SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
1

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6

การวัดการกระจายสั มพัทธ์
การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของพิสัย
้
ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย
ั
ั
มีข้นตอนดังนี้
ั
1. หาสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูลแต่ละชุด
ั
2. นาสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูลแต่ละชุดเปรี ยบเทียบกันได้
ั
3. ถ้าสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูลชุดใดมีค่ามากกว่าสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูล
ั
ั
ชุดหนึ่ง แสดงว่าข้อมูลชุดนั้นมีการกระจายมากกว่าข้อมูลอีกชุดหนึ่ง
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดข้อมูล 2 ชุด ดังนี้
ชุด ก. 62 , 65 , 63 , 64 , 66 , 61
ชุด ข. 90 , 92 , 94 , 103 , 109 , 107
จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย
ั
ั
วิธีทา
ข้อมูล
สัมประสิทธิ์
การเปรี ยบเทียบการกระจาย
ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด
ชุด
ของพิสย
ั
ของข้อมูล
66  61
5
ข้อมูลชุด ข. มีการกระจาย

66  61 127
ก.
66
61
= 0.039 มากกว่าข้อมูลชุด ก.
ข.

109

90

109  90
19

109  90 199

= 0.095

ตัวอย่างที่ 2 กาหนดข้อมูล 2 ชุด ซึ่งเป็ นข้อมูลเกี่ยวกับน้ าหนักของนักเรี ยน ชั้น ม.5
ซึ่งสุ่มมาจานวนหนึ่งของโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2541 ดังนี้
ห้องเรี ยนที่หนึ่ง (ก.ก.) 52 , 56 , 57 , 59 , 64
ห้องเรี ยนที่สอง (ก.ก.) 54 , 60 , 65 , 67 , 68 , 58
จงเปรี ยบเทียบการกระจายของน้ าหนักนักเรี ยน ชั้น ม.5 โรงเรี ยนบัวใหญ่
โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย
ั
ั

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
2

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
วิธีทา
ข้อมูล
ชุด
1.

น้ าหนัก
ต่าสุด

สัมประสิทธิ์
ของพิสย
ั

52

64  52
12

64  52
116

54

น้ าหนัก
สูงสุด

68  54
14

68  54
122

64

2.

68

การเปรี ยบเทียบการกระจาย
ของข้อมูล
น้ าหนักของนักเรี ยน
ห้องเรี ยนที่ 2 มีการกระจาย
มากกว่าน้ าหนักของนักเรี ยน
ห้องเรี ยนที่ 1

= 0.103
= 0.115

ตัวอย่างที่ 3 กาหนดตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้
ข้อมูลชุดที่ 1
ข้อมูล
50 – 52
53 – 55
56 – 58
59 – 61
รวม

ข้อมูลชุดที่ 2

ความถี่
12
13
20
15
N = 60

ข้อมูล
60 – 62
63 – 55
66 – 68
69 – 71
รวม

ความถี่
5
18
17
30
N = 70

จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย
ั
ั
ข้อมูล
ชุดที่
1.
2.

ขอบบนของ
อันตราภาคชั้น
ที่มีค่าสูงสุด
61.5
71.5

ขอบล่างของ
อันตราภาคชั้น
ที่มีค่าต่าสุด

สัมประสิทธิ์
ของพิสย
ั

49.5

61 . 5  49 . 5
61 . 5  49 . 5

59.5

71 . 5  59 . 5
71 . 5  59 . 5

= 0.108
= 0.092

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล
ข้อมูลชุดที่ 1. มีการ
กระจายมากกว่า
ข้อมูลชุดที่ 2.
3

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของพิสย ได้ดงนี้
ั
ั
C.R. =

x max  x min
x max  x min

เมื่อ C.R. แทน สัมประสิทธิ์ของพิสย
ั

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
4

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย
ั
ั
ั
พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์
1. คะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยน จานวน 5 คน เป็ นดังนี้
คะแนนสอบครั้งที่ 1 : 12 , 6 , 7 , 3 , 15 , 10 , 18 , 5
คะแนนสอบครั้งที่ 2 : 9 , 4 , 6 , 8 , 10
ตารางคาตอบข้อ 1
คะแนน
สัมประสิทธิ์
การเปรี ยบเทียบการ
xmax
xmin
สอบครั้งที่
ของพิสย
ั
กระจายของข้อมูล
1.
2.
2. ข้อมูลชุดที่ 1 : 12 , 6 , 7 , 3 , 15 , 10 , 18 , 5
ข้อมูลชุดที่ 2 : 9 , 4 , 8 , 8 , 9 , 8 , 9 , 10
ตารางคาตอบข้อ 2
ข้อมูล
สัมประสิทธิ์
xmax
xmin
ชุดที่
ของพิสย
ั

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล

1.
2.
3. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยน
ชั้น ม.4/1 และ ม.4/2 เป็ นดังนี้
ชั้น ม.4/1
ชั้น ม.4/2
ข้อมูล
ความถี่
ข้อมูล
ความถี่
20 – 25
8
15 – 19
10
26 – 31
10
20 – 24
15
32 – 37
22
25 – 29
3
38 – 43
3
30 – 34
12

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
5

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
ข้อมูล
ที่

xmax

ตารางคาตอบข้อ 3
สัมประสิทธิ์
xmin
ของพิสย
ั

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล

ม.4/1
ม.4/2
4. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ เป็ นน้ าหนักของนักเรี ยนชาย 2 กลุ่ม
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 2
น้ าหนัก (ก.ก.) จานวนนักเรี ยน
น้ าหนัก (ก.ก.) จานวนนักเรี ยน
45 – 50
2
42 – 45
4
51 – 56
4
46 – 49
8
57 – 62
6
50 – 53
16
63 – 68
8
54 – 57
4
69 – 74
12
58 – 61
8

ข้อมูล
ที่

xmax

ตารางคาตอบข้อ 4
สัมประสิทธิ์
xmin
ของพิสย
ั

ม.4/1
ม.4/2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล
6

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์
้
ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ มีข้นตอนดังนี้
ั
1. หาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลแต่ละชุด
2. นาค่าคานวณได้ในข้อ 1 เปรี ยบเทียบกัน
3. ถ้าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลชุดหนึ่ง มีค่ามากกว่า
สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลอีกชุดหนึ่ง แสดงว่า
ข้อมูลชุดนั้นมีการกระจายมากกว่า
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้
ชุดที่ 1 : 13 , 6 , 8 , 2 , 15 , 10 , 19 , 4
ชุดที่ 2 : 8 , 2 , 7 , 7 , 8 , 7 , 8 , 19
จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
วิธีทา
ข้อมูล
ชุดที่

Q1

Q3

1.

4.5

14.5

2.

