คะแนน ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ตรวจสอบคำตอบได้ แต่ผลกำรวิเครำะห์ ไม่ตรงกับที่คำนวณได้ ให้ 1 คะแนน ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ตรวจสอบคำตอบได้และผลกำรวิเครำะห์ ตรงกับที่คำนวณได้ ตั้งสมกำรปกติผิด ให้ 2 คะแนน ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ตรวจสอบคำตอบได้ ผลกำรวิเครำะห์ ตรงกับที่คำนวณได้ ตั้งสมกำรปกติได้ถูกต้อง สรุปผลการประเมินกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา ระดับคุณภำพ ดีมำก ได้คะแนน 8 - 10 ระดับคุณภำพ ดี ได้คะแนน 6 - 7 ระดับคุณภำพ พอใช้ ได้คะแนน 3 - 5 ระดับคุณภำพ ปรับปรุงได้คะแนน 1 – 2 เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะ มีความรับผิดชอบ 4 หมำยถึง ส่งงำนก่อนกำหนด รับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเองจน เป็นนิสัย เป็นระบบ ช่วยเหลือผู้อื่นและแนะนำชักชวนผู้อื่นปฏิบัติ 3 หมำยถึง ส่งงำนตรงตำมกำหนด รับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเอง จนเป็นนิสัย เป็นระบบ ช่วยเหลือผู้อื่นและแนะนำชักชวนผู้อื่นปฏิบัติ 2 หมำยถึง ส่งงำนตรงตำมกำหนดรับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเองจน เป็นนิสัย เป็นระบบ 1 หมำยถึง ส่งงำนล่ำช้ำกว่ำกำหนด รับผิดชอบงำนที่ได้รับมอบหมำยและปฏิบัติเอง ได้บำงส่วนต้องคอยแนะนำ ตักเตือน ความมีระเบียบ 4 หมำยถึง ชิ้นงำนสะอำดเรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดร่วมกันทุกครั้ง 3 หมำยถึง ชิ้นงำนส่วนใหญ่สะอำดเรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนด ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่ 2 หมำยถึง ชิ้นงำนไม่ค่อยเรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดร่วมกัน บำงครั้ง 1 หมำยถึง ชิ้นงำนไม่เรียบร้อยปฏิบัติงำนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดร่วมกันโดยอำศัย กำรแนะนำ มีความรอบคอบ
  • 28. 28 4 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำทำให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง 3 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำแต่ได้คำตอบผิดเล็กน้อย 2 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำปำนกลำงแต่ได้คำตอบผิดพลำดเล็กน้อย 1 หมำยถึง มีควำมรอบคอบในกำรแก้ปัญหำเล็กน้อยได้คำตอบไม่ถูกต้อง การให้เหตุผล 4 หมำยถึง มีกำรอ้ำงอิง เสนอแนวคิดประกอบกำรตัดสินใจอย่ำงสมเหตุสมผล 3 หมำยถึง มีกำรอ้ำงอิงถูกต้องบำงส่วนและเสนอแนวคิดประกอบกำรตัดสินใจ 2 หมำยถึง เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในกำรประกอบกำรตัดสินใจ 1 หมำยถึง มีควำมพยำยำมเสนอแนวคิดประกอบกำรตัดสินใจ สรุปผลการประเมินด้านคุณลักษณะ ระดับคุณภำพ ดีมำก ได้คะแนน 13 - 16 ระดับคุณภำพ ดี ได้คะแนน 9 - 12 ระดับคุณภำพ พอใช้ ได้คะแนน 5 - 8 ระดับคุณภำพ ปรับปรุงได้คะแนน 1 - 4 เกณฑ์การประเมินของคะแนนกลุ่ม การวางแผนการทางาน 4 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนทุกขั้นตอน มีข้อเสนอที่เป็นประโยชน์ใน กำรวำงแผนงำนดีมำก 3 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนเกือบครบทุกขั้นตอน มีข้อเสนอที่เป็น ประโยชน์ในกำรวำงแผนงำนดี 2 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนบ้ำง มีข้อเสนอที่เป็นประโยชน์ใน กำรวำงแผนงำนดีพอสมควร 1 หมำยถึง มีกำรวำงแผนกำรทำงำนน้อยมำก หรือไม่มีข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ใน กำรวำงแผนงำน แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
