SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
บทนำ
โรงเรียนพิชัยบริหารงานโดยผู้อานวยการสุนันทา พานิชผล ในปีพ.ศ. 2554 ได้รับคัดเลือก
จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อ
เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ครูในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เข้าร่วมโครงการคือ นางรัศมี ธัญน้อม ครูพี่เลี้ยง นางสาวอัญชลี จันจัด ครูผู้นา
และ นางสาววิไลลักษณ์ เกตุนิ่ม
วิจัยบทเรียน (Lesson Study) มาจากภาษาญี่ปุ่นว่า jugyokenkyuu เริ่มต้นที่ประเทศญี่ปุ่น
มีเป้ าหมายเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูผ่านการฝึกปฏิบัติ การร่วมมือของครูในการปรับปรุงการเรียน
การสอนส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่นประสบความสาเร็จในการพัฒนาการเรียนการสอนโดยเฉพาะวิชา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นแนวคิดการวิจัยบทเรียนว่าเป็นแนวคิดหนึ่งในการพัฒนาวิชาชีพ
ครูเป็นการศึกษาวิจัยและตรวจสอบการปฏิบัติงานสอนของครู เป็นการที่กลุ่มครูพบปะกันในระยะ
ยาว อาจหลายเดือนต่อปีเพื่อทางานออกแบบ ดาเนินการทดสอบ ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาบทเรียน
จนได้บทเรียนที่มีคุณภาพสามารถนาไปใช้พัฒนานักเรียนของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จำกกำรเข้ำร่วมประชุมวิชำกำรวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ในโรงเรียน ครั้งที่ 21 (วทร.21)
(The International Science , Mathematics and Technology Conference ) ISMTEC 2013
17-20 มกราคม 2556 ที่ศูนย์นิทรรศการไบเทค บางนา ได้ร่วมสังเกตวิธีการดาเนินงานการทา
วิจัยบทเรียนของโรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม ใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สอนเรื่องคู่อันดับและกราฟ นักเรียนนั่งเป็นกลุ่มละ 4 คน ครูบรรยายโดยใช้ Powerpoint
ครูผู้สอนมีการถาม นักเรียนตอบและบอกเหตุผลแสดงความคิดเห็น มีคณะกรรมการ ครูพี่เลี้ยง
ครูร่วมพัฒนาสังเกตชั้นเรียน หลังสอนเสร็จมีการวิพากย์แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
และจำกกำรไปศึกษำดูงำนประเทศสิงคโปร์โรงเรียน North Vista Primary School
ประชุมทางวิชาการในหัวข้อเรื่อง LESSON STUDY (LS) OPEN HOUSE โดยมีครูจาก
ประเทศต่างๆ เช่น ไทย บรูไน มาเลเซีย มาเข้าร่วมฟังบรรยาย จากผู้เชี่ยวชาญ Dr Jeap Ban Har
ที่ไปศึกษาวิจัยบทเรียนจากประเทศญี่ปุ่นโดยตรง บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอนเป็นการ
สังเกตห้องเรียนจาลองบนเวทีในหอประชุม เป็นการจัดห้องเรียนจาลองกับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยนักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ4 – 5 คน นักเรียนนั่งรอบโต๊ะในลักษณะที่
สามารถจะมองเห็นกระดานที่ครูใช้สอนได้อย่างสะดวก มีการใช้กระดานอัจฉริยะ (Interactive
Board) สอนเรื่องทศนิยม การซื้อของที่ครูกาหนดให้ โดยเลือกสิ่งของที่สอดคล้องกับคาว่า need
and want ครูมีสถานการณ์ถามตอบและให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น
จากการจัดการเรียนการสอนทั้งสองโรงเรียนมีขั้นตอนเหมือนกันแต่ต่างกันที่บริบทของ
โรงเรียน ครูมีความตั้งใจในการพัฒนาการเรียนการสอนสูงมาก เนื่องจากการทา Lesson study
เป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างใช้เวลาในการดาเนินการมากและใช้ครูเป็นจานวนมากในการทาและได้
นามาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนพิชัย
วิจัยบทเรียนของโรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม
วิจัยบทเรียน North Vista Primary School สิงคโปร์
วิจัยบทเรียน North Vista Primary School สิงคโปร์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้ร่วมพัฒนา
2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและครูด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้
เป้ ำหมำย
1. ผลผลิต (Output)
ด้านปริมาณ
- ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน 4 คน
- นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนพิชัย จานวน 486 คน
ด้านคุณภาพ
ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมใช้ ร่วมปรับปรุง และสามารถจัดการเรียน
การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น
ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
2. ผลลัพธ์ (Outcomes)
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนพิชัย ได้รับการพัฒนาและเป็นผู้มีทักษะการคิด
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาน มี
ความคิด ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
ระยะเวลำกำรดำเนินกำร มีนาคม 2556 - กันยายน 2556
กำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์โรงเรียนพิชัย โดยใช้การวิจัยบทเรียน กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้ดาเนินการทาวิจัยบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค22101
ใช้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โดยมีครูเข้าร่วมโครงการ
จานวน 4 คน นางสาวอัญชลี จันจัด นางนฤมลสุธาพรต นางสาววิไลลักษณ์ เกตุนิ่ม และ
นางสาวทิพวัลย์ ศรีทวีสรุป ขั้นตอนการดาเนินการสรุปได้ดังนี้
ขั้นตอน แผนงาน / กิจกรรม
P - ประชุมชี้แจงการจัดทาโครงการวิจัยบทเรียนให้กับครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- แต่งตั้งคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ดาเนินการโครงการวิจัยบทเรียนในวิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
- ประชุมปฏิบัติการเรื่องการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนและการเขียนแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดให้กับครูร่วมพัฒนา
- ครูร่วมพัฒนาจัดทาแผนจัดการเรียนรู้ และร่วมปรับแผนฯโดยคาแนะนาของครูพี่เลี้ยง
วิชาการ / ครูผู้นาการเปลี่ยนแปลง
คณะผู้เชี่ยวชาญของสสวท.มาเยี่ยมโรงเรียนพิชัย 19 มีนาคม 2556
เพื่อให้คาแนะนาการทาวิจัยบทเรียน
นางสุนันทา พานิชผล ผู้อานวยการ ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เพื่อวางแผนการดาเนินงานวิจัยบทเรียน
ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณะผู้เชี่ยวชาญของสสวท. ประชุมครูโรงเรียนพิชัยและโรงเรียนพรหมพิราม
ที่เข้าร่วมโครงการวิจัยบทเรียน ที่โรงแรมแกรนด์ริเวอร์ไซด์ 25 เมษายน 2556
D - ครูร่วมพัฒนาปฏิบัติการสอน โดยมีคณะกรรมการสังเกตชั้นเรียนการจัดทาโครงการวิจัย
บทเรียนคณิตศาสตร์สังเกตชั้นเรียนโดยคณะกรรมการในโรงเรียนพิชัยและผู้เชี่ยวชาญจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผอ.สุนันทำ พำนิชผล ผศ. แฉล้ม วชิรพันธุ์สกุล
สังเกตชั้นเรียนครูสอนนำและครูร่วมพัฒนำ 6 มิถุนำยน 2556
ครูวิไลลักษณ์ เกตุนิ่ม ครูสควค
ครูทิพวัลย์ ศรีทวี ครูร่วมพัฒนำ