7

8

สัมประสิทธิ์ของส่วน
เบี่ยงเบนควอร์ไทล์
14 . 5  4 . 5
 0 . 526
14 . 5  4 . 5
87
 0 . 067
87

การเปรี ยบเทียบการกระจาย
ของข้อมูล
ข้อมูลชุดที่ 1 มีการกระจาย
มากกว่าข้อมูลชุดที่ 2

ตัวอย่างที่ 2 กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้
ข้อมูลชุดที่ 1 : 63 , 65 , 66 , 68 , 70 , 70 , 73 , 87 , 68
ข้อมูลชุดที่ 2 : 64 , 66 , 66 , 69 , 70 , 70 , 71 , 75 , 85
วิธีทา
ข้อมูล
ชุดที่

Q1

Q3

1.

65.75

70.75

2.

66

73

สัมประสิทธิ์ของส่วน
เบี่ยงเบนควอร์ไทล์
70 . 75  65 . 75
 0. 037
70 . 75  65 . 75

การเปรี ยบเทียบการกระจาย
ของข้อมูล
ข้อมูลชุดที่ 2 มีการกระจาย
มากกว่าข้อมูลชุดที่ 1

73  66
 0 . 050
73  66

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
7

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลต่อไปนี้เป็ นคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนชาย จานวน 50 คน และ
นักเรี ยนหญิง จานวน 30 คน
นักเรี ยนชาย
นักเรี ยนหญิง
ข้อมูล
20 – 24
25 – 29
30 – 34
35 – 39
40 – 44
45 – 49
รวม

ความถี่
8
10
14
9
6
3
N = 50

ความถี่สะสม
8
18
32
41
47
50

ความถี่
4
6
10
5
3
2
N = 30

ความถี่สะสม
4
10
20
25
28
30

จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนชาย และนักเรี ยนหญิง
โดยใช้สมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
ั
วิธีทา
ข้อมูล
ชุดที่
นักเรี ยน
ชาย
นักเรี ยน
หญิง

Q1

Q3

สัมประสิทธิ์ของส่วน
เบี่ยงเบนควอร์ไทล์

26.75

27.56

27 . 56  26 . 75
 0 . 168
27 . 56  26 . 75

27.42

37.00

37  27 . 42
 0 . 149
37  27 . 42

การเปรี ยบเทียบการกระจาย
ของข้อมูล
คะแนนสอบวิชาสถิติของ
นักเรี ยนชายมีการกระจาย
มากกว่านักเรี ยนหญิง

จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบน
ควอร์ไทล์ได้ดงนี้
ั

C.Q.D. =

Q 3  Q1
Q 3  Q1

เมื่อ C.Q.D. แทน สัมประสิทธิ์ของส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
8

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
ั
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์
1. กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้
ชุดที่ 1 : 12 , 6 , 7 , 3 , 15 , 10 , 18 , 5
ชุดที่ 2 : 9 , 3 , 8 , 8 , 9 , 8 , 9 , 18
ข้อมูล
ชุดที่

Q1

Q3

ตารางคาตอบข้อ 1
สัมประสิทธิ์ของ
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์

ผลการเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล

1.
2.
2. กาหนดข้อมูล 2 กลุ่ม เป็ นดังนี้
กลุ่มที่ 1 : 2 , 6 , 8 , 12 , 18 , 20 , 22 , 30 , 40
กลุ่มที่ 2 : 3 , 6 , 9 , 12 , 17 , 21 , 24
ข้อมูล
กลุ่มที่
กลุ่มที่1
กลุ่มที่2

Q1

Q3

ตารางคาตอบข้อ 2
สัมประสิทธิ์ของ
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์

ผลการเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
9

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
3. ข้อมูลต่อไปนี้เป็ นคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนชาย และนักเรี ยนหญิง
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ของโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง
นักเรี ยนชาย
นักเรี ยนหญิง
ข้อมูล
10 – 14
15 – 19
20 – 24
25 – 29
30 – 34

ข้อมูล

ความถี่
3
7
10
8
2

Q1

ความถี่สะสม
3
10
20
28
30

ความถี่
4
6
12
8
10

ความถี่สะสม
4
10
22
30
40

ตารางคาตอบข้อ 3
สัมประสิทธิ์ของ
ผลการเปรี ยบเทียบ
Q3
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ การกระจายของข้อมูล

คะแนนของ
นักเรี ยนชาย
คะแนนของ
นักเรี ยนหญิง
4. ข้อมูลต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรี ยน
ชั้น ม.5/1 และ ม.5/2 เป็ นดังนี้
ชั้น ม.5/1
ชั้น ม.5/2
คะแนน
20 – 25
26 – 31
32 – 37
38 – 43
44 – 49

จานวน
นักเรี ยน
8
15
7
9
11

ความถี่
สะสม
8
23
30
39
50

คะแนน
10 – 15
16 – 21
22 – 27
28 – 33
34 – 39

จานวน
นักเรี ยน
3
12
15
8
2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

ความถี่
สะสม
3
15
30
38
40
10

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6

ข้อมูล

Q1

ตารางคาตอบข้อ 4
สัมประสิทธิ์ของ
ผลการเปรี ยบเทียบ
Q3
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ การกระจายของข้อมูล

ม.5/1

ม.5/2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
11

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย
้
่
ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย มีข้นตอนดังนี้
ั
1. หาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลแต่ละชุด
2. นาค่าคานวณได้ในข้อ 1 เปรี ยบเทียบกัน
3. ถ้าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลชุดหนึ่ง มีค่ามากกว่า
สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลอีกชุดหนึ่ง แสดงว่าข้อมูล
ชุดนั้นมีการกระจายมากกว่า
ตัวอย่างที่ 1

กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้
ชุดที่ 1 : 2 , 4 , 6 , 8 , 10
ชุดที่ 2 : 3 , 5 , 7 , 9
จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

วิธีทา
ข้อมูล
ชุดที่
ชุดที่1
ชุดที่2

ค่าเฉลี่ยเลข ส่วนเบี่ยงเบน
คณิ ต ( x ) เฉลี่ย (M.D.)
6
2.4
6

2

สัมประสิทธิ์ของ
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
2.4
 0 . 40
6

2
 0 . 33
6

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล
ข้อมูลชุดที่ 1 มีการ
กระจายมากกว่าข้อมูล
ชุดที่ 2

ตัวอย่างที่ 2 ยอดขาย (พันบาท) เครื่ องใช้ไฟฟ้ าประจาเดือน ของพนักงานขาย 2 คน คือ
มงคล และ เอกชัย ตลอดปี ที่ผานมา เป็ นดังนี้
่
มงคล : 40 , 44 , 55 , 62 , 48 , 50 , 61 , 60 , 56 , 58 , 71 , 55
เอกชัย : 65 , 68 , 75 , 80 , 69 , 84 , 60 , 74 , 90 , 81 , 70 , 72

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
12

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
วิธีทา
ข้อมูล

ค่าเฉลี่ยเลข ส่วนเบี่ยงเบน
คณิ ต ( x ) เฉลี่ย (M.D.)