  • 29. 29 4 หมำยถึง ใช้เหตุผลในกำรแสดงควำมคิดเห็นได้ดีมำก และมุ่งประโยชน์เพื่อ พัฒนำคุณภำพงำนเป็นสำคัญ 3 หมำยถึง ใช้เหตุผลในกำรแสดงควำมคิดเห็นได้ดี 2 หมำยถึง ใช้เหตุผลในกำรแสดงควำมคิดเห็นได้บ้ำงพอสมควร 1 หมำยถึง ใช้ควำมรู้สึกส่วนตัวในกำรแสดงควำมคิดเห็นมำกกว่ำใช้เหตุผล ยอมรับข้อสรุปและผลงานของกลุ่ม 4 หมำยถึง สมำชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกำรสรุป ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม ร่วมรับผิดชอบ ปรับปรุง แก้ไขงำนของกลุ่มทั้งหมดด้วยควำมเต็มใจ 3 หมำยถึง สมำชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกำรสรุป ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม ร่วมรับผิดชอบ ปรับปรุง แก้ไขงำนส่วนใหญ่ของกลุ่ม 2 หมำยถึง สมำชิกบำงคนไม่มีส่วนร่วมในกำรสรุป แต่ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม ร่วมรับผิดชอบ และปรับปรุง แก้ไขงำนของกลุ่มพอสมควร 1 หมำยถึง สมำชิกส่วนใหญ่จะไม่มีส่วนร่วมในกำรสรุป แต่ยอมรับข้อสรุปของกลุ่ม ร่วมรับผิดชอบ และปรับปรุง แก้ไขงำนของกลุ่มเพียงเล็กน้อย ความสามัคคี 4 หมำยถึง ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลือกันในกำรทำงำนอย่ำงสม่ำเสมอ 3 หมำยถึง ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลือกันในกำรทำงำนพอสมควร 2 หมำยถึง ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลือกันในกำรทำงำนเป็นบำงขั้นตอน 1 หมำยถึง ไมค่อยให้ควำมร่วมมือไม่ช่วยเหลือกันในกำรทำงำน ทักษะการแก้ปัญหา 4 หมำยถึง ถ้ำนักเรียนแก้ปัญหำผิดพลำดเล็กน้อย และควำมผิดพลำดไม่ส่งผล กระทบต่อข้อมูลอื่นๆ นักเรียนแก้ปัญหำได้ถูกต้องสมบูรณ์ได้คำตอบถูกต้อง 3 หมำยถึง ถ้ำมีเครื่องมือที่จะนำไปใช้แก้ปัญหำ สำมำรถแสดงวิธีกำรแก้ปัญหำได้ ถูกต้องแต่เข้ำใจผิดพลำดในบำงส่วนจึงทำให้คำตอบผิด มียุทธวิธีในกำรแก้ปัญหำอย่ำงเหมำะสมแต่ คำตอบผิดโดยไม่ปรำกฏเหตุผล หรือมีคำตอบบำงส่วนถูกต้อง แสดงวิธีกำรแก้ปัญหำถูกต้อง เลือก ยุทธวิธีแก้ปัญหำได้ถูกต้องแต่กำรแก้ปัญหำไม่สมบูรณ์ 2 หมำยถึง ถ้ำแสดงยุทธวิธีกำรแก้ปัญหำได้ถูกต้องแต่กำรคำนวณผิดพลำด
  • 30. 30 และมีร่องรอยปรำกฏว่ำมีควำมเข้ำใจในปัญหำ แต่ไม่ได้แสดงกำรแก้ปัญหำเพียงพอที่จะค้นพบ คำตอบได้หรือใช้วิธีกำรคำนวณผิดพลำดในบำงส่วนจึงทำให้คำตอบผิด นักเรียนค้นพบคำตอบของ ปัญหำย่อยแสดงวิธีทำได้ถูกต้องแต่กระบวนกำรทำงำนไม่ถูกต้องหรือไม้ได้แสดงให้เห็น กระบวนกำรทำงำน 1 หมำยถึง ถ้ำมีร่อยรอยปรำกฏว่ำพบวิธีกำรแก้ปัญหำที่ถูกต้องและคัดลอกข้อมูลที่ จำเป็นในกำรแก้ปัญหำแสดงให้เห็นว่ำมีควำมเข้ำใจในปัญหำ มีร่องรอยกำรแสดงยุทธวิธีในกำร อย่ำงเหมำะสมแต่ทำไม่สำเร็จ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภำพ ดีมำก ได้คะแนน 16 - 20 ระดับคุณภำพ ดี ได้คะแนน 11 - 15 ระดับคุณภำพ พอใช้ ได้คะแนน 6 - 10 ระดับคุณภำพ ปรับปรุงได้คะแนน 1 – 5 แบบสังเกตคุณลักษณะ