ครูนฤมล สุธำพรต ครูร่วมพัฒนำ
ครูอัญชลี จันจัด ครูผู้นำ
ผอ. สุนันทำ พำนิชผล และผศ.แฉล้ม วิชรพันธุ์สกุล
สรุปผลกำรสังเกตชั้นเรียน
คณะผู้เชี่ยวชาญของสสวท. สังเกตชั้นเรียนครูที่เข้าร่วมโครงการวิจัยบทเรียน
ที่โรงเรียนพิชัย 12 มิถุนายน 2556
12 มิถุนำยน 2556
คณะผู้เชี่ยวชำญจำกสสวท. สังเกตชั้นเรียน
12 มิถุนำยน 2556
จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
12 มิถุนำยน 2556
จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
12 มิถุนำยน 2556
คณะผู้เชี่ยวชำญจำกสสวท. สังเกตชั้นเรียน
15 สิงหำคม 2556
จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
15 สิงหำคม 2556
จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
15 สิงหำคม 2556
คณะผู้เชี่ยวชำญจำกสสวท. สังเกตชั้นเรียน
15 สิงหำคม 2556
C - ประชุมให้คาแนะนาสะท้อนกลับหลังสังเกตชั้นเรียน โดยคณะกรรมการดาเนินงาน
คณะผู้เชี่ยวชาญของสสวท. สะท้อนบทเรียนของครูที่เข้าร่วมโครงการวิจัยบทเรียน
ที่โรงเรียนพิชัย 12 มิถุนายน 2556
A - ประชุมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการกับครูร่วมพัฒนาเพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาการเรียนการสอน
- ประชุมคณะกรรมการโครงการวิจัยบทเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียนเพื่อสรุปผลการ
ดาเนินการ
- พี่เลี้ยงวิชาการรายงานผลการปฏิบัติงานต่อ สสวท. โดยใช้แบบฟอร์มที่กาหนด
คณะผู้เชี่ยวชาญของสสวท. สะท้อนบทเรียนของครูที่เข้าร่วมโครงการวิจัยบทเรียน
ที่โรงเรียนพิชัย 15 สิงหาคม 2556
จากการไปศึกษาดูงานประเทศสิงคโปร์ วันที่ 22 กรกฎาคม 2556 ของโรงเรียนพิชัย
ประกอบด้วย นางสุนันทา พานิชผล นางรัศมี ธัญน้อมและนางสาวอัญชลี จันจัด
ที่ North Vista Primary School
ประชุมทางวิชาการในหัวข้อเรื่อง LESSON STUDY (LS) OPEN HOUSE
บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน แต่เป็นการสังเกตห้องเรียนจาลองบนเวที เป็นการ
จัดห้องเรียนจาลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยนักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน
นักเรียนนั่งรอบโต๊ะในลักษณะที่สามารถจะมองเห็นกระดานที่ครูใช้สอนได้อย่างสะดวก มีการใช้
กระดานอัจฉริยะ (Interactive Board) ในการจัดการเรียนการสอน ครูมีความตั้งใจในการพัฒนาการ
เรียนการสอนสูงมาก เนื่องจากการทา Lesson study เป็ นกิจกรรมที่ค่อนข้างใช้เวลาในการ
ดาเนินการมากและใช้ครูเป็นจานวนมากในการทาและได้นามาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิจัย
บทเรียน (LESSON STUDY) โรงเรียนพิชัย
เปรียบเทียบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนประเทศสิงคโปร์ กับโรงเรียนของท่ำน
รำยกำร ประเทศไทย สำธำรณรัฐสิงคโปร์
การแบ่งกลุ่มในชั้น
เรียน
ไม่นิยมแบ่งกลุ่ม แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน
การใช้คาถาม ใช้คาถามแบบชี้นา ใช้คาถามเพื่อให้นักเรียนคิดและ
ตอบ
ทักษะกระบวนการ เน้นเนื้อหา ไม่เน้นทักษะ
กระบวนการ
เน้นการใช้ทักษะกระบวนการ
อย่างชัดเจน
การสุ่มนักเรียน การเรียกชื่อ , จับสลาก ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
จานวนนักเรียน 50 – 55 คน
(เฉพาะโรงเรียนขนาดใหญ่)
40 -45 คน ทุกโรงเรียน
สัดส่วนครูต่อนักเรียน 1 : 20 1 : 10
ห้องประชุม/ต้อนรับ หรูหรา อลังการ สวยงาม เรียบง่าย
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน

More Related Content

What's hot

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้Katekyo Sama
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551ดอกหญ้า ธรรมดา
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Anna Wongpattanakit
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษานางมยุรี เซนักค้า
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนyatomaomao
 

What's hot (19)

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 

Viewers also liked

เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสkrurutsamee
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรตANNRockART
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 krurutsamee
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อมkrurutsamee
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 krurutsamee
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1 krurutsamee
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปีเอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปีkrurutsamee
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5 krurutsamee
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 krurutsamee
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 krurutsamee
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

Viewers also liked (20)

เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
dkisdfsdf
dkisdfsdfdkisdfsdf
dkisdfsdf
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรต
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปีเอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 

Similar to คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการRatchada Kaewwongta
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรNontaporn Pilawut
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข ดอกหญ้า ธรรมดา
 
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม  3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม krupornpana55
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 

Similar to คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน (20)

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม  3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

More from krurutsamee

ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2 krurutsamee
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3 krurutsamee
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccskrurutsamee
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์krurutsamee
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์krurutsamee
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

More from krurutsamee (12)

ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน

  • 1. บทนำ โรงเรียนพิชัยบริหารงานโดยผู้อานวยการสุนันทา พานิชผล ในปีพ.ศ. 2554 ได้รับคัดเลือก จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อ เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ครูในกลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เข้าร่วมโครงการคือ นางรัศมี ธัญน้อม ครูพี่เลี้ยง นางสาวอัญชลี จันจัด ครูผู้นา และ นางสาววิไลลักษณ์ เกตุนิ่ม วิจัยบทเรียน (Lesson Study) มาจากภาษาญี่ปุ่นว่า jugyokenkyuu เริ่มต้นที่ประเทศญี่ปุ่น มีเป้ าหมายเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูผ่านการฝึกปฏิบัติ การร่วมมือของครูในการปรับปรุงการเรียน การสอนส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่นประสบความสาเร็จในการพัฒนาการเรียนการสอนโดยเฉพาะวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นแนวคิดการวิจัยบทเรียนว่าเป็นแนวคิดหนึ่งในการพัฒนาวิชาชีพ ครูเป็นการศึกษาวิจัยและตรวจสอบการปฏิบัติงานสอนของครู เป็นการที่กลุ่มครูพบปะกันในระยะ ยาว อาจหลายเดือนต่อปีเพื่อทางานออกแบบ ดาเนินการทดสอบ ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาบทเรียน จนได้บทเรียนที่มีคุณภาพสามารถนาไปใช้พัฒนานักเรียนของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำกกำรเข้ำร่วมประชุมวิชำกำรวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ในโรงเรียน ครั้งที่ 21 (วทร.21) (The International Science , Mathematics and Technology Conference ) ISMTEC 2013 17-20 มกราคม 2556 ที่ศูนย์นิทรรศการไบเทค บางนา ได้ร่วมสังเกตวิธีการดาเนินงานการทา วิจัยบทเรียนของโรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม ใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สอนเรื่องคู่อันดับและกราฟ นักเรียนนั่งเป็นกลุ่มละ 4 คน ครูบรรยายโดยใช้ Powerpoint ครูผู้สอนมีการถาม นักเรียนตอบและบอกเหตุผลแสดงความคิดเห็น มีคณะกรรมการ ครูพี่เลี้ยง ครูร่วมพัฒนาสังเกตชั้นเรียน หลังสอนเสร็จมีการวิพากย์แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ และจำกกำรไปศึกษำดูงำนประเทศสิงคโปร์โรงเรียน North Vista Primary School ประชุมทางวิชาการในหัวข้อเรื่อง LESSON STUDY (LS) OPEN HOUSE โดยมีครูจาก ประเทศต่างๆ เช่น ไทย บรูไน มาเลเซีย มาเข้าร่วมฟังบรรยาย จากผู้เชี่ยวชาญ Dr Jeap Ban Har ที่ไปศึกษาวิจัยบทเรียนจากประเทศญี่ปุ่นโดยตรง บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอนเป็นการ สังเกตห้องเรียนจาลองบนเวทีในหอประชุม เป็นการจัดห้องเรียนจาลองกับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยนักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ4 – 5 คน นักเรียนนั่งรอบโต๊ะในลักษณะที่ สามารถจะมองเห็นกระดานที่ครูใช้สอนได้อย่างสะดวก มีการใช้กระดานอัจฉริยะ (Interactive Board) สอนเรื่องทศนิยม การซื้อของที่ครูกาหนดให้ โดยเลือกสิ่งของที่สอดคล้องกับคาว่า need and want ครูมีสถานการณ์ถามตอบและให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น จากการจัดการเรียนการสอนทั้งสองโรงเรียนมีขั้นตอนเหมือนกันแต่ต่างกันที่บริบทของ โรงเรียน ครูมีความตั้งใจในการพัฒนาการเรียนการสอนสูงมาก เนื่องจากการทา Lesson study