ยอดขาย
ของมงคล

55

6.33

ยอดขาย
ของเอกชัย

74

6.67

สัมประสิทธิ์ของ
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
6 . 33
 0 . 115
55

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล
ยอดขายของมงคลมีการ
กระจายมากกว่ายอดขาย
ของเอกชัย

6 . 67
 0 . 090
74

ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลจากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย
ของนักเรี ยนชั้น ม.3/1 และ ชั้น ม.3/2 จานวนชั้นละ 40 คน
คะแนน
20 – 26
27 – 33
34 – 40
41 – 47
48 – 54
รวม

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.3/1
6
12
18
3
1
N = 40

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.3/2
10
8
2
14
6
N = 40

วิธีทา
ข้อมูล

ค่าเฉลี่ยเลข ส่วนเบี่ยงเบน
คณิ ต ( x ) เฉลี่ย (M.D.)

ชั้น ม.3/1

33.68

7.23

ชั้น ม.3/2

36.65

9.49

สัมประสิทธิ์ของ
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
7 . 23
 0 . 21
33 . 68
9 . 49
 0 . 26
36 . 65

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล
คะแนนสอบวิชาภาษาไทย
ของนักเรี ยนชั้น ม.3/2 มี
การกระจายมากกว่าชั้น
ม.3/1

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
13

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
ได้ดงนี้
ั

C.M.D. =

M .D .
x

เมื่อ C.M.D. แทน สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
14

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิ ทธิ์ของ
ั
ั
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์
1. ส่วนสูงของนักเรี ยนชั้น ม.1 และ ม.2 ของโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง ซึ่งสุ่มมาชั้นละ 4 คน
เป็ นดังนี้
ส่วนสูงของนักเรี ยนชั้น ม.1 : 130 , 130 , 136 , 140
ส่วนสูงของนักเรี ยนชั้น ม.2 : 132 , 132 , 138 , 150

ข้อมูล

x

ตารางคาตอบข้อ 1
สัมประสิทธิ์ของ
M.D.
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

ผลการเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล

ส่วนสูงของ
นักเรี ยนชั้น ม.1
ส่วนสูงของ
นักเรี ยนชั้น ม.2
2. ข้อมูลต่อไปนี้เป็ นคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ
นักเรี ยนชั้น ม.5/2 จานวนชั้นละ 6 คน เป็ นดังนี้
คะแนนสอบของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 : 8 , 8 , 10 , 6 , 4 , 4
คะแนนสอบของนักเรี ยนชั้น ม.5/2 : 8 , 7, 9 , 10 , 6 , 2
จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ ม.5/2
ตารางคาตอบข้อ 2
สัมประสิทธิ์ของ ผลการเปรี ยบเทียบการ
ข้อมูล
M.D.
x
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
กระจายของข้อมูล
คะแนนชั้น
ม.5/1
คะแนนชั้น
ม.5/2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
15

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
3. จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ช้น ม.2 และ ชั้น ม.3
ั
ชั้นละ 1 ห้องเรี ยน ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2540 เป็ นดังนี้
จานวนนักเรี ยน จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.2
ชั้น ม.3
20 – 26
6
4
27 – 33
12
10
34 – 40
18
8
41 – 47
3
5
48 – 54
1
6
ตารางคาตอบข้อ 3
สัมประสิทธิ์ของ
ผลการเปรี ยบเทียบ
M.D.
x
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย การกระจายของข้อมูล

คะแนน

ข้อมูล

คะแนนการสอบ
วิชาคณิตศาสตร์
ชั้น ม.2
คะแนนการสอบ
วิชาคณิตศาสตร์
ชั้น ม.3
4. จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยชั้น ม.5/1 และ ชั้น ม.5/2
โรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2540 เป็ นดังนี้
คะแนน
21 – 23
24 – 26
27 – 29
30 – 32
33 – 35
36 – 38
รวม

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.5/1
1
6
10
17
4
2
N = 40

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.5/2
2
5
8
15
6
4
N = 40

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
16

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6

ข้อมูล

x

ตารางคาตอบข้อ 4
สัมประสิทธิ์ของ
M.D.
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

ผลการเปรี ยบเทียบ
การกระจายของข้อมูล

คะแนนการสอบ
วิชาภาษาไทย
ชั้น ม.5/1
คะแนนการสอบ
วิชาภาษาไทย
ชั้น ม.5/2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
17

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน
้
ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
การแปรผัน มีข้นตอนดังนี้
ั
1. หาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลแต่ละชุด
2. นาค่าคานวณได้ในข้อ 1 เปรี ยบเทียบกัน
3. ถ้าสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดหนึ่ง มีค่ามากกว่าค่าสัมประสิทธิ์
ของการแปรผันของข้อมูลอีกชุดหนึ่ง แสดงว่าข้อมูลชุดนั้นมีการกระจายมากกว่า
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้
ชุดที่ 1 : 2 , 4 , 6 , 8 , 10
ชุดที่ 2 : 3 , 5 , 7 , 9
จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
การแปรผัน
วิธีทา
ข้อมูล
ชุดที่

x

S.D.

ชุดที่1

6

2.82

สัมประสิทธิ์ของ
การแปรผัน
2 . 82
 0 . 44
6

หรื อ = 47%
ชุดที่2

6

2.24

2 . 24
 0 . 37
6

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล
ข้อมูลชุดที่ 1 มีการ
กระจายมากกว่าข้อมูล
ชุดที่ 2

หรื อ = 37%
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดข้อมูล 2 ชุด ประกอบด้วย
ชุดที่ 1 : 4 , 5 , 6 , 9
ชุดที่ 2 : 3 , 4 , 5 , 6 , 7
จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
การแปรผัน

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
18

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
วิธีทา
ข้อมูล
ชุด ก.
ชุด ข.

M.D.

x

6

1.87

5

1.41

สัมประสิทธิ์ของ
การแปรผัน
1 . 87
 0 . 31
6

หรื อ = 31%
1 . 41
 0 . 28
5

การเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล
ข้อมูลชุด ก. มีการ
กระจายมากกว่าข้อมูล
ชุด ข.

หรื อ = 28%

ตัวอย่างที่ 3 กาหนดตารางแจกแจงความถี่ซ่ึงเป็ นข้อมูล แสดงคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์
ของนักเรี ยนชั้น ม.4/2 และ ชั้น ม.4/3 ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2534 มีดงนี้
ั
คะแนน
1–3
4–6
7–9
10 – 12
13 – 15
16 – 18
รวม

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.4/2
2
3
5
7
4
1
N = 22

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.4/3
4
2
8
3
4
9
N = 30

วิธีทา
ข้อมูล
คะแนนสอบวิชา
คณิ ตศาสตร์ของ
นักเรี ยนชั้น ม.4/2

x

9.5

S .D.
3.92

สัมประสิทธิ์ของ
การแปรผัน
3 . 92
 0 . 41
9.5

หรื อ = 41%

การเปรี ยบเทียบการกระจาย
ของข้อมูล
คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์
ของนักเรี ยนชั้น ม.4/3 มีการ
กระจายมากกว่าชั้น ม.4/2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
19

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
คะแนนสอบวิชา
คณิ ตศาสตร์ของ
นักเรี ยนชั้น ม.4/3

10.8

5.25

5 . 25
 0 . 486
10 . 8

หรื อ = 48.60%

จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนการแปรผัน
ได้ดงนี้
ั
C.V. =

S .D .
x

เมื่อ C.V. แทน สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
20

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิทธิ์ของ
ั
ั
การแปรผัน พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์
1. กาหนดข้อมูล 2 ชุด ประกอบด้วย
ชุด ก. : 8 , 8 , 10 , 6 , 4 , 4
ชุด ข. : 8 , 7 , 9 , 10 , 6 , 2
ตารางคาตอบข้อ 1
ข้อมูล

x

S.D.

สัมประสิทธิ์ของ
การแปรผัน

ผลการเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล

ชุด ก.
ชุด ข.
2. กาหนดข้อมูลดังตารางข้างล่างนี้ จงเติมตารางให้สมบูรณ์
ข้อมูล

x

S.D.

ชุด ก.
ชุด ข.
ชุด ค.

4
8
12

สัมประสิทธิ์ของ
การแปรผัน

ผลการเปรี ยบเทียบการ
กระจายของข้อมูล

1
2
3

3. ตารางต่อไปนี้ เป็ นคะแนนการสอบวิชาชีววิทยาของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ ชั้น ม.5/2
ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2539 เป็ นดังนี้
คะแนน
0–4
5–9
10 – 14
15 – 19

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.5/1
2
3
4
4

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.5/2
4
5
6
8

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
21

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
20 – 24
รวม

7
N = 20

7
N = 30

จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาชีววิทยาของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ ชั้น ม.5/2

ข้อมูล

x

ตารางคาตอบข้อ 3
สัมประสิทธิ์ของ
S.D.
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

ผลการเปรี ยบเทียบ
การกระจายของข้อมูล

คะแนนการสอบ
วิชาชีววิทยาชั้น
ม.5/1
คะแนนการสอบ
วิชาชีววิทยาชั้น
ม.5/2
4. ตารางต่อไปนี้ เป็ นคะแนนการสอบวิชาเคมีของนักเรี ยนชั้น ม.5/3 และ ชั้น ม.5/4
ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2540 เป็ นดังนี้
คะแนน
20 – 24
25 – 29
30 – 34
35 – 39
40 – 44
รวม

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.5/3
2
3
1
4
6
N = 16

จานวนนักเรี ยน
ชั้น ม.5/4
4
2
3
5
6
N = 20

จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาเคมีของนักเรี ยนชั้น ม.5/3 และ ชั้น ม.5/4

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
22

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
ตารางคาตอบข้อ 4
ข้อมูล

x

S.D.

สัมประสิทธิ์ของ
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

ผลการเปรี ยบเทียบ
การกระจายของข้อมูล

คะแนนการสอบ
วิชาเคมีช้น ม.5/3
ั
คะแนนการสอบ
วิชาเคมีช้น ม.5/4
ั

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
23

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6

เอกสารฝึ กหัดเพิมเติม
่
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนทาเอกสารฝึ กหัดเพิ่มเติม จานวน 7 ข้อ เป็ นการบ้าน แล้วนาส่งครู ผสอน
ั
ู้
1. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ครั้งนี้ ปรากฎว่า สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
เท่ากับ 0.2 ถ้านายพรศักดิ์สอบได้ 60 คะแนน ซึ่งตรงกับ P75 แล้วอยากทราบว่า
นายสมชายสอบได้คะแนนตรวกับ P25 จะสอบไดกี่คะแนน
2. จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้น ม.5/1
และ ม.5/2 โดยใช้สมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้
ั
่
คะแนน
2–4
5–7
8 – 10
11 – 13

จานวนนักเรียน
ม. 5/1
2
4
6
8

ม. 5/2
8
6
4
2

3. ในการสอบวิชาภาษาไทย และสังคมศึกษาของนักเรี ยน 40 คน ปรากฎว่า คะแนนเฉลี่ย
ทั้งสองเท่ากันคือ 68 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิชาภาษาไทย และ
สังคมศึกษาเท่ากับ 15 และ 12 คะแนน ตามลาดับ จงหาว่า คะแนนสอบวิชาใด
มีการกระจายมากกว่ากัน
4. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ ปรากฎว่า นายธาดาได้คะแนนอยูในตาแหน่ง P25
่
นางสาวสุดฤดีได้คะแนนอยูในตาแหน่ง P75 ถ้าการสอบครั้งนี้ มีส่วนเบี่ยงเบน
่
ควอร์ไทล์เท่ากับ 24 และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์เท่ากับ 0.20
แล้วจงหาว่า นายธาดาและนางสาวสุดฤดีได้คะแนนคนละคะแนน
5. ในการจัดความสูงของนักเรี ยน 200 คน พบว่าความสูงต่าของกลุ่มนักเรี ยนที่มีความสูงสุด
คิดเป็ น 25% ของนักเรี ยนทั้งเรี ยนทั้งหมดเป็ น 53.5 นิ้ว ถ้าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบน
ควอร์ไทล์เป็ น 6% แล้วจงหาค่าของควอร์ไทล์ที่หนึ่ง (Q1)
6. ในการสอบครั้งหนึ่งมีผเู้ ข้าสอบ 1,000 คน ในมีจานวนนี้มีนกเรี ยนชาย 500 คน
ั
ส่วนที่เหลือเป็ นนักเรี ยนหญิง ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรี ยนชาย
และนักเรี ยนหญิงเท่ากัน คือ 50 คะแนน แต่ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนของ
เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
24

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6
นักเรี ยนชายและนักเรี ยนหญิงเท่ากับ 1.5 และ 1 ตามลาดับ จงหาสัมประสิทธิ์ของ
การแปรผันของคะแนนสอบทั้งหมด
7. ในการคานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และความแปรปรวนของข้อมูลชุดหนึ่งได้เป็ น 8
และ 28.2 ตามลาดับ แต่ตรวจพบทีหลังว่า มีที่ผดพลาดอยู่ 2 ตาแหน่ง แห่งแรก คือ
ิ
อ่านสมาชิกที่มีค่า 5 เป็ น 6 แห่งที่สอง อ่านข้อมูลตกไปค่าหนึ่ง คือ 12 ถ้าข้อมูล
ที่แท้จริ ง มี 10 จานวน จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดนี้

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

More Related Content

What's hot

เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายkrurutsamee
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 

What's hot (20)

ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบการหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 

Similar to การวัดการกระจายสัมพัทธ์

2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์othanatoso
 
12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysiskhuwawa2513
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลKruGift Girlz
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesiswilailukseree
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 

Similar to การวัดการกระจายสัมพัทธ์ (17)

2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูล
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
 