  • 3. วิจัยบทเรียน North Vista Primary School สิงคโปร์
  • 4. วิจัยบทเรียน North Vista Primary School สิงคโปร์
  • 5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้ร่วมพัฒนา 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและครูด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ เป้ ำหมำย 1. ผลผลิต (Output) ด้านปริมาณ - ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน 4 คน - นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนพิชัย จานวน 486 คน ด้านคุณภาพ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมใช้ ร่วมปรับปรุง และสามารถจัดการเรียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น 2. ผลลัพธ์ (Outcomes) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนพิชัย ได้รับการพัฒนาและเป็นผู้มีทักษะการคิด ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาน มี ความคิด ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ระยะเวลำกำรดำเนินกำร มีนาคม 2556 - กันยายน 2556 กำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์โรงเรียนพิชัย โดยใช้การวิจัยบทเรียน กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้ดาเนินการทาวิจัยบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค22101 ใช้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โดยมีครูเข้าร่วมโครงการ จานวน 4 คน นางสาวอัญชลี จันจัด นางนฤมลสุธาพรต นางสาววิไลลักษณ์ เกตุนิ่ม และ นางสาวทิพวัลย์ ศรีทวีสรุป ขั้นตอนการดาเนินการสรุปได้ดังนี้ ขั้นตอน แผนงาน / กิจกรรม P - ประชุมชี้แจงการจัดทาโครงการวิจัยบทเรียนให้กับครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - แต่งตั้งคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ดาเนินการโครงการวิจัยบทเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 - ประชุมปฏิบัติการเรื่องการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนและการเขียนแผนการจัดการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดให้กับครูร่วมพัฒนา - ครูร่วมพัฒนาจัดทาแผนจัดการเรียนรู้ และร่วมปรับแผนฯโดยคาแนะนาของครูพี่เลี้ยง วิชาการ / ครูผู้นาการเปลี่ยนแปลง
  • 6. คณะผู้เชี่ยวชาญของสสวท.มาเยี่ยมโรงเรียนพิชัย 19 มีนาคม 2556 เพื่อให้คาแนะนาการทาวิจัยบทเรียน
  • 7. นางสุนันทา พานิชผล ผู้อานวยการ ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพื่อวางแผนการดาเนินงานวิจัยบทเรียน
  • 10. D - ครูร่วมพัฒนาปฏิบัติการสอน โดยมีคณะกรรมการสังเกตชั้นเรียนการจัดทาโครงการวิจัย บทเรียนคณิตศาสตร์สังเกตชั้นเรียนโดยคณะกรรมการในโรงเรียนพิชัยและผู้เชี่ยวชาญจาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอ.สุนันทำ พำนิชผล ผศ. แฉล้ม วชิรพันธุ์สกุล สังเกตชั้นเรียนครูสอนนำและครูร่วมพัฒนำ 6 มิถุนำยน 2556
  • 13. ผอ. สุนันทำ พำนิชผล และผศ.แฉล้ม วิชรพันธุ์สกุล สรุปผลกำรสังเกตชั้นเรียน
  • 23. C - ประชุมให้คาแนะนาสะท้อนกลับหลังสังเกตชั้นเรียน โดยคณะกรรมการดาเนินงาน คณะผู้เชี่ยวชาญของสสวท. สะท้อนบทเรียนของครูที่เข้าร่วมโครงการวิจัยบทเรียน ที่โรงเรียนพิชัย 12 มิถุนายน 2556
  • 24. A - ประชุมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการกับครูร่วมพัฒนาเพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาการเรียนการสอน - ประชุมคณะกรรมการโครงการวิจัยบทเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียนเพื่อสรุปผลการ ดาเนินการ - พี่เลี้ยงวิชาการรายงานผลการปฏิบัติงานต่อ สสวท. โดยใช้แบบฟอร์มที่กาหนด
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. จากการไปศึกษาดูงานประเทศสิงคโปร์ วันที่ 22 กรกฎาคม 2556 ของโรงเรียนพิชัย ประกอบด้วย นางสุนันทา พานิชผล นางรัศมี ธัญน้อมและนางสาวอัญชลี จันจัด ที่ North Vista Primary School ประชุมทางวิชาการในหัวข้อเรื่อง LESSON STUDY (LS) OPEN HOUSE บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน แต่เป็นการสังเกตห้องเรียนจาลองบนเวที เป็นการ จัดห้องเรียนจาลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยนักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน นักเรียนนั่งรอบโต๊ะในลักษณะที่สามารถจะมองเห็นกระดานที่ครูใช้สอนได้อย่างสะดวก มีการใช้ กระดานอัจฉริยะ (Interactive Board) ในการจัดการเรียนการสอน ครูมีความตั้งใจในการพัฒนาการ เรียนการสอนสูงมาก เนื่องจากการทา Lesson study เป็ นกิจกรรมที่ค่อนข้างใช้เวลาในการ ดาเนินการมากและใช้ครูเป็นจานวนมากในการทาและได้นามาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิจัย บทเรียน (LESSON STUDY) โรงเรียนพิชัย เปรียบเทียบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนประเทศสิงคโปร์ กับโรงเรียนของท่ำน รำยกำร ประเทศไทย สำธำรณรัฐสิงคโปร์ การแบ่งกลุ่มในชั้น เรียน ไม่นิยมแบ่งกลุ่ม แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน การใช้คาถาม ใช้คาถามแบบชี้นา ใช้คาถามเพื่อให้นักเรียนคิดและ ตอบ ทักษะกระบวนการ เน้นเนื้อหา ไม่เน้นทักษะ กระบวนการ เน้นการใช้ทักษะกระบวนการ อย่างชัดเจน การสุ่มนักเรียน การเรียกชื่อ , จับสลาก ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป จานวนนักเรียน 50 – 55 คน (เฉพาะโรงเรียนขนาดใหญ่) 40 -45 คน ทุกโรงเรียน สัดส่วนครูต่อนักเรียน 1 : 20 1 : 10 ห้องประชุม/ต้อนรับ หรูหรา อลังการ สวยงาม เรียบง่าย