Final test
Final testFinal test
Final test
 
Final test
Final testFinal test
Final test
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
cluster analysis
cluster analysis cluster analysis
cluster analysis
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
คณิต
คณิต คณิต
คณิต
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 

More from KruGift Girlz

จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงKruGift Girlz
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลKruGift Girlz
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับKruGift Girlz
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1KruGift Girlz
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6KruGift Girlz
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6KruGift Girlz
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6KruGift Girlz
 

More from KruGift Girlz (11)

เซต
เซตเซต
เซต
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
 

การวัดการกระจายสัมพัทธ์

  • 1. 1 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 การวัดการกระจายสั มพัทธ์ การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของพิสัย ้ ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย ั ั มีข้นตอนดังนี้ ั 1. หาสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูลแต่ละชุด ั 2. นาสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูลแต่ละชุดเปรี ยบเทียบกันได้ ั 3. ถ้าสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูลชุดใดมีค่ามากกว่าสัมประสิ ทธิ์ของพิสยของข้อมูล ั ั ชุดหนึ่ง แสดงว่าข้อมูลชุดนั้นมีการกระจายมากกว่าข้อมูลอีกชุดหนึ่ง ตัวอย่างที่ 1 กาหนดข้อมูล 2 ชุด ดังนี้ ชุด ก. 62 , 65 , 63 , 64 , 66 , 61 ชุด ข. 90 , 92 , 94 , 103 , 109 , 107 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย ั ั วิธีทา ข้อมูล สัมประสิทธิ์ การเปรี ยบเทียบการกระจาย ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ชุด ของพิสย ั ของข้อมูล 66  61 5 ข้อมูลชุด ข. มีการกระจาย  66  61 127 ก. 66 61 = 0.039 มากกว่าข้อมูลชุด ก. ข. 109 90 109  90 19  109  90 199 = 0.095 ตัวอย่างที่ 2 กาหนดข้อมูล 2 ชุด ซึ่งเป็ นข้อมูลเกี่ยวกับน้ าหนักของนักเรี ยน ชั้น ม.5 ซึ่งสุ่มมาจานวนหนึ่งของโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2541 ดังนี้ ห้องเรี ยนที่หนึ่ง (ก.ก.) 52 , 56 , 57 , 59 , 64 ห้องเรี ยนที่สอง (ก.ก.) 54 , 60 , 65 , 67 , 68 , 58 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของน้ าหนักนักเรี ยน ชั้น ม.5 โรงเรี ยนบัวใหญ่ โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย ั ั เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 2. 2 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 วิธีทา ข้อมูล ชุด 1. น้ าหนัก ต่าสุด สัมประสิทธิ์ ของพิสย ั 52 64  52 12  64  52 116 54 น้ าหนัก สูงสุด 68  54 14  68  54 122 64 2. 68 การเปรี ยบเทียบการกระจาย ของข้อมูล น้ าหนักของนักเรี ยน ห้องเรี ยนที่ 2 มีการกระจาย มากกว่าน้ าหนักของนักเรี ยน ห้องเรี ยนที่ 1 = 0.103 = 0.115 ตัวอย่างที่ 3 กาหนดตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้ ข้อมูลชุดที่ 1 ข้อมูล 50 – 52 53 – 55 56 – 58 59 – 61 รวม ข้อมูลชุดที่ 2 ความถี่ 12 13 20 15 N = 60 ข้อมูล 60 – 62 63 – 55 66 – 68 69 – 71 รวม ความถี่ 5 18 17 30 N = 70 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย ั ั ข้อมูล ชุดที่ 1. 2. ขอบบนของ อันตราภาคชั้น ที่มีค่าสูงสุด 61.5 71.5 ขอบล่างของ อันตราภาคชั้น ที่มีค่าต่าสุด สัมประสิทธิ์ ของพิสย ั 49.5 61 . 5  49 . 5 61 . 5  49 . 5 59.5 71 . 5  59 . 5 71 . 5  59 . 5 = 0.108 = 0.092 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ข้อมูลชุดที่ 1. มีการ กระจายมากกว่า ข้อมูลชุดที่ 2.
  • 3. 3 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของพิสย ได้ดงนี้ ั ั C.R. = x max  x min x max  x min เมื่อ C.R. แทน สัมประสิทธิ์ของพิสย ั เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 4. 4 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิทธิ์ของพิสย ั ั ั พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์ 1. คะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยน จานวน 5 คน เป็ นดังนี้ คะแนนสอบครั้งที่ 1 : 12 , 6 , 7 , 3 , 15 , 10 , 18 , 5 คะแนนสอบครั้งที่ 2 : 9 , 4 , 6 , 8 , 10 ตารางคาตอบข้อ 1 คะแนน สัมประสิทธิ์ การเปรี ยบเทียบการ xmax xmin สอบครั้งที่ ของพิสย ั กระจายของข้อมูล 1. 2. 2. ข้อมูลชุดที่ 1 : 12 , 6 , 7 , 3 , 15 , 10 , 18 , 5 ข้อมูลชุดที่ 2 : 9 , 4 , 8 , 8 , 9 , 8 , 9 , 10 ตารางคาตอบข้อ 2 ข้อมูล สัมประสิทธิ์ xmax xmin ชุดที่ ของพิสย ั การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล 1. 2. 3. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยน ชั้น ม.4/1 และ ม.4/2 เป็ นดังนี้ ชั้น ม.4/1 ชั้น ม.4/2 ข้อมูล ความถี่ ข้อมูล ความถี่ 20 – 25 8 15 – 19 10 26 – 31 10 20 – 24 15 32 – 37 22 25 – 29 3 38 – 43 3 30 – 34 12 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 5. 5 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 ข้อมูล ที่ xmax ตารางคาตอบข้อ 3 สัมประสิทธิ์ xmin ของพิสย ั การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ม.4/1 ม.4/2 4. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ เป็ นน้ าหนักของนักเรี ยนชาย 2 กลุ่ม ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 น้ าหนัก (ก.ก.) จานวนนักเรี ยน น้ าหนัก (ก.ก.) จานวนนักเรี ยน 45 – 50 2 42 – 45 4 51 – 56 4 46 – 49 8 57 – 62 6 50 – 53 16 63 – 68 8 54 – 57 4 69 – 74 12 58 – 61 8 ข้อมูล ที่ xmax ตารางคาตอบข้อ 4 สัมประสิทธิ์ xmin ของพิสย ั ม.4/1 ม.4/2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล
  • 6. 6 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์ ้ ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ มีข้นตอนดังนี้ ั 1. หาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลแต่ละชุด 2. นาค่าคานวณได้ในข้อ 1 เปรี ยบเทียบกัน 3. ถ้าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลชุดหนึ่ง มีค่ามากกว่า สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลอีกชุดหนึ่ง แสดงว่า ข้อมูลชุดนั้นมีการกระจายมากกว่า ตัวอย่างที่ 1 กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้ ชุดที่ 1 : 13 , 6 , 8 , 2 , 15 , 10 , 19 , 4 ชุดที่ 2 : 8 , 2 , 7 , 7 , 8 , 7 , 8 , 19 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ วิธีทา ข้อมูล ชุดที่ Q1 Q3 1. 4.5 14.5 2. 7 8 สัมประสิทธิ์ของส่วน เบี่ยงเบนควอร์ไทล์ 14 . 5  4 . 5  0 . 526 14 . 5  4 . 5 87  0 . 067 87 การเปรี ยบเทียบการกระจาย ของข้อมูล ข้อมูลชุดที่ 1 มีการกระจาย มากกว่าข้อมูลชุดที่ 2 ตัวอย่างที่ 2 กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้ ข้อมูลชุดที่ 1 : 63 , 65 , 66 , 68 , 70 , 70 , 73 , 87 , 68 ข้อมูลชุดที่ 2 : 64 , 66 , 66 , 69 , 70 , 70 , 71 , 75 , 85 วิธีทา ข้อมูล ชุดที่ Q1 Q3 1. 65.75 70.75 2. 66 73 สัมประสิทธิ์ของส่วน เบี่ยงเบนควอร์ไทล์ 70 . 75  65 . 75  0. 037 70 . 75  65 . 75 การเปรี ยบเทียบการกระจาย ของข้อมูล ข้อมูลชุดที่ 2 มีการกระจาย มากกว่าข้อมูลชุดที่ 1 73  66  0 . 050 73  66 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 7. 7 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลต่อไปนี้เป็ นคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนชาย จานวน 50 คน และ นักเรี ยนหญิง จานวน 30 คน นักเรี ยนชาย นักเรี ยนหญิง ข้อมูล 20 – 24 25 – 29 30 – 34 35 – 39 40 – 44 45 – 49 รวม ความถี่ 8 10 14 9 6 3 N = 50 ความถี่สะสม 8 18 32 41 47 50 ความถี่ 4 6 10 5 3 2 N = 30 ความถี่สะสม 4 10 20 25 28 30 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนชาย และนักเรี ยนหญิง โดยใช้สมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ั วิธีทา ข้อมูล ชุดที่ นักเรี ยน ชาย นักเรี ยน หญิง Q1 Q3 สัมประสิทธิ์ของส่วน เบี่ยงเบนควอร์ไทล์ 26.75 27.56 27 . 56  26 . 75  0 . 168 27 . 56  26 . 75 27.42 37.00 37  27 . 42  0 . 149 37  27 . 42 การเปรี ยบเทียบการกระจาย ของข้อมูล คะแนนสอบวิชาสถิติของ นักเรี ยนชายมีการกระจาย มากกว่านักเรี ยนหญิง จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบน ควอร์ไทล์ได้ดงนี้ ั C.Q.D. = Q 3  Q1 Q 3  Q1 เมื่อ C.Q.D. แทน สัมประสิทธิ์ของส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 8. 8 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั ั ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์ 1. กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้ ชุดที่ 1 : 12 , 6 , 7 , 3 , 15 , 10 , 18 , 5 ชุดที่ 2 : 9 , 3 , 8 , 8 , 9 , 8 , 9 , 18 ข้อมูล ชุดที่ Q1 Q3 ตารางคาตอบข้อ 1 สัมประสิทธิ์ของ ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ผลการเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล 1. 2. 2. กาหนดข้อมูล 2 กลุ่ม เป็ นดังนี้ กลุ่มที่ 1 : 2 , 6 , 8 , 12 , 18 , 20 , 22 , 30 , 40 กลุ่มที่ 2 : 3 , 6 , 9 , 12 , 17 , 21 , 24 ข้อมูล กลุ่มที่ กลุ่มที่1 กลุ่มที่2 Q1 Q3 ตารางคาตอบข้อ 2 สัมประสิทธิ์ของ ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ผลการเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 9. 9 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 3. ข้อมูลต่อไปนี้เป็ นคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนชาย และนักเรี ยนหญิง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ของโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง นักเรี ยนชาย นักเรี ยนหญิง ข้อมูล 10 – 14 15 – 19 20 – 24 25 – 29 30 – 34 ข้อมูล ความถี่ 3 7 10 8 2 Q1 ความถี่สะสม 3 10 20 28 30 ความถี่ 4 6 12 8 10 ความถี่สะสม 4 10 22 30 40 ตารางคาตอบข้อ 3 สัมประสิทธิ์ของ ผลการเปรี ยบเทียบ Q3 ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ การกระจายของข้อมูล คะแนนของ นักเรี ยนชาย คะแนนของ นักเรี ยนหญิง 4. ข้อมูลต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรี ยน ชั้น ม.5/1 และ ม.5/2 เป็ นดังนี้ ชั้น ม.5/1 ชั้น ม.5/2 คะแนน 20 – 25 26 – 31 32 – 37 38 – 43 44 – 49 จานวน นักเรี ยน 8 15 7 9 11 ความถี่ สะสม 8 23 30 39 50 คะแนน 10 – 15 16 – 21 22 – 27 28 – 33 34 – 39 จานวน นักเรี ยน 3 12 15 8 2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั ความถี่ สะสม 3 15 30 38 40
  • 10. 10 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 ข้อมูล Q1 ตารางคาตอบข้อ 4 สัมประสิทธิ์ของ ผลการเปรี ยบเทียบ Q3 ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ การกระจายของข้อมูล ม.5/1 ม.5/2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 11. 11 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย ้ ่ ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย มีข้นตอนดังนี้ ั 1. หาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลแต่ละชุด 2. นาค่าคานวณได้ในข้อ 1 เปรี ยบเทียบกัน 3. ถ้าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลชุดหนึ่ง มีค่ามากกว่า สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลอีกชุดหนึ่ง แสดงว่าข้อมูล ชุดนั้นมีการกระจายมากกว่า ตัวอย่างที่ 1 กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้ ชุดที่ 1 : 2 , 4 , 6 , 8 , 10 ชุดที่ 2 : 3 , 5 , 7 , 9 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย วิธีทา ข้อมูล ชุดที่ ชุดที่1 ชุดที่2 ค่าเฉลี่ยเลข ส่วนเบี่ยงเบน คณิ ต ( x ) เฉลี่ย (M.D.) 6 2.4 6 2 สัมประสิทธิ์ของ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 2.4  0 . 40 6 2  0 . 33 6 การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ข้อมูลชุดที่ 1 มีการ กระจายมากกว่าข้อมูล ชุดที่ 2 ตัวอย่างที่ 2 ยอดขาย (พันบาท) เครื่ องใช้ไฟฟ้ าประจาเดือน ของพนักงานขาย 2 คน คือ มงคล และ เอกชัย ตลอดปี ที่ผานมา เป็ นดังนี้ ่ มงคล : 40 , 44 , 55 , 62 , 48 , 50 , 61 , 60 , 56 , 58 , 71 , 55 เอกชัย : 65 , 68 , 75 , 80 , 69 , 84 , 60 , 74 , 90 , 81 , 70 , 72 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 12. 12 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 วิธีทา ข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลข ส่วนเบี่ยงเบน คณิ ต ( x ) เฉลี่ย (M.D.) ยอดขาย ของมงคล 55 6.33 ยอดขาย ของเอกชัย 74 6.67 สัมประสิทธิ์ของ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 6 . 33  0 . 115 55 การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ยอดขายของมงคลมีการ กระจายมากกว่ายอดขาย ของเอกชัย 6 . 67  0 . 090 74 ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลจากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้น ม.3/1 และ ชั้น ม.3/2 จานวนชั้นละ 40 คน คะแนน 20 – 26 27 – 33 34 – 40 41 – 47 48 – 54 รวม จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.3/1 6 12 18 3 1 N = 40 จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.3/2 10 8 2 14 6 N = 40 วิธีทา ข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลข ส่วนเบี่ยงเบน คณิ ต ( x ) เฉลี่ย (M.D.) ชั้น ม.3/1 33.68 7.23 ชั้น ม.3/2 36.65 9.49 สัมประสิทธิ์ของ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 7 . 23  0 . 21 33 . 68 9 . 49  0 . 26 36 . 65 การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล คะแนนสอบวิชาภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้น ม.3/2 มี การกระจายมากกว่าชั้น ม.3/1 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 13. 13 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ได้ดงนี้ ั C.M.D. = M .D . x เมื่อ C.M.D. แทน สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 14. 14 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิ ทธิ์ของ ั ั ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์ 1. ส่วนสูงของนักเรี ยนชั้น ม.1 และ ม.2 ของโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง ซึ่งสุ่มมาชั้นละ 4 คน เป็ นดังนี้ ส่วนสูงของนักเรี ยนชั้น ม.1 : 130 , 130 , 136 , 140 ส่วนสูงของนักเรี ยนชั้น ม.2 : 132 , 132 , 138 , 150 ข้อมูล x ตารางคาตอบข้อ 1 สัมประสิทธิ์ของ M.D. ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ผลการเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ส่วนสูงของ นักเรี ยนชั้น ม.1 ส่วนสูงของ นักเรี ยนชั้น ม.2 2. ข้อมูลต่อไปนี้เป็ นคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ นักเรี ยนชั้น ม.5/2 จานวนชั้นละ 6 คน เป็ นดังนี้ คะแนนสอบของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 : 8 , 8 , 10 , 6 , 4 , 4 คะแนนสอบของนักเรี ยนชั้น ม.5/2 : 8 , 7, 9 , 10 , 6 , 2 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ ม.5/2 ตารางคาตอบข้อ 2 สัมประสิทธิ์ของ ผลการเปรี ยบเทียบการ ข้อมูล M.D. x ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย กระจายของข้อมูล คะแนนชั้น ม.5/1 คะแนนชั้น ม.5/2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 15. 15 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 3. จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ช้น ม.2 และ ชั้น ม.3 ั ชั้นละ 1 ห้องเรี ยน ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2540 เป็ นดังนี้ จานวนนักเรี ยน จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.2 ชั้น ม.3 20 – 26 6 4 27 – 33 12 10 34 – 40 18 8 41 – 47 3 5 48 – 54 1 6 ตารางคาตอบข้อ 3 สัมประสิทธิ์ของ ผลการเปรี ยบเทียบ M.D. x ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย การกระจายของข้อมูล คะแนน ข้อมูล คะแนนการสอบ วิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ม.2 คะแนนการสอบ วิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ม.3 4. จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยชั้น ม.5/1 และ ชั้น ม.5/2 โรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2540 เป็ นดังนี้ คะแนน 21 – 23 24 – 26 27 – 29 30 – 32 33 – 35 36 – 38 รวม จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.5/1 1 6 10 17 4 2 N = 40 จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.5/2 2 5 8 15 6 4 N = 40 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 16. 16 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 ข้อมูล x ตารางคาตอบข้อ 4 สัมประสิทธิ์ของ M.D. ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ผลการเปรี ยบเทียบ การกระจายของข้อมูล คะแนนการสอบ วิชาภาษาไทย ชั้น ม.5/1 คะแนนการสอบ วิชาภาษาไทย ชั้น ม.5/2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 17. 17 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 การเปรียบเทียบการกระจายของข้ อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึนไป โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน ้ ในการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั การแปรผัน มีข้นตอนดังนี้ ั 1. หาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลแต่ละชุด 2. นาค่าคานวณได้ในข้อ 1 เปรี ยบเทียบกัน 3. ถ้าสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดหนึ่ง มีค่ามากกว่าค่าสัมประสิทธิ์ ของการแปรผันของข้อมูลอีกชุดหนึ่ง แสดงว่าข้อมูลชุดนั้นมีการกระจายมากกว่า ตัวอย่างที่ 1 กาหนดข้อมูล 2 ชุด เป็ นดังนี้ ชุดที่ 1 : 2 , 4 , 6 , 8 , 10 ชุดที่ 2 : 3 , 5 , 7 , 9 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั การแปรผัน วิธีทา ข้อมูล ชุดที่ x S.D. ชุดที่1 6 2.82 สัมประสิทธิ์ของ การแปรผัน 2 . 82  0 . 44 6 หรื อ = 47% ชุดที่2 6 2.24 2 . 24  0 . 37 6 การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ข้อมูลชุดที่ 1 มีการ กระจายมากกว่าข้อมูล ชุดที่ 2 หรื อ = 37% ตัวอย่างที่ 2 กาหนดข้อมูล 2 ชุด ประกอบด้วย ชุดที่ 1 : 4 , 5 , 6 , 9 ชุดที่ 2 : 3 , 4 , 5 , 6 , 7 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุด โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั การแปรผัน เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 18. 18 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 วิธีทา ข้อมูล ชุด ก. ชุด ข. M.D. x 6 1.87 5 1.41 สัมประสิทธิ์ของ การแปรผัน 1 . 87  0 . 31 6 หรื อ = 31% 1 . 41  0 . 28 5 การเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ข้อมูลชุด ก. มีการ กระจายมากกว่าข้อมูล ชุด ข. หรื อ = 28% ตัวอย่างที่ 3 กาหนดตารางแจกแจงความถี่ซ่ึงเป็ นข้อมูล แสดงคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชั้น ม.4/2 และ ชั้น ม.4/3 ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2534 มีดงนี้ ั คะแนน 1–3 4–6 7–9 10 – 12 13 – 15 16 – 18 รวม จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.4/2 2 3 5 7 4 1 N = 22 จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.4/3 4 2 8 3 4 9 N = 30 วิธีทา ข้อมูล คะแนนสอบวิชา คณิ ตศาสตร์ของ นักเรี ยนชั้น ม.4/2 x 9.5 S .D. 3.92 สัมประสิทธิ์ของ การแปรผัน 3 . 92  0 . 41 9.5 หรื อ = 41% การเปรี ยบเทียบการกระจาย ของข้อมูล คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชั้น ม.4/3 มีการ กระจายมากกว่าชั้น ม.4/2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 19. 19 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 คะแนนสอบวิชา คณิ ตศาสตร์ของ นักเรี ยนชั้น ม.4/3 10.8 5.25 5 . 25  0 . 486 10 . 8 หรื อ = 48.60% จากตัวอย่างที่ 1 , 2 และ 3 สรุ ปเป็ นสูตรในการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนการแปรผัน ได้ดงนี้ ั C.V. = S .D . x เมื่อ C.V. แทน สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 20. 20 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมประสิทธิ์ของ ั ั การแปรผัน พร้อมทั้งเติมตารางให้สมบูรณ์ 1. กาหนดข้อมูล 2 ชุด ประกอบด้วย ชุด ก. : 8 , 8 , 10 , 6 , 4 , 4 ชุด ข. : 8 , 7 , 9 , 10 , 6 , 2 ตารางคาตอบข้อ 1 ข้อมูล x S.D. สัมประสิทธิ์ของ การแปรผัน ผลการเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล ชุด ก. ชุด ข. 2. กาหนดข้อมูลดังตารางข้างล่างนี้ จงเติมตารางให้สมบูรณ์ ข้อมูล x S.D. ชุด ก. ชุด ข. ชุด ค. 4 8 12 สัมประสิทธิ์ของ การแปรผัน ผลการเปรี ยบเทียบการ กระจายของข้อมูล 1 2 3 3. ตารางต่อไปนี้ เป็ นคะแนนการสอบวิชาชีววิทยาของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ ชั้น ม.5/2 ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2539 เป็ นดังนี้ คะแนน 0–4 5–9 10 – 14 15 – 19 จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.5/1 2 3 4 4 จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.5/2 4 5 6 8 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 21. 21 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 20 – 24 รวม 7 N = 20 7 N = 30 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาชีววิทยาของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ ชั้น ม.5/2 ข้อมูล x ตารางคาตอบข้อ 3 สัมประสิทธิ์ของ S.D. ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ผลการเปรี ยบเทียบ การกระจายของข้อมูล คะแนนการสอบ วิชาชีววิทยาชั้น ม.5/1 คะแนนการสอบ วิชาชีววิทยาชั้น ม.5/2 4. ตารางต่อไปนี้ เป็ นคะแนนการสอบวิชาเคมีของนักเรี ยนชั้น ม.5/3 และ ชั้น ม.5/4 ในโรงเรี ยนบัวใหญ่ ปี การศึกษา 2540 เป็ นดังนี้ คะแนน 20 – 24 25 – 29 30 – 34 35 – 39 40 – 44 รวม จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.5/3 2 3 1 4 6 N = 16 จานวนนักเรี ยน ชั้น ม.5/4 4 2 3 5 6 N = 20 จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาเคมีของนักเรี ยนชั้น ม.5/3 และ ชั้น ม.5/4 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 22. 22 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 ตารางคาตอบข้อ 4 ข้อมูล x S.D. สัมประสิทธิ์ของ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ผลการเปรี ยบเทียบ การกระจายของข้อมูล คะแนนการสอบ วิชาเคมีช้น ม.5/3 ั คะแนนการสอบ วิชาเคมีช้น ม.5/4 ั เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 23. 23 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 เอกสารฝึ กหัดเพิมเติม ่ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนทาเอกสารฝึ กหัดเพิ่มเติม จานวน 7 ข้อ เป็ นการบ้าน แล้วนาส่งครู ผสอน ั ู้ 1. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ครั้งนี้ ปรากฎว่า สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ เท่ากับ 0.2 ถ้านายพรศักดิ์สอบได้ 60 คะแนน ซึ่งตรงกับ P75 แล้วอยากทราบว่า นายสมชายสอบได้คะแนนตรวกับ P25 จะสอบไดกี่คะแนน 2. จงเปรี ยบเทียบการกระจายของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้น ม.5/1 และ ม.5/2 โดยใช้สมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ ั ่ คะแนน 2–4 5–7 8 – 10 11 – 13 จานวนนักเรียน ม. 5/1 2 4 6 8 ม. 5/2 8 6 4 2 3. ในการสอบวิชาภาษาไทย และสังคมศึกษาของนักเรี ยน 40 คน ปรากฎว่า คะแนนเฉลี่ย ทั้งสองเท่ากันคือ 68 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิชาภาษาไทย และ สังคมศึกษาเท่ากับ 15 และ 12 คะแนน ตามลาดับ จงหาว่า คะแนนสอบวิชาใด มีการกระจายมากกว่ากัน 4. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ ปรากฎว่า นายธาดาได้คะแนนอยูในตาแหน่ง P25 ่ นางสาวสุดฤดีได้คะแนนอยูในตาแหน่ง P75 ถ้าการสอบครั้งนี้ มีส่วนเบี่ยงเบน ่ ควอร์ไทล์เท่ากับ 24 และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์เท่ากับ 0.20 แล้วจงหาว่า นายธาดาและนางสาวสุดฤดีได้คะแนนคนละคะแนน 5. ในการจัดความสูงของนักเรี ยน 200 คน พบว่าความสูงต่าของกลุ่มนักเรี ยนที่มีความสูงสุด คิดเป็ น 25% ของนักเรี ยนทั้งเรี ยนทั้งหมดเป็ น 53.5 นิ้ว ถ้าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบน ควอร์ไทล์เป็ น 6% แล้วจงหาค่าของควอร์ไทล์ที่หนึ่ง (Q1) 6. ในการสอบครั้งหนึ่งมีผเู้ ข้าสอบ 1,000 คน ในมีจานวนนี้มีนกเรี ยนชาย 500 คน ั ส่วนที่เหลือเป็ นนักเรี ยนหญิง ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรี ยนชาย และนักเรี ยนหญิงเท่ากัน คือ 50 คะแนน แต่ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนของ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 24. 24 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 32202 เรื่ อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ระดับชั้นม.6 นักเรี ยนชายและนักเรี ยนหญิงเท่ากับ 1.5 และ 1 ตามลาดับ จงหาสัมประสิทธิ์ของ การแปรผันของคะแนนสอบทั้งหมด 7. ในการคานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และความแปรปรวนของข้อมูลชุดหนึ่งได้เป็ น 8 และ 28.2 ตามลาดับ แต่ตรวจพบทีหลังว่า มีที่ผดพลาดอยู่ 2 ตาแหน่ง แห่งแรก คือ ิ อ่านสมาชิกที่มีค่า 5 เป็ น 6 แห่งที่สอง อ่านข้อมูลตกไปค่าหนึ่ง คือ 12 ถ้าข้อมูล ที่แท้จริ ง มี 10 จานวน จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดนี้ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั